ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พื้นฐาน, -พื้นฐาน- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ประโยคพื้นฐาน | (phrase) kernel sentence | เสรีภาพแห่งการพอเพียง | [พอเพียงเพื่อเสรีภาพ] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, pron, phrase, colloq, abbrev, name, org, uniq) เสรีภาพกระผมอย่างยกตัวอย่างที่ในหลวงร9และร10พยายามทำอยู่และส่งเสริมอย่างยิ่งมันคือสิ่งที่เป็นพื้นฐานแห่งชีวิตของทุกคนไม่ว่าคุณจะอดอยากประเทศยากจนในดินแดนต่างๆทั่วโลกไทยคือครัวโลกเรายินดีแบ่งปันความรู้เศรฐกิจพอเพียงนี้ด้วยพืชและสูตรการทำอาหารของไทยที่มีมากมายใข่2ฟองก็สามารถสร้างเมนูเพื่อยังชีพได้เกิน10อย่างผัดทอดนึ่งต้ม |
|
| ลิขสิทธิ์ | ไม่ควรวม 'ประดิษฐกรรม (invention)' ในความหมายของ ลิขสิทธิ์ เพราะ invention เป็นพื้นฐานความหมายของ 'patent (สิทธิบัตร)' นั่นหมายความว่า เมื่อคนไทยใช้คำว่า ลิขสิทธิ์ จะเกิดความสับสนว่า พูดถึง copyright หรือว่า patent. ปัญหาเกิดขึ้นได้. | ลิขสิทธิ์ | ข้อสังเกต ไม่ควรมีเนื้อหาข้างล่าง ในส่วนต้นของคำ 'ลิขสิทธิ์' เพราะ ไม่ใช่ definition / คำแปล / คำจำกัดความ: ไม่ควรวม 'ประดิษฐกรรม (invention)' ในความหมายของ ลิขสิทธิ์ เพราะ invention เป็นพื้นฐานความหมายของ 'patent (สิทธิบัตร)' นั่นหมายความว่า เมื่อคนไทยใช้คำว่า ลิขสิทธิ์ จะเกิดความสับสนว่า พูดถึง copyright หรือว่า patent. ปัญหาเกิดขึ้นได้. |
| พื้นฐาน | (n) base, See also: bottom, Syn. รากฐาน, ฐานราก, Example: เมื่อพุทธศาสนาขยายไปสู่วัฒนธรรมที่แตกต่างออกไป ซึ่งไม่มีพื้นฐานทางวัฒนธรรมแบบพุทธมาก่อน ก็อาจจะมีปัญหาอีกหลายอย่างเกิดขึ้นได้, Thai Definition: สิ่งที่เป็นหลักเบื้องต้น | พื้นฐาน | (adj) primary, See also: fundamental, Syn. ขั้นพื้นฐาน, Example: การขยายโอกาสเด็กไทยให้ได้เรียน เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญประการหนึ่งในการพัฒนาประเทศ, Thai Definition: รากฐาน, หลักเบื้องต้น | ขั้นพื้นฐาน | (adj) foundation, See also: basis, primary, Syn. พื้นฐาน, ขั้นต้น, ขั้นแรก, Example: การศึกษาระดับประถมศึกษาเป็นการศึกษาที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถขั้นพื้นฐาน และสามารถอ่านออกเขียนได้ | ปัจจัยพื้นฐาน | (n) basic factor, See also: basic element, Syn. ปัจจัยเบื้องต้น, Example: การศึกษาของเยาวชนนับว่าเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญประการหนึ่งในการพัฒนาประเทศ, Thai Definition: สิ่งสำคัญที่มีความจำเป็นในระดับต้น หรือระดับแรก | การวิจัยพื้นฐาน | (n) basic research, Example: การผนึกกำลังกันวิจัยทั้งในการวิจัยพื้นฐานและวิจัยประยุกต์เป็นสิ่งจำเป็นในการพัฒนาอุตสาหกรรม | พื้นฐานการศึกษา | (n) foundation of education, See also: educational foundation, Example: คนงานพวกนี้มีพื้นฐานการศึกษาต่ำ จะไปรู้เรื่องอะไร, Thai Definition: ระดับการศึกษาที่ได้เล่าเรียนมา | โครงสร้างพื้นฐาน | (n) infrastructure, See also: basic structure, substructure, foundation, basis, Syn. องค์ประกอบพื้นฐาน, ส่วนประกอบพื้นฐาน, Example: การเร่งสร้างโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศแห่งชาติเป็นสาระสำคัญในนโยบายสารสนเทศของรัฐ, Count Unit: โครงสร้าง | องค์ประกอบพื้นฐาน | (n) basic element, Syn. ส่วนประกอบพื้นฐาน, Example: องค์ประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ คือ ส่วนนำเข้า (Input) ส่วนประมวลผล (Process) ส่วนแสดงผล (Output) และส่วนเก็บข้อมูล (Storage) | สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน | (n) fundamental rights and freedoms, Example: สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน เป็นสิทธิที่ติดตัวมนุษย์มาแต่กำเนิด ไม่มีใครพรากจากตัวมนุษย์ได้ |
| พื้นฐาน | น. รากฐาน เช่น เขามีพื้นฐานวิชาภาษาอังกฤษดี, หลักความรู้เบื้องต้น เช่น วิชาพื้นฐาน. | วิชาบังคับพื้นฐาน | น. รายวิชาพื้นฐานที่บังคับให้เรียนในหลักสูตร. | วิชาพื้นฐาน | น. รายวิชาที่ถือว่าเป็นพื้นฐานของวิชาในระดับที่สูง ๆ ขึ้นไป. | การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ | น. การดำเนินการพัฒนาที่ดินหลายแปลงโดยการวางผังจัดรูปที่ดินใหม่ ปรับปรุงหรือจัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และการร่วมรับภาระและกระจายผลตอบแทนอย่างเป็นธรรม ทั้งนี้ โดยความร่วมมือระหว่างเอกชนกับเอกชนหรือเอกชนกับรัฐ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ในที่ดินที่เหมาะสมยิ่งขึ้นในด้านต่าง ๆ. | ครอบครัว | (คฺรอบคฺรัว) น. สถาบันพื้นฐานของสังคมที่ประกอบด้วยสามีภรรยาและหมายความรวมถึงลูกด้วย. | ครุศาสตร์ | (คะรุสาด) น. วิชาว่าด้วยการสร้างพื้นฐานและความรู้ของการเป็นครู ประกอบด้วยวิชาการศึกษาเป็นต้น. | นิคมที่ดิน | น. ที่ดินที่รัฐจัดสรรให้ประชากรอพยพครอบครัวเข้าไปตั้งถิ่นฐานเพื่อประกอบอาชีพและอยู่อาศัยอย่างเป็นระเบียบ โดยมีการวางแผนเพื่อพัฒนาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคม และวิชาชีพ รวมทั้งบริการสาธารณูปโภคต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า. | นิติธรรม | น. หลักพื้นฐานแห่งกฎหมายที่บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน (อ. rule of law). | มูลฐาน | (มูนละ-, มูน-) น. พื้นฐาน, รากฐาน, เค้ามูล. | รากฐาน | น. หลักสำคัญอันเป็นพื้นฐานรองรับ, ส่วนที่เป็นพื้นรองรับสำหรับพัฒนาต่อไป, เช่น วางรากฐานการศึกษา วิชาคณิตศาสตร์เป็นรากฐานของวิชาวิทยาศาสตร์ | รูปร่าง | สิ่งที่เห็นแต่เพียงขอบนอกเป็นกำหนด มีลักษณะจำกัดเพียงความกว้างกับสูง เช่น รูปร่างพื้นฐาน ได้แก่ รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม เป็นต้น. | เวท, เวท- | ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตโบราณซึ่งเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ยุคแรก มี ๔ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. ฤคเวท ว่าด้วยบทสวดสรรเสริญเทพเจ้าทั้งหลาย ตอนท้ายกล่าวถึงการสร้างโลก ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบความเชื่อของชาวอินเดีย ๒. ยชุรเวท ว่าด้วยรายละเอียดการประกอบยัญพิธีและลำดับมนตร์ที่นำมาจากคัมภีร์ฤคเวทเพื่อสวดในขั้นตอนต่าง ๆ ของพิธี ๓. สามเวท ว่าด้วยบทขับที่คัดเลือกมาจากประมาณหนึ่งในหกของฤคเวท และใช้เฉพาะในพิธีที่บูชาด้วยน้ำโสม ๔. อถรรพเวท หรือ อาถรรพเวท เป็นเวทมนตร์คาถาเพื่อให้เกิดผลดีแก่ฝ่ายตนหรือผลร้ายแก่ฝ่ายศัตรู ตลอดจนการบันดาลสิ่งที่เป็นมงคลหรืออัปมงคล การทำเสน่ห์ การรักษาโรค และอื่น ๆ สามคัมภีร์แรกเรียกว่า ไตรเวท หรือ ไตรเพท ต่อมารับอถรรพเวทหรืออาถรรพเวทเข้ามารวมเป็นสี่คัมภีร์เรียกว่า จตุรเวท หรือ จตุรเพท, เรียกยุคแรกของศาสนาพราหมณ์จนถึงประมาณสมัยพุทธกาลว่า ยุคพระเวท มีวรรณกรรมหลักประกอบด้วยคัมภีร์พระเวท คัมภีร์พราหมณะ คัมภีร์อารัณยกะและคัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรก. | เศรษฐกิจพอเพียง | น. ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเป็นแนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชนตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ไม่ประมาท ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้รอดพ้นจากวิกฤติ มีความมั่นคงและยั่งยืนท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ. | สหประชาชาติ | น. องค์การระหว่างประเทศที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญ คือ การป้องกันสงคราม การยืนยันรับรองสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน การเคารพและปฏิบัติตามพันธกรณีที่เกิดจากสนธิสัญญาและกฎหมายระหว่างประเทศ, เรียกชื่อเต็มว่า องค์การสหประชาชาติ (United Nations Organization). | สารประโยชน์ | (สาระ-) น. ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร เช่น สารประโยชน์ของกฎหมายฉบับนี้ เกี่ยวกับสิทธิพื้นฐานของประชาชน, สารัตถประโยชน์ ก็ว่า. | สารัตถศึกษา | น. การศึกษาวิชาที่เป็นพื้นฐาน เช่น วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ประวัติศาสตร์. | สิทธิมนุษยชน | น. สิทธิพื้นฐานที่มนุษย์พึงมี. | องค์การบริหารส่วนตำบล | น. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่มีพื้นที่ครอบคลุมตำบล มีอำนาจหน้าที่ในการให้บริการสาธารณะพื้นฐาน. (ดู ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ประกอบ) | อุปนิษัท | (อุปะ-, อุบปะ-) น. ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตกลุ่มหนึ่ง คัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรกเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ที่สอนว่าทุกสิ่งทุกอย่างออกมาจากอาตมัน. |
| PCT (personal communication telephone) | พีซีที (โทรศัพท์พื้นฐานใช้นอกสถานที่, โทรศัพท์พื้นฐานพกพา) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | personal communication telephone (PCT) | โทรศัพท์พื้นฐานใช้นอกสถานที่, โทรศัพท์พื้นฐานพกพา (พีซีที) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | primary family unit | หน่วยครอบครัวพื้นฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | premium base | เบี้ยประกันภัยพื้นฐาน มีความหมายเหมือนกับ base premium [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | law, fundamental | กฎหมายหลัก, กฎหมายพื้นฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rate, basal metabolic | อัตราการสร้างและสลายพื้นฐาน, อัตราการครองธาตุพื้นฐาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | Rights, Bill of | บัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | right, substantive | สิทธิพื้นฐาน, สิทธิที่เป็นสาระสำคัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | substantive right | สิทธิพื้นฐาน, สิทธิที่เป็นสาระสำคัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | substantive rights | สิทธิพื้นฐาน, สิทธิที่เป็นสาระสำคัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | assumption | ข้อสมมุติพื้นฐาน, มูลบท [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | basic document | เอกสารพื้นฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | Basic Law | กฎหมายหลักพื้นฐาน (รัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ค.ศ. ๑๙๔๙) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | basic queue | แถวคอยพื้นฐาน, คิวพื้นฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | basic solution | ผลเฉลยพื้นฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | base class | คลาสพื้นฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | burning cost | ค่าเสียหายพื้นฐาน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | burning ratio | อัตราส่วนค่าเสียหายพื้นฐาน ดู burning cost [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | Bill of Rights | บัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | base premium | เบี้ยประกันภัยพื้นฐาน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | base value | มูลค่าประกันภัยพื้นฐาน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | base value | มูลค่าประกันภัยพื้นฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | basic | มูลฐาน, พื้นฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | basic | พื้นฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | basic data | ข้อมูลพื้นฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | basal metabolic rate | อัตราการสร้างและสลายพื้นฐาน, อัตราการครองธาตุพื้นฐาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | base | ๑. ฐาน, พื้นฐาน, มูลฐาน๒. ฐานทัพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bottomset bed | ชั้นพื้นฐานดินดอน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | basis rate | อัตราพื้นฐาน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | basic wage | ค่าจ้างพื้นฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | computer literacy | การรู้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | ground | ๑. มูล, มูลเหตุ๒. พื้นฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | fundamental breach | การทำผิดสัญญาในข้อพื้นฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | fundamental law | กฎหมายหลัก, กฎหมายพื้นฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | fundamental law | กฎหมายพื้นฐาน, กฎหมายหลัก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | fundamental rights | สิทธิพื้นฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | information infrastructure | โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | vested rights | สิทธิพื้นฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | thesis | ภาวะพื้นฐาน [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | numeral literacy | การรู้ตัวเลขขั้นพื้นฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
| Basic needs | ความต้องการพื้นฐาน [เศรษฐศาสตร์] | Economic infrastructure | โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] | Treatment, waste | การบำบัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการเปลี่ยนแปลงลักษณะของกากกัมมันตรังสีให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาและการขจัด โดยมีหลักพื้นฐาน 3 ประการ คือ 1. ลดปริมาตร เช่น การกดอัด 2. แยกสารกัมมันตรังสีออกจากกาก เช่น การตกตะกอน การแลกเปลี่ยนไอออน 3. เปลี่ยนองค์ประกอบ เช่น การเผา การระเหย [นิวเคลียร์] | Fundamental analysis | การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน, Example: เป็นวิธีการวิเคราะห์หลักทรัพย์แบบหนึ่ง การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานมุ่งจะประเมินมูลค่าของหลักทรัพย์ในปัจจุบัน โดยพิจารณาถึงผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับและราคาหลักทรัพย์ที่คาดว่าจะขายได้ในอนาคต ผลจากการวิเคราะห์นี้จะใช้เป็นเกณฑ์ตัดสินใจคือ จะซื้อหลักทรัพย์นั้นหากพบว่าราคาตลาดของหลักทรัพย์ดังกล่าวต่ำกว่ามูลค่าตามพื้นฐานที่คำนวณได้ และจะขายหลักทรัพย์นั้นหากพบว่าราคาตลาดของหลักทรัพย์ดังกล่าวสูงกว่ามูลค่าตามพื้นฐาน ในการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานจะวิเคราะห์ถึงภาวะเศรษฐกิจ ภาวะการเมือง ภาวะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง และผลการดำเนินงาน รวมทั้งฐานะทางเงินของบริษัทผู้ออกหุ้น วิธีวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานจะแตกต่างจากการวิเคราะห์ทางเทคนิค (technical analysis) ซึ่งมุ่งวิเคราะห์ลักษณะการเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์ และปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์เป็นสำคัญ เพื่อคาดหมายแนวโน้มของราคาหลักทรัพย์ [ตลาดทุน] | Background Noise Level | ระดับเสียงพื้นฐาน, Example: ค่าระดับเสียงที่ตรวจวัดขณะไม่มีแหล่งกำเนิดเสียง [สิ่งแวดล้อม] | Basic needs | ความต้องการขั้นพื้นฐาน [TU Subject Heading] | Fundamental education | การศึกษาขั้นพื้นฐาน [TU Subject Heading] | Infrastructure (Economics) | โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ [TU Subject Heading] | Predetermined motion time systems | ระบบเวลามาตรฐานที่ได้จากการสังเคราะห์การเคลื่อนไหวพื้นฐานที่ทราบล่วงหน้า [TU Subject Heading] | Public key infrastructure (Computer security) | โครงสร้างพื้นฐานกุญแจสาธารณะ (ความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] | Study and teaching (Primary) | การศึกษาและการสอน (พื้นฐาน) [TU Subject Heading] | Infrastructure | โครงสร้างพื้นฐาน, Example: ระบบพื้นฐานการขนส่ง เช่น ถนน ทางรถไฟ สนามบิน การสื่อสาร โทรคมนาคม เป็นต้น อุตสาหกรรมหลัก และระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ของประเทศหนึ่ง โครงสร้างพื้นฐานจะเป็นรากฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศต่อไป การพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานในประเทศหนึ่ง โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนาจะช่วยดึงดูดนักลงทุนจากต่างชาติได้ [สิ่งแวดล้อม] | Base Metal | กลุ่มแร่โลหะพื้นฐาน, Example: แร่โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก ซึ่งมีหลายชนิดต่าง ๆ กัน ได้แก่ - แร่ทองแดง พบในจังหวัดเลย ลำปาง เชียงราย แพร่ ตาก กระบี่ - แร่ตะกั่ว พบในจังหวัดกาญจนบุรี พัทลุง - แร่สังกะสี พบในจังหวัดกาญจนบุรี ตาก - แร่พลวง พบในจังหวัดลำปาง ลำพูน ตาก ชลบุรี กาญจนบุรี สตูล - แร่ดีบุก พบในจังหวัดเชียงใหม่ ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง สงขลา ตะกั่วป่า [สิ่งแวดล้อม] | Elementary Family | ครอบครัวพื้นฐาน, Example: เป็นหน่วยครอบครัวที่มีขนาดใหญ่ ประกอบด้วยครอบครัวเดี่ยวหลายครอบครัวรวมกัน [สิ่งแวดล้อม] | ASEAN Vision 2020 | วิสัยทัศน์อาเซียน พ.ศ. 2563 เป็นเอกสารซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ได้ให้ความเห็นชอบ เพื่อแสดงถึงความมุ่งมั่นและพันธกรณีของอาเซียนที่จะนำประชาชนในภูมิภาคนี้ ไปสู่ (1) การเป็นภูมิภาคที่มีสันติภาพและเสถียรภาพ (2) ความเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งด้วยการรวมตัวทางเศรษฐกิจ อย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น (3) การเป็นสังคมที่เปิดกว้าง มีความเป็นปึกแผ่นและเอื้ออาทรต่อกัน และ (4) การกระชับความสัมพันธ์กับคู่เจรจาและโลกภายนอก บนพื้นฐานของความเป็นหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกันและมีความเคารพซึ่งกันและกัน [การทูต] | ASEAN - China, Japan and the Republic of Korea Relationship | ความสัมพันธ์อาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธาณรัฐเกาหลี เป็นกลไกความร่วมมือใหม่ที่เริ่มมีขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 ซึ่งผู้นำของ อาเซียน จีน ญี่ปุ่นและสาธารณรัฐเกาหลี ได้พบกันเป็นครั้งแรกที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยในปี พ.ศ. 2542 ผู้นำอาเซียน+3 ได้ออกแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (Joint Statement on East Asia Cooperation) เป็นหลักการพื้นฐานของการเสริมสร้างความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง [การทูต] | Knowledge-based Economy | การพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการพัฒนาความรู้ [การทูต] | ASEAN Coordinating Committee on Investment | คณะกรรมการประสานงานด้านการลงทุนของอาเซียน " จัดตั้งขึ้นจากความตกลงพื้นฐานว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (AIA) โดยเป็นการประชุมระหว่างรองหัวหน้าหน่วยงานด้านการส่งเสริมการลงทุน เพื่อดูแลและประสานการดำเนินงานตามความตกลงว่าด้วย เขตการลงทุนอาเซียน " [การทูต] | Commonwealth of Nations | การรวมตัวของชาติต่าง ๆ เข้าเป็นสมาคมทางการเมือง ประกอบด้วยประเทศสหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย แคนาดา ลังกา ไซปรัส แกมเบีย กาน่า อินเดีย จาไมก้า คีเนีย มาเลเซีย มาลาวี มอลต้า นิวซีเแลนด์ ไนจีเรีย ปากีสถาน ซิเอร่าเลโอน แทนเซียเนีย ทรินิแดด-โทเบโก ยูแกนดา และแซมเบียตามทรรศนะของ Oppenheim ศาสตราจารย์นักกฎหมายระหว่างประเทศในระดับโลก สมาคมทางการเมืองแห่งนี้ก็คือกลุ่มของรัฐที่รวมกันโดยไม่มีพื้นฐานการรวมตัว ทางกฎหมายที่เคร่งครัดแต่อย่างใด หากแต่มีความผูกพันร่วมกันในด้านประวัติศาสตร์ จารีตประเพณี กฎหมาย และมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างแน่นแฟ้นมากกว่า [การทูต] | ASEAN Committee on Science and Technology | คณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี " มีหน้าที่ดูแลความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างประเทศสมาชิกอา เซียนและกับประเทศคู่เจรจาและองค์กรอื่น ๆ ประชุมปีละ 2 ครั้ง โดยแยกเป็นอนุกรรมการ 9 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร (2) ด้านอุตุนิยมวิทยาและธรณีฟิสิกส์ (3) ด้านไมโครอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) ด้านวัสดุศาสตร์และเทคโนโลยี (5) ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ (6) ด้านการวิจัยพลังงานนอกแบบ (7) ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล (8) ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากรด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (9) ด้านเทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ " [การทูต] | ASEAN Initiative on Electronic Commerce Cooperation | ความริเริ่มด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน " เป็นแผนงานหลักในการพัฒนาและส่งเสริมความร่วมมือด้านการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน ประกอบด้วย (1) การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม (2) การกำหนดนโยบายและกฎหมายที่อำนวยความสะดวกการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (3) การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้าบริการและการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการ จัดทำกรอบความตกลงว่าด้วยพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (4) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ (5) การ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในภาครัฐ " [การทูต] | Economic Corridor | พื้นที่เศรษฐกิจซึ่งจะเน้นการพัฒนาตามแนวโครงข่ายคมนาคม ทั้งนี้ เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการสร้างกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ต่าง ๆ [การทูต] | Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] | Goodwill Representative | ผู้แทนสันถวไมตรี " หมายถึง การแต่งตั้งบุคคลที่มีพื้นฐานความรู้ ความประพฤติ และ บุคลิกที่เหมาะสมในการเป็นผู้แทนของประเทศ ให้ไปเยือนต่างประเทศ เพื่ออัธยาศัยไมตรี หรือผูกมิตรกับอีกประเทศหนึ่ง โดยสามารถปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้แทนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ " [การทูต] | Great Powers | ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] | HABITAT | ดูที่ UNCHF = ศูนย์เพื่อการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ ทำหน้าที่เป็นสำนักเลขาธิการของคณะกรรมาธิการว่าด้วยการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ (Commission on Human Settlements) ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงานกิจกรรมการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ของสหประชา ชาติที่เน้นในเรื่องที่พักพิง (shelter) และบริการทางสังคม การจัดการเมือง สิ่งแวดล้อมและโครงสร้างพื้นฐาน และการประเมิน ติดตามข่าวสารข้อมูลทางด้านการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ [การทูต] | human security | ความมั่นคงของมนุษย์ " หมายถึง การสร้างสภาพที่มั่นคงให้แก่มนุษย์โดยครอบคลุมทุกด้าน ทั้งในด้านการเมือง (เช่น การปลอดจากภัยสงคราม) ด้านเศรษฐกิจ (เช่น การกินดีอยู่ดี การมีสุขอนามัย) และด้านสังคม (เช่น การมีสิทธิพื้นฐานตามที่กฎหมายกำหนด) " [การทูต] | Joint Development Area | พื้นที่พัฒนาร่วม " หมายถึง พื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซีย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการแก้ไขปัญหาเขตแดนทางทะเลระหว่างทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงที่จะแปรปัญหาเขตทับซ้อนในไหล่ทวีป ซึ่งมีพื้นที่ 7,250 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นพื้นที่พัฒนาร่วม โดยการแสวงหาและนำเอาทรัพยากรปิโตรเลียมในพื้นที่ดังกล่าวมาใช้และแบ่งปันผล ประโยชน์ บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันในลักษณะ 50 : 50 ซึ่งนับว่าเป็น ตัวอย่างที่ดีในการแก้ไขกรณีพิพาทเกี่ยวกับเขตทับซ้อนทางทะเลสำหรับประเทศ อื่น ๆ " [การทูต] | Joint Strategy for Economic Partnership | ยุทธศาสตร์ร่วมเพื่อความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ ไทย-เวียดนาม เป็นแผนแม่บทเพื่อกำกับการดำเนินความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจไทย-เวียดนาม ในทุกมิติ ครอบคลุมด้านการค้า การลงทุน การผลิต การเงิน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ [การทูต] | The New Partnership for Africa?s Development | หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต] | Open and Caring Societies | สังคมเปิดและเอื้ออาทร เป็นส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 ที่ได้เล็งเห็นว่า ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยรวมในปีดังกล่าวจะมีสังคมเปิดที่ประชาชน ยึดมั่นในเอกสักษณ์แห่งชาติของตนและเข้าถึงโอกาสของการพัฒนาความเป็นมนุษย์ อย่างสมบูรณ์ได้อย่างเท่าเทียมกัน และจะเป็นสังคมเอื้ออาทรที่ความหิวโหยทุกข์โภชนาการ การสูญเสียและความยากจนจะไม่ใช่ปัญหาพื้นฐาน และเป็นสังคมที่มีสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็ง [การทูต] | peace building | การสร้างสันติภาพ เป็นการสร้างและพัฒนาเงื่อนไขเพื่อให้เกิดสันติภาพที่ถาวร อันรวมถึงการสร้างสถาบันและโครงสร้างพื้นฐานของชาติที่ถูกทำลายโดยสงคราม กลางเมืองหรือการสู้รบขึ้นมาใหม่ [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | regionalism | ภูมิภาคนิยม " เป็นการรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคบนพื้นฐานของการตระหนักถึงผลประโยชน์ร่วม กันในการพัฒนาและความจำเป็นที่จะต้องร่วมมือกันในด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นการระดมพลังในการปกป้องและเสริมสร้างความก้าวหน้าและสันติภาพความ มั่นคงของแต่ละประเทศและของภูมิภาคโดยส่วนรวม - open regionalism ภูมิภาคนิยมแบบเปิด เป็นกระบวนการ รวมตัวและร่วมมือกันในภูมิภาคเพื่อลดอุปสรรคทางการค้าซึ่งกันและกัน โดยไม่มีการกีดกันประเทศภายนอก - closed regionalism ภูมิภาคนิยมแบบปิด เป็นกระบวนการ รวมตัวและร่วมมือกันในภูมิภาคเพื่อลดอุปสรรคทางการค้าซึ่งกันและกัน โดยมีการกีดกันประเทศภายนอก " [การทูต] | security community | ประชาคมความมั่นคง เป็นการรวมตัวกันของบรรดาประเทศในภูมิภาคเพื่อศึกษาและเสริมสร้างความมั่นคง ของภูมิภาค โดยเน้นการส่งเสริมความร่วมมือบนพื้นฐานของแนวความคิดของความมั่นคงร่วมกัน [การทูต] | strategic partnership | หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เป็นลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศที่มีความใกล้ชิดสนิทสนมอย่างยิ่ง อยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค มีนโยบายและแนวคิดทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหารไปในแนวทางเดียวกัน [การทูต] | Team Thailand | ทีมประเทศไทย หมายถึง รูปแบบของการทำงานที่เป็นเอกภาพของหน่วยราชการไทยในการปกป้อง รักษา และส่งเสริมผลประโยชน์ของไทยในต่างประเทศ ตลอดจนเพื่อช่วยประหยัดงบประมาณ ขจัดความซ้ำซ้อน ลดการทำงานที่ไม่จำเป็นให้หมดไป และช่วยให้มีการประสานงานระหว่างหน่วยงานมากยิ่งขึ้น อันจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผลของการทำงาน แนวคิดเรื่องทีมประเทศไทยเป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงานของหน่วยงานไทย ในต่างประเทศ โดยเน้นให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีภารกิจในต่างประเทศทำงานร่วมกัน อย่างมีเอกภาพ ไม่ซ้ำซ้อน มีทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันบนพื้นฐานของแผน งานรวมที่เป็นเอกภาพ (unified work plan) มีสำนักงานที่เป็นเอกภาพ (unified structure) และมีกรอบการประสานงานที่เป็นเอกภาพ (unified command) โดยมีกระทรวงการต่างประเทศซึ่งรับผิดชอบภาพรวมของการดำเนินความสัมพันธ์กับ ต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีมในการประสานงาน ทั้งนี้ เป็นไปตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการในต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2541 [การทูต] | United Nations Centre for Human Settlements หรือ HABITAT | ศูนย์เพื่อการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ ทำหน้าที่เป็นสำนักเลขาธิการของคณะกรรมาธิการว่าด้วยการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ (Commission on Human Settlements) ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงานกิจกรรมการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ของสหประชา ชาติที่เน้นในเรื่องที่พักพิง (shelter) และบริการทางสังคม การจัดการเมือง สิ่งแวดล้อมและโครงสร้างพื้นฐาน และการประเมิน ติดตามข่าวสารข้อมูลทางด้านการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ [การทูต] | cyclotron | เครื่องไซโคลตรอน , เป็นเครื่องสำหรับเร่งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ผู้ประดิษฐ์คือ Earnest O. Lawrence ชาวอเมริกัน ซึ่งได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2482 ในเครื่องเร่งอนุภาคชนิดนี้ อนุภาคถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้า ในขณะเดียวกันก็ถูกควบคุมด้วยสนามแม่เหล็ก ให้วิ่งวนเป็นวงออกไป เมื่อได้ความเร็วที่เหมาะสม ก็จะถูกปล่อยให้ไปชนกับเป้าที่ต้องการ เครื่องเร่งนี้ใช้ในการวิจัยทางฟิสิกส์พื้นฐาน และการผลิตสารไอโซโทปรังสี [พลังงาน] | สารเติมแต่ง | สารเติมแต่งหรือสารเพิ่มคุณภาพเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหัวเชื้อ หมายถึงสารเคมีที่ใช้ผสมน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานหรือน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน สังเคราะห์ ในปริมาณที่พอเหมาะ เพื่อให้ได้น้ำมันหล่อลื่นที่มีคุณสมบัติตามต้องการ [ปิโตรเลี่ยม] | Primary earnings per share | กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน [การบัญชี] | Tensile tester | เป็นเครื่องมือวัดสมบัติความทนต่อแรงดึงของยางคงรูป ซึ่งสมบัติความทนต่อแรงดึงเป็นสมบัติเชิงกลพื้นฐานที่โรงงานอุตสาหกรรมยาง ส่วนใหญ่นิยมใช้เป็นตัวกำหนดคุณภาพหรือสเปคของผลิตภัณฑ์ วิธีการวัด คือ จะให้แรงดึงกับชิ้นงานตัวอย่างจนกระทั่งชิ้นงานขาด วัดความทนต่อแรงดึงสูงสุด ณ จุดขาด (tensile strength) และสามารถระบุได้ว่าชิ้นงานเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างโดยยืดไปกี่ เปอร์เซ็นต์ (elongation at break) วิธีการวัดและชิ้นงานที่ใช้จะต้องทำตามมาตรฐานที่กำหนด เช่น ISO 37 หรือ ASTM D412 [เทคโนโลยียาง] | Abilities, Innate | ความสามารถพื้นฐาน [การแพทย์] | Anaerobes, Basically | แอนแอโรบส์พื้นฐาน [การแพทย์] | Background | ภูมิหลัง, ความรู้พื้นฐาน [การแพทย์] | Basal Losses | การสูญเสียขั้นพื้นฐาน [การแพทย์] | Basal Metabolic Rate | อัตราการใช้พลังงานสำหรับการทำงานของอวัยวะภายใน, อัตราการเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึมพื้นฐาน, อัตราเมตาบอลิคพื้นฐาน, อัตราเมตาบอลิสมขณะพัก, อัตราเบซัลเบตาบอลิสม [การแพทย์] | Basal Metabolism | บาซัลเมตะบอลิสม, เมตาบอลิสม์พื้นฐาน, เบซัลเมตาโบลิซึม, เมตาบอลิสม์ขั้นพื้นฐาน, ภาวะเบซัล [การแพทย์] | Baseline, Irregular | เส้นพื้นฐานไม่สม่ำเสมอ [การแพทย์] | Baseline, Wandering | เส้นพื้นฐานแกว่งขึ้นลงช้าๆ [การแพทย์] |
| การเรียนพื้นฐาน | [kān rīenrū pheūnthān] (n, exp) FR: apprentissage fondamental [ m ] | การวิจัยขั้นพื้นฐาน | [kān wijai khanpheūnthān] (n, exp) EN: basic research FR: recherche fondamentale [ f ] | การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน | [kān wikhrǿ patjai pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental analysis | ค่าจ้างขั้นพื้นฐาน | [khājāng khanpheūnthān] (n, exp) EN: basic wage FR: salaire de base [ m ] | ค่าจ้างพื้นฐาน | [khājāng pheūnthān] (n, exp) EN: basic wage FR: salaire de base [ m ] | คำนิยมพื้นฐาน | [khamniyom pheūnthān] (n, exp) EN: value FR: valeur (morale) [ m ] | ขั้นพื้นฐาน | [khanpheūnthān] (n) EN: elementary level ; foundation ; basis | ขั้นพื้นฐาน | [khanpheūnthān] (adj) EN: primary ; basic FR: fondamental ; élémentaire | โครงสร้างพื้นฐาน | [khrōngsāng pheūnthān] (n, exp) EN: infrastructure ; basic structure ; substructure ; foundation ; basis FR: infrastructure [ f ] ; structure de base [ f ] | ความรู้พื้นฐาน | [khwāmrū pheūnthān] (n, exp) EN: basic knowledge FR: connaissances élémentaires [ fpl ] ; connaissances de base [ fpl ] | ความต้องการขั้นพื้นฐาน | [khwām tǿngkān khanpheūnthān] (n, exp) EN: basic needs ; basic requirements FR: besoins élémentaires [ mpl ] | หลักการพื้นฐาน | [lakkān pheūnthān] (n, exp) EN: basic principle FR: principe de base [ m ] | แนวคิดพื้นฐาน | [naēokhit pheūnthān] (n, exp) EN: basic concepts FR: concept fondamental [ m ] | เงินเดือนพื้นฐาน | [ngoendeūoen pheūnthān] (n, exp) EN: basic salary FR: salaire de base [ m ] | ปัจจัยพื้นฐาน | [patjai pheūnthān] (n, exp) EN: basic factor | พื้นฐาน | [pheūnthān] (n) EN: base ; bottom ; foundation ; basis FR: base [ f ] ; assise [ f ] ; fondement [ m ] ; fondation [ f ] ; soubassement [ m ] | พื้นฐาน | [pheūnthān] (adj) EN: fundamental ; primary ; basic FR: fondamental ; essentiel ; basique ; élémentaire | พื้นฐานการศึกษา | [pheūnthān kānseuksā] (n, exp) EN: educational foundation | ปูพื้นฐาน | [pū pheūnthān] (v) EN: lay the floor | ราคาพื้นฐาน | [rākhā pheūnthān] (n, exp) EN: floor price ; standard price ; basic price FR: prix plancher [ m ] | ศัพท์พื้นฐาน | [sap pheūnthān] (n, exp) EN: basic vocabulary | สิทธิขั้นพื้นฐาน | [sitthi khanpheūnthān] (n, exp) EN: basic right ; fundamental right FR: droit fondamental [ m ] ; droit élémentaire [ m ] | สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน | [sitthi lae sēriphāp khanpheūnthān] (n, exp) EN: fundamental rights and freedoms FR: droits et libertés fondamentaux [ mpl ] | สิทธิมนุษยชนพื้นฐาน | [sitthi manutsayachon pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental human rights FR: droits humains fondamentaux [ mpl ] |
| MFC | (name) ย่อมาจากคำว่า Microsoft Foundation Classes เป็นชื่อของชุดโปรแกรมพื้นฐานชุดหนึ่ง ประกอบด้วย class ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ สำหรับใช้เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการ Windows, See also: ATL WTL | essential | (adj) จำเป็นที่สุด, ซึ่งขาดเสียมิได้, เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ, เป็นเนื้อแท้, เป็นปัจจัยพื้นฐาน, เกี่ยวกับตัวยาสำคัญ, เกี่ยวกับหัวน้ำหอม, เป็นธรรมชาติ, ซึ่งเกิดขึ้นเอง | Ubuntu | (n) ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งที่พัฒนาบนพื้นฐานของระบบ Linux | homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย | DEM | (n) แบบจำลองภูมิประเทศเชิงเลข ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก Digital Elevation Model (DEM) โดยทำการจัดสร้างขึ้นจากข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วยค่าพิกัด X, Y และ Z ของจุดตัวอย่าง ซึ่งในทางทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นิยมนำเข้าข้อมูลเส้นชั้นความสูง ยอดเขา และหลุมยุบ มาใช้ในการจัดสร้างแบบจำลองภูมิประเทศเฃิงเลขในรูปของข้อมูลเฃิงภาพหรือข้อมูลเชิงเส้น |
| America Online | (n) ศูนย์บริการออนไลน์ผ่านทางโมเด็มที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในอเมริกา มีขอบเขตการให้บริการที่กกว้างขวางมีการให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ปริการเชื่อมต่ออินเตอร์เนตขั้นพื้นฐาน มีข่าวสารการพยากรณ์อากาศจากสำนักข่าวรอยเตอร์และยูพีไอ | ABC of something | (idm) หลักเบื้องต้นของบางสิ่ง, See also: ข้อมูลพื้นฐานของบางสิ่ง | bare bones | (n) ข้อมูลพื้นฐาน | basal | (adj) พื้นฐาน, See also: เป็นรากฐาน, เป็นมูลฐาน, แรกเริ่ม, Syn. basic | base | (n) พื้นฐาน, See also: รากฐาน, ส่วนที่ต่ำที่สุด, Syn. basis | basic | (adj) พื้นฐาน, See also: รากฐาน, มูลฐาน, อันดับแรก, สำคัญ | basic training | (n) การฝึกทางทหารขั้นพื้นฐาน (เมื่อแรกเข้าประจำการในกองทัพบก), Syn. basic | basically | (adv) โดยพื้นฐาน, See also: โดยแท้จริง, โดยทั่วๆ ไป, Syn. generally | basis | (n) รากฐาน, See also: หลักพื้นฐาน, หลัก, Syn. foundation | bread-and-butter | (adj) สำคัญมาก, See also: เป็นพื้นฐาน | build on | (phrv) ตั้งอยู่บน, See also: ยึดบางสิ่งเป็นพื้นฐาน, Syn. build upon | build on | (phrv) ใช้(บางสิ่ง)เป็นพื้นฐานสำหรับพัฒนาต่อ, See also: ใช้บางสิ่งให้เป็นประโยชน์กับ, Syn. build upon | build upon | (phrv) ตั้งอยู่บน, See also: ยึดบางสิ่งเป็นพื้นฐาน, Syn. build on | build upon | (phrv) ใช้(บางสิ่ง)เป็นพื้นฐานสำหรับพัฒนาต่อ, Syn. build on | cell | (n) เซลล์, See also: หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต, Syn. cellule, corpuscle | centime | (n) หน่วยเงินที่มีจำนวนหนึ่งในร้อยของหน่วยเงินพื้นฐาน | constitutional | (adj) ที่เป็นส่วนพื้นฐาน, See also: ที่เป็นส่วนกำเนิด, Syn. basic, essential | cornerstone | (n) บุคคลหรือสิ่งสำคัญพื้นฐาน, Syn. foundation | denotation | (n) ความหมายตรง (ทางภาษาศาสตร์), See also: ความหมายหลัก, ความหมายพื้นฐาน, Syn. signification, reference | elementary | (adj) เบื้องต้น, See also: พื้นฐาน, Syn. primary, rudimentary | essential | (n) องค์ประกอบสำคัญ, See also: เนื้อแท้, ปัจจัยพื้นฐาน, สิ่งจำเป็น | essentially | (adv) โดยพื้นฐาน, See also: อย่างสำคัญ, อย่างจำเป็นอย่างยิ่ง, Syn. intrinsically, substantially | ethos | (n) ลักษณะพื้นฐานทางด้านสังคมที่มีร่วมกันของกลุ่มคน | fiber | (n) ลักษณะสำคัญ, See also: โครงสร้างพื้นฐาน | fibre | (n) ลักษณะสำคัญ, See also: โครงสร้างพื้นฐาน, Syn. fiber | folk | (adj) ที่มีพื้นฐานความเชื่อของชาวบ้าน | foundation | (n) พื้นฐาน (ของความคิดหรือทฤษฎี) | frame | (n) โครงสร้างพื้นฐาน, See also: โครงสร้าง, Syn. scaffold, structure | fundamental | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับรากฐาน, See also: ซึ่งเกี่ยวกับพื้นฐาน, Syn. basal, basic, underlying | fundamental | (n) รากฐาน, See also: หลักเบื้องต้น, พื้นฐาน | fundamentally | (adv) โดยเป็นรากฐาน, See also: โดยพื้นฐาน, Syn. basically | ground on | (phrv) ตั้งอยู่บน, See also: มีพื้นฐานอยู่บน, Syn. base on, found on | grass roots | (n) ระดับธรรมดา, See also: ระดับพื้นฐาน, ระดับประชาชน, ชุมชน | ground | (vt) ให้พื้นฐาน, See also: ฝึกสอนพื้นฐานให้, Syn. educate, train | ground rule | (n) หลักเกณฑ์พื้นฐาน, See also: กฎเบื้องต้น | groundwork | (n) พื้นฐาน, See also: รากฐาน, ฐาน, Syn. base, basis, bottom, foundation | historical | (adj) ซึ่งมีพื้นฐานมาจากประวัติศาสตร์, See also: อิงประวัติศาสตร์ | know one's ABC | (idm) เข้าใจตัวอักษร, See also: รู้พื้นฐานของบางสิ่ง | to the core | (idm) ในส่วนพื้นฐาน, See also: ในส่วนสำคัญ | infrastructure | (n) โครงสร้างพื้นฐาน, See also: ระบบพื้นฐาน, Syn. foundation, basic structure, base | invalid | (adj) ที่ไม่ได้อยู่บนพื้นฐานความจริง | liberal arts | (n) ศิลปศาสตร์, See also: การศึกษาที่เน้นทางพื้นฐานทางวัฒนธรรม เช่น สาขาวิชาวรรณคดี ปรัชญา ภาษา ประวัติศาสตร์ เป็ | liberty | (n) สิทธิขั้นพื้นฐาน | numeracy | (n) ความรู้พื้นฐานที่ดีทางการคำนวณ | objective | (adj) ที่อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง, Syn. real, Ant. subjective | phoneme | (n) หน่วยเสียงเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดในภาษา (ทางภาษาศาสตร์), See also: หน่วยพื้นฐานของเสียง ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละภาษา | phonemics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับหน่วยพื้นฐานของเสียง (แตกต่างกันในแต่ละภาษา) | poetics | (n) การศึกษาพื้นฐานของการประพันธ์ | predicate | (vt) ตั้งบนพื้นฐาน (ความคิด) | primal | (adj) ที่เป็นพื้นฐาน, Syn. fundamental |
| alphabet | (แอล' ฟาเบท) n. อักษรพยัญชนะ, อักษร, อักขระ, ระบบตัวอักษร, ความรู้พื้นฐาน, ขั้นมูลฐาน. | base | (เบส) n. พื้นฐาน, รากฐาน, หลัก, ที่มั่น, ฐาน, ด่าง, น้ำยารักษาสี, สีฟัน, พื้น, จุดเริ่ม, เป้า (เบสบอล) adj. ต่ำช้า, เลวทราม, ชั่ว, ชั้นต่ำ, วิบัติ (ภาษา), See also: baseness n., Syn. mean, Ant. noble -Conf. basis | basically | (เบ'ซิคเคิลลี) โดยพื้นฐานแล้ว, Syn. at basis | basis | (เบ'ซิส) n. พื้นฐาน, รากฐาน, หลักสำคัญ, ส่วนสำคัญ, หลักเกณฑ์, มาตรฐาน, ฐานปฏิบัติการ, Syn. base -pl. bases | bottom | (บอท'เทิม) { bottomed, bottoming, bottoms } n., adj. ก้น, พื้นฐาน, ข้างใต้, พื้นน้ำ, ตอนท้ายสุด, ปลาย, ท้องเรือ, ปลายตรอก vt., vi. ใส่พื้นให้แก่, พบความหมายเต็มของ ตรวจสอบข้อเท็จจริง vt. บรรลุถึงพื้นล่าง สร้างพื้นฐาน, Syn. foot | capital | (แคพ'พิเทิล) n. เมืองหลวง, ตัวเขียนใหญ่, ทุน, พวกนายทุน, หัวเสา, ยอดเสา adj. เกี่ยวกับทุน, สำคัญมาก, พื้นฐาน, เกี่ยวกับเมืองหลวง, เกี่ยวกับการสูญเสียชีวิต, มีโทษถึงตาย -Conf. capitol | cardinal | (คาร์'ดิเนิล) n. พระราชาคณะของคาทอลิก, นกจำพวกหนึ่งตัวผู้สีแดงจัด, สีแดงเข้ม adj. สำคัญยิ่ง, มีสีแดง, พื้นฐาน., See also: cardinalship n. ดูcardinal, Syn. principal | categorical imperative | n. กฎที่ว่าการกระทำของคนนั้นควรเป็นการบริหารซึ่งเป็นพื้นฐานของกฎทั่วไป | classic | (แคลส'ซิค) adj. ยอดเยี่ยม, ดีเด่น, ชั้นหนึ่ง, ชั้นเอก, ดีถึงขนาด, อมตะ, เป็นพื้นฐาน, เป็นหลัก, มีชื่อเสียงทางประวัติศาสตร์หรือวรรณคดี, เป็นแบบอย่าง, เป็นประเพณี, เกี่ยวกับภาษากรีกและลาติน, แบบกรีกและโรมัน, เกี่ยวกับเอกลักษณ์หรือลีลาโบราณ. n. นักเขียนชั้นหนึ่ง, นักวรรณค | computer code | รหัสคอมพิวเตอร์รหัสเครื่องหมายถึง รูปแบบพื้นฐานของบิตที่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้รับการออกแบบให้รู้จักว่า เป็นคำสั่งและข้อมูล เช่น รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) หมายถึง ตัวแทนอักขระ ตัวเลข หรือคำสั่งที่ใช้ในเครื่องมีความหมายเหมือน machine code | computer literacy | การรู้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานหมายถึง การเรียนรู้เพียงเพื่อให้เข้าใจพื้นฐานหรือความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับการทำงาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และการนำเครื่องไปใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ | core curriculum | n. หลักสูตรพื้นฐาน | cornerstone | (คอร์'เนอสโทน) n. ศิลาฤกษ์, เสาหลัก, พื้นฐาน, รากตึก, หินมุมตึก, สิ่งที่สำคัญ | element | (เอล'ละเมินทฺ) n. ธาตุ, ธาตุแท้, ปัจจัยสำคัญ, หน่วย, ที่อยู่ตามธรรมชาติ, สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ, รากฐาน, พื้นฐาน, ขั้วไฟฟ้า, See also: elemental adj. | elementary | (เอลละเมน'ทะรี) adj. เบื้องต้น, พื้นฐาน, มูลฐาน, ปฐม, ปฐมภูมิ, ชั้นประถม, See also: elementarily adv. elementariness n. ดูelementary, Syn. simple | floor | (ฟลอร์) n. พื้น, พื้นห้อง, กัน (ทะเล, ถ้ำ, น้ำ) , ชั้นอาคาร, ชั้นต่ำสุด, ชั้นพื้นฐาน vt. ปูพื้น, ทำให้ล้มลง, ทำให้สับสน, ทำให้งง. -Phr. (take the floor อภิปราย), Syn. level, stage | foundation | (เฟาเด'เชิน) n. รากฐาน, พื้นฐาน, การก่อ, การสร้าง, การสถาปนา, มูลนิธิ, กองทุนมูลนิธิ, ผู้ก่อตั้ง, คณะผู้ก่อตั้ง, เครื่องรัดลำตัวผู้หญิง., See also: foundationary adj., Syn. basis | fundament | (ฟัน'ดะเมินทฺ) n. รากฐาน, มูลฐาน, พื้นฐาน, ตะโพก, ก้น | ground | (เกราดฺ) n. พื้น, พื้นดิน, ดิน, ที่ดิน, สนาม, สถานที่, บริเวณ, เขต, เรื่องราว, หัวเรื่อง, ท้องน้ำ, ท้องทะเล, ก้นน้ำ, หลักฐาน, พื้นฐาน, เหตุ, ที่มั่น, หลักฐานอ้างอิง, ที่มั่น. v. กริยาช่อง 2 และ 3ของgrind adj. บดเป็นผง, บดแล้ว -above ground มีชีวิต. -below ground ตายและฝัง. -h | ground rule | หลักความประพฤติขั้นพื้นฐาน | groundwork | (เกราดฺ'เวิร์ค) n. รากฐาน, พื้นฐาน, การเตรียมตัว, Syn. basis | high level language | ภาษาระดับสูงหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องรู้ถึงโครงสร้างภายในของเครื่องแต่อย่างใด ภาษาระดับสูงมีอยู่ด้วยกันหลายภาษา เช่น ภาษาซี (C) ภาษาเบสิก (BASIC) และภาษาปาสกาล (PASCAL) เป็นต้น ตรงข้ามกับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ซึ่งเรียกกันว่าเป็นภาษาระดับต่ำ ผู้เขียนจะต้องรู้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมเป็นภาษานั้นได้ อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์จะยังไม่สามารถเข้าใจภาษาระดับสูงนี้ได้ แต่จะต้องใช้ตัวแปล (compiler) จัดการแปลเสียก่อน จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งได้ดู computer language ประกอบ | host computer | คอมพิวเตอร์แม่ข่ายคอมพิวเตอร์แม่งานหมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ตัวหลักในเครือข่าย ที่จะทำหน้าที่ควบคุมคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในเครือข่ายนั้นทั้งหมด เป็นทั้งที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลพื้นฐาน ที่คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายจะเรียกใช้ได้ในเรื่องการสื่อสาร หมายถึง คอมพิวเตอร์เครื่องที่ใช้ต่อเข้า/ออก | infrastructure | (อิน'ฟระสทรัคเชอะ) n. พื้นฐานของโครงสร้าง เช่น ถนนหนทาง สิ่งก่อสร้าง | macintosh | (แมค' คินทอช) n. ชื่อคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง แมคอินทอชเป็นเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตระกูลสำคัญตระกูลหนึ่ง ออกแบบสร้างขึ้นโดยบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ นำออกสู่ตลาดครั้งแรกในปี ค.ศ.1984 คอมพิวเตอร์ตระกูลนี้ประกอบด้วยตัวประมวลผลแบบจุลภาค (microprocesssor) ขนาด 32 บิต เป็นเครื่องแรก อีกทั้งได้สร้างตัวประสานกับผู้ใช้ (user interface) ทำให้ผู้ใช้เครื่องรู้สึก สะดวกสบายเป็นอย่างยิ่ง เพราะสามารถเรียนรู้เข้าใจได้ง่ายโดยไม่จำเป็นต้องมีพื้นฐานในวิทยาการคอมพิวเตอร์มากนัก เนื่องจากใช้ภาพเป็นสื่อทำให้เข้าใจสิ่งต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น ต่อมาเครื่องพีซีก็สร้างระบบวินโดว์ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ตาม เครื่องยี่ห้อนี้มีส่วนแบ่งการตลาดสูงรองจากเครื่องของบริษัทไอบีเอ็มเท่านั้น | multiuser system | ระบบหลายผู้ใช้หมายถึง โปรแกรมหรือระบบปฏิบัติการที่ยอมให้มีผู้ใช้ได้มากกว่าหนึ่งคน ในเวลาเดียวกัน เช่น การจัดข้อมูลพื้นฐานเพื่อให้ผู้ใช้หลายคนสามารถเรียกหาได้พร้อม ๆ กันอย่างในระบบเครือข่าย (network) เป็นต้น | parenchyma | (พะเรง'คะมะ) n. เนื้อเยื่อพื้นฐาน, See also: parenchymatous adj. | postulate | (พอส'ชะลิท) n. ขอร้อง, ยืนยัน, อ้าง, วางสมมุติฐาน, วางหลัก. n. สมมุติฐาน, หลัก, หลักฐาน, หลักการพื้นฐาน, เงื่อนไขที่ต้องมีก่อน., See also: postulation n. postulational adj., Syn. demand premise | prime | (ไพรม) adj. สำคัญที่สุด, ดีเลิศ, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, ขั้นพื้นฐาน, ขั้นมูลฐาน. n. ภาวะที่รุ่งโรจน์สุด, ส่วนที่ดีเลิศ, ระยะแรกเริ่ม, ฤดูใบไม้ผลิ, ชั่วโมงแรกของวัน, วันหนุ่มสาว, รุ่งอรุณ vt. ใส่ดินระเบิด, สั่งสอน, แจ้งข่าว, See also: primeness n. คำที่มีคว | primitive | (พริม'มิทิฟว) adj. แรกเริ่ม, เบื้องต้น, สมัยแรก, ดั้งเดิม, บรรพกาล, ดึกดำบรรพ์, ยังป่าเถื่อน, ง่าย ๆ , หยาบ, พื้นฐาน. n. คนสมัยดึกดำบรรพ์, นักศิลปะที่เรียนด้วยตนเอง, ผลงานของนักศิลปะที่เรียนรู้ด้วยตนเอง, See also: primitiveness n. primitivity n. คำที่มี | queuing theory | ทฤษฎีรอคอยเป็นทฤษฎีที่ศึกษาเรื่องของแถวคอย โดยศึกษาในหลาย ๆ แง่ เช่น เวลารอคอยในแถว ความยาวเฉลี่ยของแถว ประสิทธิภาพของจุดให้บริการแถวคอย ตามปกติ มักมีลักษณะเป็นเครือข่าย (network) พื้นฐานของทฤษฎีแถวคอย ใช้หลักของความเป็นไปได้ (possibility) | rationale | (แรช'ชะแนล) n. ข้อความแห่งเหตุผล, ข้อความเหตุผลแห่งหลักการ, พื้นฐานของเหตุผล, Syn. basis, reason | rudiment | (รู'ดะเมินทฺ) n. มูลฐาน, ชั้นต้น, พื้นฐาน, รูปแบบแรกเริ่ม, อวัยวะ หรือส่วนของอวัยวะยังไม่เจริญเติบโตโดยสมบูรณ์, เค้าโครง, See also: rudimenttary adj. rudimentariness n., Syn. elements, first principles | subjacent | (ซับเจ'เซินทฺ) adj. อยู่ใต้, ข้างล่าง, เป็นพื้นฐาน, เป็นรอง., See also: subjacency n., Syn. underlying | substantial | (ซับสแทน'เชิล) adj., n. (สิ่งที่) มากมาย, ยิ่งใหญ่, มีเนื้อหา, มีใจความ, มีแก่นสาร, มีตัวตน, เป็นเนื้อหนังมังสา, เป็นพื้นฐาน, มั่งคั่ง, มีอิทธิพล, อุดมสมบูรณ์, แน่นหนา, เป็นความจริง, เป็นของจริง.., See also: substantiality n. substantialness n. | suchness | n. ลักษณะเฉพาะ, ลักษณะพื้นฐาน, ภาวะเช่นนี้, ภาวะเช่นนั้น | system disk | จานบันทึกระบบหมายถึง จานบันทึกที่บรรจุระบบปฏิบัติการ (ถ้าเป็นพีซี ก็หมายถึง MS DOS) สามารถนำมาใช้เริ่มเครื่องใหม่ได้ (boot) โดยใส่ในหน่วยบันทึก A : จานบันทึกระบบต้องมีโปรแกรม 3 โปรแกรม เป็นอย่างน้อย คือ lo.sys, Msdos.sys และ Command.com สองแฟ้มแรกจะถูกซ่อนอยู่ (hidden files) แม้ว่าจะใช้คำสั่ง Dir ก็จะไม่แสดงบนจอภาพโปรแกรม lo.Sys จะดูแลในเรื่องการนำข้อมูลเข้า และการแสดงผล ส่วน MSDOS.sys จะจัดการเกี่ยวกับเรื่องการอ่านและการบันทึกข้อมูลลงในแผ่นจานบันทุกนั้น ส่วน Command.com ก็จะมีคำสั่งพื้นฐานต่าง ๆ เช่น dir, copy, delete จานบันทึกระบบนี้มีความสำคัญมาก (โดยเฉพาะเครื่องที่ไม่มีฮาร์ดดิสก์) ถ้าไม่มีจานบันทึกนี้จะเริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ไม่ได้เลย ถ้ามีฮาร์ดดิสก์ อาจใช้ฮาร์ดดิสก์เป็นจานบันทึกระบบเลยก็ได้ | tao | (เดา, เทา) n. เต๋า, พื้นฐานความประพฤติที่สมควรของมนุษย์หรือการดำเนินชีวิตอย่างง่าย ๆ | ultimate | (อัล'ทิเมท) adj. สุดท้าย, ไกลสุด, มากสุด, ที่สุด, สูงที่สุด, พื้นฐาน, ทั้งหมด n. จุดสุดท้าย, หลักการขั้นพื้นฐาน, See also: ultimately adv. ultimateness n. | ultimatum | (อัลทะเม'ทัม) n., (pl. -tums, -ta) คำขาด, คำสุดท้าย, ข้อสรุป, หลักการขั้นพื้นฐาน, Syn. final | ungrounded | (อันเกรา'ดิด) adj. ไม่มีพื้นฐาน, ไม่มั่นคง, ไม่แข็งแรง, ไม่มีมูลเหตุ, ไร้เหตุผล, ไม่เชื่อมต่อกับพื้นดิน, ไม่มีมูลความจริง | wind | (วินดฺ, ไวน์ดฺ) n. ลม, กระแสลม, ลมเป่า, เครื่องดนตรีแบบใช้ลมเป่า, ลมหายใจ, หายใจ, ความสามารถในการหายใจ, แรงอิทธิพล, พื้นฐาน, ลมกลิ่น, การคุยโว, ลมในกระเพาะหรือลำไส้, ทิศทางลม, ลมที่อัดไว้, การพัน, การม้วน, การขด, การหมุน, การกว้าน, การเปลี่ยนทิศทาง, ทางโค้ง, ทางคดเคี้ยว | windows | ย่อจากคำเต็มว่า Microsoft Windows เป็นชื่อของโปรแกรมระบบวินโดว์สของบริษัทไมโครซอฟต์ ซึ่งทำงานภายใต้ระบบไมโครซอฟต์ดอส (Microsoft DOS) ที่เขียนโดยบริษัทเดียวกัน ถือว่าเป็นโปรแกรมระบบที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิป 80286 ขึ้นไป สามารถใช้ระบบวินโดว์สได้ ระบบวินโดว์ได้พัฒนาตลอดมา ปัจจุบัน กำลังอยู่ระหว่างหัวเลี้ยวหัวต่อที่จะเปลี่ยนจากวินโดว์ส 3.1 เป็นวินโดว์ส 95 วินโดว์ส 97 และวินโดว์ส 2000 ต่อไป ระบบวินโดว์นี้จะรวมเอาโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ ไว้ให้อย่างพร้อมมูล นอกจากนั้น หลายบริษัทยังสร้างโปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ให้ทำงานบนระบบวินโดว์สนี้ เช่น Aldus PageMaker, Freelance ทุกโปรแกรมจะมีวิธีการใช้พื้นฐานคล้ายคลึงกัน ทำให้ง่ายในการเรียนรู้ เพราะเรียนรู้โปรแกรมหนึ่ง ก็ทำให้มีแนวที่จะเรียนโปรแกรมอื่นง่ายขึ้น ระบบวินโดว์สนี้ จะเน้นในเรื่องการใช้ภาพเป็นสื่อ มีการใช้เมาส์ ใช้เมนู มีรายการเลือกต่าง ๆ ทำให้ผู้ใช้รู้สึกสะดวกขึ้นมาก |
| element | (n) ส่วนประกอบ, ธาตุ, รากฐาน, ส่วนสำคัญ, พื้นฐาน, ปฐม, ขั้วไฟฟ้า | elemental | (adj) เป็นส่วนประกอบ, เกี่ยวกับธาตุ, เป็นปัจจัย, สำคัญ, เป็นพื้นฐาน | elementary | (adj) เบื้องต้น, ขั้นต้น, ปฐม, ชั้นต้น, พื้นฐาน | foundation | (n) การสถาปนา, รากตึก, รากฐาน, การสร้าง, มูลนิธิ, หลักฐาน, พื้นฐาน | groundwork | (n) รากฐาน, พื้นฐาน | rudiment | (n) พื้นฐาน, มูลฐาน, ความรู้เบื้องต้น, เค้าโครง | rudimentary | (adj) เป็นพื้นฐาน, เกี่ยวกับขั้นต้น, ขั้นปฐม, แรกเริ่ม |
| *ผงชูรส* | (n) เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแต่งรสอาหารมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีประโยชน์ในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer) ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 | folklore program | งานแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นฐาน | image schema | ภาพร่าง -- เป็นความเข้าใจพื้นฐานที่เราสร้างขึ้นจากประสบการณ์การรับรู้ที่ผ่านมา | presupposition | (n) ความเชื่อพื้นฐาน | Thrombocytopepia | ระดับเกล็ดเลือดต่ําสามารถมีสาเหตุที่ไม่ได้ต่อเนื่องมาจากโรคพื้นฐาน. ตัวอย่างเช่นการตั้งครรภ์, ระดับความสูง, หรือผลข้างเคียงของยา. | triage | (n) การจัดหาทรัพยากรพื้นฐานสำหรับปัญหาต่างๆ เช่น อาหารสำหรับผู้ประสบภัย |
| 基づく | [もとづく, motoduku] (vt) มีพื้นฐานจาก, อ้างอิงจาก | 基礎 | [きそ, kiso] (n) พื้นฐาน |
| 予備知識 | [よびちしき, yobichishiki] (n) ความรู้พื้นฐาน | 予備知識 | [よびちしき, yobichishiki] (n) ความรู้พื้นฐาน | 基本給 | [きほんきゅう, kihonkyuu] (n) เงินเดือนพื้นฐาน | 地方交付税 | [ちほうこうふぜい, chihoukoufuzei] (n) เงินอุดหนุนประเภทหนึ่งที่ให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น เพื่อเป็นการประกันว่าองค์กรปกครองท้องถิ่นสามารถให้บริการขั้นพื้นฐานแก่ประชาชนในท้องถิ่นได้ โดยองค์กรปกครองท้องถิ่นที่มีรายได้น้อย จะได้เงินอุดหนุนประเภทนี้มากกว่าองค์กรปกครองท้องถิ่นที่มีรายได้มาก | 基礎工事 | [きそこうじ, kisokouji] (n) พื้นฐานงานก่อสร้าง |
| 基本 | [きほん, kihon] TH: พื้นฐาน EN: foundation |
| Boden | (n) |der, pl. Böden| พื้นฐาน รากฐาน เช่น auf dem Boden der Demokratie บนรากฐานแห่งประชาธิปไตย, See also: die Basis | im Grunde genommen | (phrase) โดยพื้นฐาน, See also: hauptsächlich, Syn. grundsätzlich | Vorbereitungskurs | (n) |der, pl. Vorbereitungskurse| วิชาหรือหลักสูตรปูพื้นฐานความรู้ก่อนเข้าเรียนในสาขาใดๆ | Grundlagenvertrag | (n) |der, pl. Grundlagenverträge| ข้อตกลงพื้นฐาน เช่น Die Staats- und Regierungschefs der 27 EU-Mitgliedsstaaten hatten sich in der Nacht zum Samstag in Brüssel auf den Weg zu einem neuen Grundlagenvertrag als Ersatz für die gescheiterte EU-Verfassung verständigt.; Den Anstoß zu den Verhandlungen über den Grundlagenvertrag ( |
| particule | (n) อนุภาคเล็กๆ , ส่วนเล็กๆของเนื้อสารหรือของร่าง ex: Particule élémentaire : ส่วนประกอบพื้นฐานของสสาร เช่น อิเล็คตรอน, quark, Syn. petit part |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |