ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พึง, -พึง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ยิ้ม ตุ๋ย | [ยิ้ม-ตุ๋ย] บุคคลหรือมนุษย์ต่างดาวที่มาจากนอกโลก มีลักษณะนิสัยที่หื่นมาก หากพบบุคคลลักษณะเช่นดังกล่าว ให้พึงระวังไว้เป็นดีที่สุดเพราะเป็นภัยใกล้ตัวทางสังคม |
|
| พึง | (aux) should, See also: ought, Syn. ควร, ควรจะ, พึงจะ, Example: พวกเราทุกคนพึงเห็นใจผู้ที่ป่วยเป็นโรคเอดส์มากกว่าที่จะรังเกียจ, Thai Definition: คำช่วยกริยาอื่น หมายความยอมตาม แปลว่า ควร | พึง | (aux) must, Syn. ต้อง, Example: การนำเงินของส่วนรวมไปช่วยเหลือผู้ประกอบการบางกลุ่ม ทางการก็พึงระมัดระวังไม่ให้ภาครัฐเป็นผู้รับความเสี่ยงเชิงธุรกิจ, Thai Definition: คำช่วยกริยาอื่นหมายความจำเป็น แปลว่า ต้อง | พึงตา | (v) please, See also: satisfy with, Thai Definition: พอตา, เหมาะตา | พึงมี | (v) be supposed to, See also: be due, Syn. ควรมี, Example: หัวหินมีทุกสิ่งทุกอย่างดั่งที่เมืองใหญ่ๆ พึงมี | พึงใจ | (v) please, See also: fascinate with, like, admire, Syn. พอใจ, พึงพอใจ, ถูกใจ, Example: ่ผู้หญิงยุคใหม่เป็นผู้หญิงทำงานที่เริ่มพึงใจกับเสน่ห์ของชีวิตโสด, Thai Definition: เกิดความรู้สึกถูกใจหรือพอใจต่อสิ่งนั้น | รำพึง | (v) groan, See also: lament, mourn, bemoan, cry over, complain, Syn. รำพัน, รำพึงรำพัน, โอดครวญ, คร่ำครวญ, Example: พ่อค้าท้องถิ่นต่างก็รำพึงเป็นเสียงเดียวกันว่ากิจการของเขารอวันตาย | พึงพอใจ | (v) please, See also: satisfy, Syn. พึงใจ, พอใจ, ถูกใจ, Example: เขาพึงพอใจกับการปรนนิบัติพัดวีของภรรยาคนใหม่มาก, Thai Definition: เกิดความรู้สึกถูกใจหรือพอใจต่อสิ่งนั้น | การรำพึง | (n) consideration, See also: pondering, contemplation, reflection, reflexion, Syn. การคิดคำนึง, การใคร่ครวญ, Example: เขาขลุกอยู่แต่กับการรำพึงถึงความรักที่ผ่านไปแล้ว | พึงกระทำ | (v) should be done, See also: ought to be done, Syn. ควรกระทำ, พึงปฏิบัติ, ควรปฏิบัติ, Example: การกระทำเช่นนี้มิใช่วิสัยที่บริษัททางการค้าทั้งหลายพึงกระทำ | พึงระวัง | (v) be careful, See also: be on the lookout for, watch carefully, be vigilant, be alert to, Syn. ระมัดระวัง, Example: ตอนนี้เธอต้องพึงระวังผู้ไม่หวังดีที่อาจหักหลังเธอเมื่อไหร่ก็ได้, Thai Definition: ควรคอยดูหรือเอาใจใส่โดยไม่ประมาท | ความพึงใจ | (n) satisfaction, See also: contentment, complacency, Syn. ความพอใจ, ความชอบใจ, ความพึงพอใจ | พึงสังเกต | (v) note, See also: remark, notice, Syn. พึงระวัง, ควรระวัง, Example: เราต้องพึงสังเกตคนพวกนี้ไว้ให้ดี อาจจะนำความเดือดร้อนมาให้เราก็ได้ | น่าพึงพอใจ | (v) satisfy, See also: content, please, assuage, gratify, indulge, sate, slake, Syn. น่าพอใจ, Example: การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ยังไม่เป็นที่น่าพึงพอใจของผู้ใช้งาน | พึงประสงค์ | (v) desire, See also: want, wish, Syn. พึงปรารถนา, ประสงค์, ปรารถนา, ต้องการ, Example: งานที่ใช้ความพิถีพิถันและความละเอียดอ่อนไม่ใช่งานที่เขาพึงประสงค์นัก แต่เขาก็ทำได้อย่างดี | พึงปรารถนา | (v) desire, See also: want, wish, Syn. พึงปรารถนา, ประสงค์, ปรารถนา, ต้องการ, Example: ถ้าพูดถึงไวรัสคอมพิวเตอร์แล้ว คิดว่าหลายคนคงจะไม่พึงปรารถนาเจ้าไวรัสนี้เป็นแน่ | รำพึงรำพัน | (v) bemoan, See also: bewail, lament, Example: เมื่อนักวิจารณ์วรรณกรรมได้พบปะสนทนาพูดคุยกัน ก็มักจะรำพึงรำพันถึงอนาคตของงานหนังสือ | ความพึงพอใจ | (n) contentment, See also: satisfaction, Syn. ความพอใจ, ความชอบใจ, ความสมใจ, ความสมหวัง, ความสมปรารถนา, Ant. ความเกลียด, Example: ความสำเร็จในชีวิตของคนปัจจุบันมิได้วัดด้วยความสุข หรือความพึงพอใจจากภาวะภายใน หากเอาปัจจัยภายนอก หรือค่านิยมที่คนทั่วไปยึดถือเป็นเกณฑ์กำหนด, Thai Definition: ความรู้สึกที่สมใจ, ชอบใจ | ที่พึงประสงค์ | (adj) desirable, Syn. ที่พึงพอใจ | ความไม่พึงพอใจ | (n) unsatisfactoriness, Syn. ความไม่พอใจ, Ant. ความพอใจ, ความพึงพอใจ |
| เงินได้พึงประเมิน | น. เงินได้อันเข้าลักษณะพึงเสียภาษีตามประมวลรัษฎากร. | พึง | ว. คำช่วยกริยาอื่น หมายความยอมตาม แปลว่า ควร เช่น พึงไป ว่า ควรไป, หมายความจำเป็น แปลว่า ต้อง เช่น กิจที่สงฆ์จะพึงทำ ว่า กิจที่สงฆ์จะต้องทำ. | พึงใจ | ว. พอใจ, ชอบใจ. | พึงตา | ว. พอตา, เหมาะตา. | พึงพอใจ | ว. รัก, ชอบใจ. | รำพึง | ก. คิดถึง, คิดคำนึงอยู่ในใจ, เช่น เขารำพึงถึงความหลังด้วยความเศร้าใจ. | รำพึง | น. ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ทั้ง ๒ ประสานยกขึ้นประทับที่พระอุระ พระหัตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซ้าย เป็นกิริยารำพึง. | รำพึงรำพัน | ก. พูดอย่างที่คิดคำนึงอยู่ เช่น เขารำพึงรำพันว่า โลกนี้น่าอยู่จริงหนอ. | กรณีย-, กรณีย์, กรณียะ | (กะระ-, กอระ-) ว. อันควรทำ, อันพึงทำ. | กรณียกิจ | น. กิจที่พึงทำ, หน้าที่อันพึงทำ. | กระทงแถลง | น. ส่วนสำคัญในสำนวนความที่เป็นประเด็นและที่เกี่ยวกับประเด็นอันพึงเสนอวินิจฉัย. | กรัณย์ | (กะรัน) ว. อันพึงทำ เช่น ราชกรัณย์. | กุสุมิตลดาเวลลิตา | (กุสุมิตะละดาเวนลิตา) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๖ คณะ คือ ม คณะ ต คณะ น คณะ ย คณะ ย คณะ ย คณะ บาทละ ๑๘ คำ หรือ ๑๘ พยางค์ (ตามแบบว่า โม โต โน โย ยา กุสุมิตลตาเวลฺลิตากฺขุตฺวสีหิ) ตัวอย่างว่า มนตรีมาตย์ผู้ฉลาดมละ ทุจริตธรรม์ พึงผดุงสรร- พสิ่งสวัสดิ์ (ชุมนุมตำรากลอน). | ขัดลาภ | ก. ทำให้ไม่ได้รับสิ่งที่จะพึงได้, ทำให้ไม่มีโชค. | ขุนการ, ขุนกาล | น. เจ้าหน้าที่รับจดคำฟ้อง เช่น หญิงชายทำหนังสือร้องฟ้องนั้น มีชื่อหลายคน พึงให้ขุนการเอามาจนถ้วนคน อนึ่ง ถ้าความนั้นข้องขัดจะพิพากษาบังคับบัญชายากไซร้ให้ขุนกาลชุมนุมจตุสดมให้ช่วยว่า (สามดวง). | แขกไม่ได้รับเชิญ | น. คนหรือสัตว์ที่ไม่พึงปรารถนาซึ่งเข้ามาทำให้เกิดความเสียหาย หรือเดือดร้อนรำคาญ มักหมายถึง ขโมยหรือสัตว์บางชนิด เช่น ก่อนนอนอย่าลืมปิดประตูหน้าต่าง มิฉะนั้นแขกไม่ได้รับเชิญจะขนของไปหมด กางเต็นท์นอนในป่าระวังแขกไม่ได้รับเชิญจะเข้ามา. | ค่าเสียหาย | น. มูลค่าแห่งความเสียหายที่ผู้เสียหายพึงได้รับการชดใช้. | เครดิต | ตัวเลขแสดงสิทธิที่นิสิตนักศึกษาและนักเรียนจะพึงได้รับเมื่อได้ศึกษาตรงตามกำหนดเวลาและสอบผ่านวิชานั้น ๆ, หน่วยกิต ก็เรียก. | งาม | ว. ลักษณะที่เห็นแล้วชวนให้ชื่นชมหรือพึงใจ เช่น มารยาทงาม รูปงาม | จริยวัตร, จริยาวัตร | น. หน้าที่ที่พึงประพฤติปฏิบัติ | ตระดก | (ตฺระ-) ก. หวาด, ผวา, สะดุ้ง, ตกใจ, เขียนเป็น ตรดก ก็มี เช่น อันว่าพระพิศวกรรม ก็ยงงไปศาจผีเสื้อเนื้อแลนก อันมีเสียงตรดกพึงภีต บมิให้กีดให้ก้อง บมิให้ร้องระงี่มี่รงม (ม. คำหลวง วนประเวศน์). | แถกขวัญ | ก. ทำลายขวัญ, ทำให้กลัว, เช่น นกเอ๋ยนกแสก จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ (กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า พระยาอุปกิตศิลปสาร). | ทวง | ก. เรียกเอาสิ่งที่เป็นของตนหรือที่ติดค้างกลับคืน เช่น ทวงหนี้ ทวงเงิน ทวงค่าเช่า, เรียกร้องเอาสิ่งที่จะพึงมีพึงได้ เช่น ทวงสิทธิ ทวงบุญทวงคุณ. | ทำวัตร | ก. กระทำกิจที่พึงกระทำตามหน้าที่หรือธรรมเนียมเช่นไหว้พระสวดมนต์เช้าคํ่าของพุทธบริษัท, ทำวัตรพระ ก็ว่า | ธนาคารแห่งประเทศไทย | น. ธนาคารกลางที่มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินภารกิจอันพึงเป็นงานของธนาคารกลาง เพื่อดำรงไว้ซึ่งเสถียรภาพทางการเงินและเสถียรภาพของระบบสถาบันการเงินและระบบการชำระเงิน, (ปาก) ธนาคารชาติ หรือ แบงก์ชาติ. | ธุร-, ธุระ | (ทุระ-) น. หน้าที่การงานที่พึงกระทำ, กิจในพระศาสนา มี ๒ อย่าง คือ การเล่าเรียน เรียกว่า คันถธุระ และ การปฏิบัติทางใจ เรียกว่า วิปัสสนาธุระ | นารีผล | น. ผลของต้นมักกะลี ต้นไม้ในวรรณคดี ลักษณะคล้ายหญิงวัยรุ่น เช่น ถัดนั้นไปมีป่าไม้นารีผล แลว่าลูกไม้นั้นงามนัก ดั่งสาวอันพึงใหญ่ได้ ๑๖ ปีแล ฝูงผู้ชายได้เห็นก็มีใจรักนัก ครั้นว่าหล่นตกลง ฝูงนกกลุ้มกินดั่งหมีกินผึ้ง (ไตรภูมิ). | นิติบุคคล | น. บุคคลซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมายหรือตามกฎหมายแยกต่างหากจากบุคคลธรรมดา โดยมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา เว้นแต่สิทธิและหน้าที่ซึ่งโดยสภาพจะพึงมีพึงเป็นได้เฉพาะแก่บุคคลธรรมดาเท่านั้น เช่น กระทรวง ทบวง กรม บริษัทจำกัด สมาคม มูลนิธิ. | บทวาร | (บดทะวาน) น. ชั่วก้าวเท้า, ระยะก้าวเท้า, เช่น ทางเล็ก ควรบทวารผู้หนึ่งจะพึงไป (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | บรรโลม | (บัน-) ก. ประโลม, ทำให้พึงใจ. | บัพพาชนียกรรม | (บับพาชะนียะกำ) น. กรรมที่สงฆ์ทำแก่ภิกษุที่จะพึงขับไล่, พิธีขับไล่บุคคลที่พึงขับไล่. | บำหยัด | ก. ประหยัด เช่น บำหยัดหยาบพึงเยงยำ (กฤษณา). | บุพพัณชาติ | (-พันนะชาด) น. พืชที่จะพึงกินก่อน ได้แก่ข้าวทุกชนิด. | เบญจกามคุณ | น. เครื่องผูกอันบุคคลพึงใคร่ ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่ถูกต้องด้วยกาย. | ประจบ ๑ | ก. บรรจบ, เพิ่มให้ครบจำนวน, เช่น มีสลึงพึงประจบให้ครบบาท | ประโลม | ก. ทำให้เป็นที่เบิกบานพึงอกพึงใจ. | ปรารมภ์ | วิตก, รำพึง, ครุ่นคิด. | ปะเหลาะ, ปะเหลาะปะแหละ | (-แหฺละ) ก. พูดจาหว่านล้อมเอาอกเอาใจ เช่น ผู้ใหญ่ปะเหลาะเด็ก, พูดหรือทำสนิทชิดชอบให้เขาพึงใจเพื่อหวังประโยชน์ตน. | ผัสสาหาร | น. อาหารคือผัสสะ หมายเอาการประจวบกันแห่งอายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ เป็นปัจจัยแห่งเจตสิกอันจะพึงเกิดโดยวิถีมีเวทนาเป็นต้น เป็นประการหนึ่งในอาหารทั้ง ๔ (อีก ๓ อย่าง คือ กวลิงการาหาร อาหารคือคำข้าว มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือมโนสัญเจตนา และวิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ). | ผู้รับประโยชน์ | น. บุคคลผู้จะพึงได้รับค่าสินไหมทดแทน หรือรับจำนวนเงินใช้ให้ตามสัญญาประกันภัย. | พันลึก | ว. พิลึก, พึงกลัว, แปลก, ลึกซึ้ง, ใช้เข้าคู่กับคำ พันลือ เป็น พันลึกพันลือ ก็มี. | เพไนย | น. เวไนย, ผู้พึงดัดได้สอนได้. | มนุษยธรรม | น. ธรรมของคน, ธรรมที่มนุษย์พึงมีต่อกัน มีเมตตากรุณาเป็นต้น. | มารคอหอย | (มาน-) น. ผู้ที่ขัดผลประโยชน์ที่ผู้อื่นจะพึงมีพึงได้. | รมณีย-, รมณีย์ | (รมมะนียะ-, รมมะนี) ว. น่าบันเทิงใจ, น่าสนุก, พึงใจ, งาม. | รมเยศ | (รมมะเยด) ว. น่าบันเทิงใจ, น่าสนุก, พึงใจ, งาม. | รอด ๒ | ก. พ้นไป, ปลอดจาก, เช่น รอดอันตราย, บางทีหมายความว่า ผ่านพ้นภัยอันตรายหรือสิ่งที่ไม่พึงปรารถนามาได้ เช่น เครื่องบินตกรอดมาได้ รอดจากถูกครูตี. | ราชกรณียกิจ | น. หน้าที่ที่พระราชาพึงกระทำ ใช้ว่า พระราชกรณียกิจ. | ลัภย์ | ว. พึงได้, ควรได้. | เลหะ | ของที่พึงเลีย. |
| | สักการะ | บูชาด้วยสิ่งหรือเครื่องอันพึงบูชา เช่น ดอกไม้ ธูป เทียน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ บูชา เป็น สักการบูชา. (ป.; ส. สตฺการ) [ศัพท์พระราชพิธี] | Utility | สิ่งที่เป็นประโยชน์ มีความเหมาะสมพึงพอใจแบบใช้ได้จริง หรือเพื่อวัตถุประสงค์ทางอุตสาหกรรม [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Adverse drug reaction reporting systems | ระบบการรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา [TU Subject Heading] | Adverse effects | ผลไม่พึงประสงค์ [TU Subject Heading] | Adverse Effect | ผลกระทบอันไม่พึงประสงค์, Example: ผลกระทบที่ผิดปกติ ไม่เป็นที่ต้องการ หรืออันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ซึ่งชี้ให้เห็นโดยผลการศึกษาบางประการ เช่น ความตาย (mortality) การเปลี่ยนแปลงการกินอาหาร การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักของร่างกายและอวัยวะ การเปลี่ยนแปลงระดับเอนไซม์ หรือการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพที่มองเห็นได้ (pathological change) การเปลี่ยนแปลงจากสภาพปกติที่มีนัยสำคัญทางสถิติของอวัยวะที่ได้รับสารเคมี ไม่จำเป็นต้องเป็นผลกระทบอันพึงประสงค์ (biologically adverse effect) เสมอไป ต้องคำนึงถึงขนาดของอวัยวะที่เปี่ยนแปลงไปจากระดับปกติ ความคงที่ของผลกระทบที่เปลี่ยนไป และความสัมพันธ์ของผลกระทบทางสรีระ ชีวเคมี และความเป็นอยู่ทั้งหมดของสัตว์ทดลอง [สิ่งแวดล้อม] | Approbation | การที่รัฐหนึ่งใดมีทัศนคติในทางพึงพอใจและเห็น พ้องด้วยกับบทบัญญัติในสนธิสัญญาหนึ่งใด ซึ่งรัฐนั้นมิได้เป็นภาคีคู่สัญญานั้นแต่อย่างใด [การทูต] | Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Mission | การเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต] | Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] | Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] | Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] | Great Powers | ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] | International Trade Organization | องค์การการค้าระหว่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินงานเกี่ยวกับความตกลงทั้วไปว่าด้วยภาษี ศุลกากรและการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการขยายการค้าของโลกให้กว้างขวางขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยให้มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น ขจัดการกีดกันการค้า หรือพยายามลดให้เหลือน้อยที่สุด เช่น การตั้งข้อจำกัดโควต้า เป็นต้น ตัดทอนภาษีศุลกากรทั่วโลกให้ต่ำลง ดูแลตลาดวัตถุดิบให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และพยายามควบคุมด้านการค้าของการร่วมมือกันทางธุรกิจ (Cartels) จุดมุ่งหมายสำคัญที่สุดคือ ป้องกันมิให้กลับไปสู่การดำเนินการทางการค้าที่ตัดราคากันอย่างหั่นแหลก เหมือนเมื่อระยะปี ค.ศ. 1930 ถึง 1939 นั่นเองอย่างไรก็ดี ตั้งแต่มีการปฏิบัติใช้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้ามาจนบัด นี้ ก็ได้รับผลสำเร็จตามแนววัตถุประสงค์อย่างมากมาย เช่น มีประเทศสมาชิกหลายสิบประเทศลดภาษีศุลกากรและรักษาระดับภาษีอย่างมีเสรีภาพ แต่ละปี ประเทศสมาชิกจะได้ยินได้ฟังเสียงร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการค้า ละเมิดกฎเกณฑ์ของความตกลงทั่วไป แล้วเสียงร้องเรียนดังกล่าวก็ได้รับการแก้ไขจนเป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย เป็นต้น นอกจากนี้ ได้มีการปรับปรุงและดัดแปลงข้อกำหนดของความตกลงทั่วไป ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา [การทูต] | Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] | Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] | Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] | Reciprocity of Rank of Envoys | หมายถึง การถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันในเรื่องตำแหน่งของทูต กล่าวคือ ประเทศทั้งหลายถือธรรมเนียมปฏิบัติในการแลกเปลี่ยนทูตที่มีตำแหน่งเท่าเทียม กัน ดังนั้น หากประเทศหนึ่งส่งทูตไปประจำอีกประเทศหนึ่ง ในตำแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประเทศนั้นก็คาดว่าประเทศผู้รับย่อมจะให้ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยส่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มของตนไปประจำที่ประเทศผู้ส่งด้วย พึงสังเกตว่าการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติกันเช่นนี้มิใช่เป็นระเบียบข้อบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ หากเป็นการแสดงไมตรีจิตมิตรภาพต่อกันระหว่างประเทศทั้งหลายมากกว่า [การทูต] | refugee | ผู้ลี้ภัย หมายถึง บุคคลที่พึงได้รับสิทธิตามอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ปี พ.ศ. 2494 อาทิ สิทธิในการได้รับความคุ้มครอง การได้รับการพิจารณาให้ไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สาม การทำงานและการได้รับการศึกษา เป็นต้น [การทูต] | United Nations Emergency Force | กองกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ขอรัองให้เลขาธิการสหประชาชาติเสนอแผนการภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติของสหประชาชาติ โดยได้รับอนุมัติจากชาติที่เกี่ยวข้อง ให้ทำหน้าที่ยุติและควบคุมดูแลการหยุดรบในประเทศอียิปต์ วันรุ่งขึ้น คือ วันที่ 5 พฤศจิกายน สมัชชาก็ได้ลงมติให้จัดตั้งกองบัญชาการแห่งสหประชาชาติขึ้นปรากฏว่า ผู้แทนของสหภาพโซเวียตได้กล่าวอ้างว่า การจัดตั้งกองกำลังดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ โดยยกบทที่ 7 ของกฎบัตรขึ้นมาอ้างว่า คณะมนตรีความมั่นคงองค์กรเดียวเท่านั้น ที่กฎบัตรให้อำนาจจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติได้ ด้วยเหตุนี้ สหภาพโซเวียตและอีกบางประเทศจึงแถลงว่า จะไม่ยอมมีส่วนร่วมในการออกเงินค่าใช้จ่ายสำหรับกองกำลังดังกล่าวโดยเด็ดขาด พึงสังเกตว่า การที่สหภาพโซเวียตอ้างยืนยันว่า คณะมนตรีความมั่นคงเท่านั้นที่กฎบัตรสหประชาชาติให้อำนาจตั้งกองกำลังสห ประชาชาติได้ ก็เพราะหากยินยอมตามข้ออ้างของสหภาพโซเวียตดังกล่าว จะไม่มีทางจัดตั้งกองกำลังขึ้นได้เลย เพราะสหภาพโซเวียตจะใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคงอย่างไม่ต้องสงสัย [การทูต] | United Nations University | มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1973 ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถาบันอิสระที่บริหารปกครองตนเองภายในโครงร่างของสหประชาชาติ เรียกได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศในเชิงวิชาการ ในอันที่จะมีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการแก้ปัญหาเร่งด่วนต่าง ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยนี้มีลักษณะไม่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่ว ๆ ไป ทั้งในด้านโครางสร้างและแบบอย่างการดำเนินงาน กล่าวคือ ไม่มีนิสิตนักศึกษาของตนเอง ไม่มีคณะในมหาวิทยาลัย และไม่มีบริเวณมหาวิทยาลัย (campus) ดำเนินงานภายในเครือข่ายของสถาบันวิจัยและวิชาการต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งศูนย์ฝึกและศูนย์วิจัยของตนเอง ทั้งยังรวมไปถึงผู้คงแก่เรียนเป็นรายบุคคลด้วย ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ของโลกเป็นจุดสำคัญเรื่องที่มหาวิทยาลัยสหประชาชาติกำลังกังวลและสนใจอยู่ใน ขณะนี้ คือ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมของมนุษย์ทั่วโลก รวมทั้งความรับผิดชอบทั้งหลายที่มนุษย์ทั่วโลกจะพึงมี เรื่องทิศทางใหม่ ๆ ในภาวะเศรษฐกิจที่กลังปรากฏอยู่ในโลก รวมทั้งเรื่องความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการทางเทคโนโลยีเรื่องพลัง ที่ทำให้เกิดความผันแปรระหว่างพลเมืองของโลก ตลอดจนเรื่องสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ยังมุ่งหมายที่จะช่วยเพิ่มพูนศักยภาพในการวิจัย และการฝึกในประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายด้วย และภายในมหาวิทยาลัยเองก็กำลังสนใจด้านวิจัยและการฝึกฝนในบางเรื่องโดยเฉพาะ [การทูต] | Visa | การตรวจลงตรา กล่าวคือ เป็นเครื่องหมายแสดงการรับรองที่ประทับอยู่ในหนังสือเดินทางว่า หนังสือเดินทางฉบับนั้นได้รับการตรวจตราแล้ว ในกรณีที่ผู้ถือหนังสือดังกล่าวยื่นขอเดินทางเข้าไปในประเทศที่ให้การตรวจลง ตรา และทุกอย่างถูกต้องจึงให้ผู้นั้นเดินทางไปยังประเทศดังกล่าวได้อนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ของวรรค D ว่า หน้าที่ทางกงสุลข้อหนึ่งคือ ?ออกหนังสือเดินทางและเอกสารเดินทางให้แก่คนชาติของรัฐผู้ส่ง และตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่ง?พึง เข้าใจว่า แม้หนังสือเดินทางจะได้รับการตรวจลงตราแล้วก็ตาม ก็มิได้เป็นการประกันร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ผู้ถือหนังสือนั้นจะได้รับการยินยอมให้เดินทางเข้าไปในรัฐที่ให้การตรวจลง ตรา คือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองในรัฐนั้นอาจห้ามมิให้เข้าประเทศได้ ทั้ง ๆ ที่ได้รับการตรวจตราแล้วก็ตาม แต่การกระทำเช่นนี้เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมากการตรวจลงตราหรือวีซ่านั้น แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ1) การตรวจลงตราทางการทูต ซึ่งออกให้แก่บุคคลในคณะทูตและกงสุล รวมทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของต่างประเทศ2) การตรวจลงตราทางราชการ ออกให้แก่ข้าราชการที่ไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) ซึ่งจะเดินทางไปธุระราชการ และ3) การตรวจลงตราธรรมดา ออกให้แก่บุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) และ 2) มีหลายประเทศได้ให้การตรวจลงตราชั่วคราว การตรวจลงตราสำหรับลูกเรือเดินทะเล การตรวจลงตราสำหรับพ่อค้าต่างประเทศ การตรวจลงตราสำหรับนักศึกษา และการตรวจลงตราสำหรับผู้อพยพลี้ภัย เป็นต้น [การทูต] | Adverse Effects | ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์, ผลข้างเคียง, ผลที่ไม่ต้องการ, ฤทธิ์ข้างเคียง [การแพทย์] | Adverse Effects, Psychological | อาการไม่พึงประสงค์ทางจิตใจ [การแพทย์] | Affection | อารมณ์รักและพึงใจ, ความรัก, ทัศนคติด้านความรู้สึก [การแพทย์] | Artefact | เงาแปลกปลอม, เงาอื่นที่ไม่ต้องการ, ผลที่ไม่พึงประสงค์ [การแพทย์] | Autoerotic Symptom | หาความพึงพอใจจากส่วนของร่างกายตนเอง [การแพทย์] | Effect, Unwanted | ผลไม่พึงประสงค์ [การแพทย์] | Effect, Unwanted | อาการที่ไม่พึงประสงค์, ผลที่ไม่พึงประสงค์ [การแพทย์] | Ego-Dystonic | สิ่งที่ตนไม่พึงประสงค์ [การแพทย์] | คุณภาพชีวิต | คุณภาพชีวิต, ความรู้สึกพึงพอใจในเรื่องต่าง ๆ อันเป็นความต้องการของตัวบุคคล ที่มีการดำรงชีพของมนุษย์ในระดับที่เหมาะสมตามความจำเป็นพื้นฐานในสังคม หนึ่ง ๆ ในช่วงเวลาหนึ่ง โดยจะมีเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐานที่ต้องบรรลุแต่ละด้าน หรือกำหนดเป็นตัวชี้วัด จึงเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงระด [สุขภาพจิต] | malware | มัลแวร์, โปรแกรมที่ไม่พึงประสงค์แฝงมากับข้อมูลที่อยู่บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทำลาย หรือรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | spam | สแปม, การใช้ระบบส่งอีเมลในการส่งข้อความที่ไม่พึงประสงค์ ให้กับผู้ใช้เป็นจำนวนมาก เช่น การส่งข้อความโฆษณาขายสินค้า บริการ ท่องเที่ยว ชักชวนการประกอบอาชีพที่มีรายได้สูง ผ่านระบบอีเมล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Gender Oreintation | ความพึงพอใจทางเพศต่อบุคคลอื่น [การแพทย์] | Goals, Two-Positive | เป้าประสงค์ที่มีให้เลือก 2 อย่างที่น่าพึงพอใจ [การแพทย์] | Gratification, Immediate | ความพึงพอใจอย่างเฉียบพลัน [การแพทย์] | Gratification, Psychic | การได้รับความพึงพอใจ [การแพทย์] | Heterosexuals | พึงพอใจเพศหญิง [การแพทย์] | Imcompatibilities, Nutrient-Nutrient | การไม่พึงผสมกันของสารอาหารต่อสารอาหาร [การแพทย์] | Incompatibility | ไม่เข้ากัน, เกิดปฏิกิริยาต่อกัน, ถ่ายทอดไม่ได้, ความไม่พึงผสม, ความเข้ากันไม่ได้, อสมรรถสัมพันธ์, ความไม่พึงผสมของตัวยา, ภาวะเข้ากันไม่ได้, ความไม่เข้ากัน, เข้ากันไม่ได้ [การแพทย์] | Incompatibility, Chemical | ความไม่พึงผสมของตัวยาในแง่เคมี [การแพทย์] | Incompatibility, Physical | ความไม่พึงผสมของตัวยาในแง่กายภาพ [การแพทย์] | Incompatibility, Therapeutic | ความไม่พึงผสมของตัวยาในแง่ของการรักษาโรค [การแพทย์] | Maladaptive Effect | อาการที่ไม่พึงประสงค์ [การแพทย์] |
| ข้อพึงปฏิบัติ | [khø pheung patibat] (n, exp) EN: code of conduct | ความไม่พึงพอใจ | [khwām mai pheungphøjai] (n) EN: dissatisfaction FR: mécontentement [ m ] | ความพึงพอใจ | [khwām pheungphøjai] (n) EN: satisfaction [ f ] FR: satisfaction [ f ] | ความพึงพอใจของผู้บริโภค | [khwām pheungphøjai khøng phūbøriphōk] (n, exp) EN: consumer satisfaction | ความพึงพอใจในการทำงาน | [khwām pheungphøjai nai kān thamngān] (n, exp) EN: job satisfaction | น่าพึงใจ | [nāpheungjai] (adj) EN: pleasant | พึง | [pheung] (v) EN: should ; ought to FR: falloir ; devoir ; convenir | พึงใจ | [pheungjai] (v) EN: please ; fascinate with ; like ; admire | พึงพอใจ | [pheungphøjai] (v) EN: please |
| noise | จุดสีรบกวน, จุดสีไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นในภาพ | geez | (colloq) |AE| โอ พระเจ้า (ใช้แสดงความประหลาดใจเล็กน้อย ความพอใจ ความไม่พึงพอใจเล็กน้อย เป็นคำย่อของ Jesus) เช่น Geez, that's cute - the output of a true intellectual. You are so smart. | accrual basis | (n) (ในแง่การบัญชี)เกณฑ์คงค้าง, เกณฑ์สิทธิ์, เกณฑ์พึงรับพึงจ่าย, เกณฑ์ในการวัดผลการดำเนินงานสำหรับแต่ละงวดบัญชี ที่ใช้ในการคำนวณหาผลการดำเนินงานของธุรกิจ |
| agreeable | (adj) เป็นที่พึงพอใจ, See also: น่าพอใจ, Syn. pleasing, pleasant | autoerotism | (n) การทำให้เกิดความพึงพอใจทางเพศด้วยตนเอง, See also: การช่วยตัวเอง | backslap | (vi) ส่งเสียงพึงพอใจมาก, See also: แสดงความพอใจอย่างยิ่ง, Syn. be jovial | backslap | (vt) ส่งเสียงพึงพอใจมาก, See also: แสดงความพอใจอย่างยิ่ง | backslapping | (adj) อย่างความพึงพอใจมาก, Syn. hearty | bask | (vi) ได้รับความพึงพอใจ, Syn. delight | better | (adv) เป็นที่ชอบหรือพึงพอใจมากกว่า | be in bad odour with | (idm) ไม่เป็นที่พึงพอใจของ, See also: ไม่ถูกใจ | be in good odour with | (idm) ไม่เป็นที่พึงพอใจของ, See also: ไม่ถูกใจ | be satisfy with | (phrv) พึงพอใจอย่างยิ่งกับ | complacence | (n) ความพึงพอใจ, Syn. satisfaction, complacency | complacency | (n) ความพึงพอใจ, Syn. satisfaction, complacence | complacent | (adj) ที่พึงพอใจ, Syn. satisfied, contented | content | (n) ความพึงพอใจ, Syn. satisfaction | enough is as good as a feast | (idm) ความพึงพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ | favour with | (phrv) ทำให้พึงพอใจกับ, See also: ทำให้ยินดีกับ, Syn. oblige with | feed on | (phrv) ได้รับ (สิ่งพึงพอใจ) จาก | feed upon | (phrv) ได้รับ (สิ่งพึงพอใจ) จาก | feed with | (phrv) ป้อนให้ด้วย, See also: ทำให้พึงพอใจด้วย | delectable | (adj) มีเสน่ห์, See also: น่าดึงดูด, น่าพึงพอใจ, Syn. delightful, exquisite | delectation | (n) ความพึงพอใจ, Syn. qusto | find | (vt) รู้สึก (ความพึงพอใจ), See also: สัมผัสรู้, สำนึก, Syn. feel, perceive | fine | (adv) น่าพึงพอใจ, Syn. satisfactorily | get over | (phrv) สิ้นสุด, See also: ยุติ สิ่งที่ไม่น่าพึงพอใจ, ผ่านพ้น, Syn. be over, get through | gloat | (vi) มองด้วยความพึงพอใจ, See also: มองอย่างสุขใจ, Syn. rejoice | gratification | (n) ความพึงพอใจ, See also: ความอิ่มใจ, ความสมหวัง | gust | (n) ความสนุกสนาน, See also: ความพึงพอใจ, ความพึงพอใจ, Syn. enjoyment, happiness | had as soon do | (idm) พึงพอใจที่จะทำบางสิ่ง, See also: ชอบทำบางสิ่งมากกว่าสิ่งอื่น | less than pleased | (idm) ไม่พึงพอใจ | leave well alone | (idm) พึงพอใจกับสิ่งที่เป็นอยู่(เพราะกลัวว่าจะเลวร้ายลงไปอีก), Syn. leave well enough alone, let alone | leave well enough alone | (idm) พึงพอใจกับสิ่งที่เป็นอยู่(เพราะกลัวว่าจะเลวร้ายลงไปอีก) | linger on | (phrv) คิดเกี่ยวกับ (มักเป็นเรื่องที่พึงพอใจ), See also: คิดถึง, Syn. think about | muse | (vi) คิดรำพึง, See also: คิดคำนึง, เหม่อลอย, Syn. ruminate, think, dream, meditate | nestle | (vi) อยู่ในที่กำบัง, See also: ตั้งพักพิงอยู่, อยู่ใต้ร่มเงา, ตั้งรกรากอยู่ตามที่พึงพอใจ, ตั้งถิ่นฐานตามธรรมชาติอยู่ใน | noisome | (adj) น่ารังเกียจ, See also: น่าขยะแขยง, ไม่พึงปรารถนา, Syn. loathsome, nauseating, nauseous, Ant. wholesome | offensive | (adj) น่ารังเกียจ, See also: ที่ไม่พึงปรารถนา, น่าสะอิดสะเอียน, Syn. disgusting, unpleasant, Ant. pleasant, pleasing | please | (vi) ชอบ, See also: พอใจ, พึงปรารถนา, ต้องการ, Syn. desire, like, wish | preference | (n) ความพึงใจ, See also: สิทธิพิเศษ, Syn. choice, favorite | pass in | (phrv) น่าพึงพอใจ, See also: น่าเอ็นดู, น่าสนใจ | rapture | (n) ความปิติยินดีอย่างยิ่ง, See also: ความดีใจล้นเหลือ, ความพึงพอใจอย่างมาก, Syn. happiness, pleasure, satisfaction | rogues' gallery | (n) กลุ่มคนหรือของที่ไม่พึงประสงค์ | copasetic | (sl) เห็นพ้องด้วย, See also: น่าพึงพอใจ | fist-fuck | (sl) สอดมือหรือข้อมือเข้าไปในช่องคลอดเพื่อความพึงพอใจทางเพศ | fist-fuck | (sl) การสอดมือหรือข้อมือเข้าไปในช่องคลอดเพื่อความพึงพอใจทางเพศ, Syn. fisting | fisting | (sl) การสอดมือหรือข้อมือเข้าไปในช่องคลอดเพื่อความพึงพอใจทางเพศ, Syn. fist-fuck | hanging | (sl) เลวร้าย, See also: ไม่น่าพึงพอใจ, แย่, Syn. horrible | tidy | (sl) น่าพึงพอใจ | yucky | (sl) น่ารังเกียจ, See also: ไม่น่าพึงใจอย่างมาก | satisfaction | (n) ความพอใจ, See also: ความถูกใจ, การทำให้พึงพอใจ, Syn. retaliation, counterattack | satisfying | (n) การทำให้พึงพอใจ |
| broody | (บรู'ดี) adj. มีอารมณ์, ครุ่นคิด, รำพึง, See also: broodiness n. ดูbroody, Syn. moody | complacency | (คัมเพล'เซินซี) n. ความอิ่มอกอิ่มใจ, ความพึงพอใจ., Syn. complacence | complacent | (คัมเพล'เซินทฺ) adj. อิ่มอกอิ่มใจ, พึงพอใจ., Syn. satisfied, contented | complaisance | (คัมเพล'เซินซฺ) n. การเอาอกเอาใจ, ความพึงพอใจ, น้ำใสใจจริง | due | (ดิว) adj. เหมาะสม, สมควร, พอเพียง, พอควร, ครบกำหนด, ถึงกำหนด, ถูกต้อง, ถูกทำนองคลองธรรม, ตรง, หลีกเลี่ยงไม่ได้. n. สิทธิที่ควรได้รับ, หนี้, เงินที่พึงชำระ, ค่าธรรมเนียม, ความยุติธรรม. -adv. โดยตรง, แน่นอน. -Phr. (due to เนื่องจาก, เนื่องด้วย, เพราะ) ., See also: d | humor | (ฮิว'เมอะ) n. ความตลกขบขัน, อารมณ์ขัน -Phr. (out of humo (u) r ไม่พอใจ, เคือง, ฉุน) . vt. ทำให้พึงพอใจ, ยอมตาม, ปรับตัวเข้ากับ., See also: humorful, humourful adj., Syn. pleasantry, wit | humour | (ฮิว'เมอะ) n. ความตลกขบขัน, อารมณ์ขัน -Phr. (out of humo (u) r ไม่พอใจ, เคือง, ฉุน) . vt. ทำให้พึงพอใจ, ยอมตาม, ปรับตัวเข้ากับ., See also: humorful, humourful adj., Syn. pleasantry, wit | kibitz | (คิบ'บิทซ) vi. ยุ่งเรื่องคนอื่น, เสือก, (คนดู) ชอบให้คำแนะนำที่ไม่พึงปรารถนาแก่ผู้เล่น | muse | (มิวซ) v. รำพึง, ครุ่นคิด, ใคร่ครวญ, จ้องอย่างใคร่ครวญ, See also: muser n., Syn. ponder | musing | (มิว'ซิง) adj., n. (การ) ครุ่นคิด, ใคร่ครวญ, รำพึง, Syn. thoughtful | pensive | (เพน'ซิฟว) adj. ครุ่นคิด, รำพึง, เป็นทุกข์, See also: pensiveness n., Syn. reflective, wistful, Ant. heedless | receivable | (รีซี'วะเบิล) adj. รับได้, พึงรับได้, ซึ่งคอยรับใบเสร็จ, พึงเก็บได้, See also: receviables n., pl. หลักทรัพย์ที่รับได้ receivability n. | ruminant | (รู'มะเนินทฺ) n. สัตว์เคี้ยวเอื้อง (เช่น วัว, ควาย, กวาง, อูฐ) adj. เคี้ยวเอื้อง, รำพึง, ครุ่นคิด, ตรึกตรอง, | ruminate | (รู'มะเนท) vi., vt. เคี้ยวเอื้อง, รำพึง, ครุ่นคิด, ตรึกตรอง, ทบทวน, See also: rumination n. ruminative adj. ruminatively adv. ruminator n., Syn. chew the cud, muse, ponder | self-complacent | (เซลฟฺ'คัมเพล'เซินทฺ) adj. อิ่มเอิบใจ, พึงพอใจตัวเอง., See also: self-complacence n. self-complacency n., Syn. self-satisfied | shall | (แชล, ชึล) auxv. กริยาช่วยที่มักใช้กับบุรุษที่1เพื่อแสดงถึงอนาคต และใช้กับบุรุษที่ 2 เฉพาะในประโยคคำถาม, จะ, พึงจะ, จักต้อง, จะต้อง, น่าจะ, ควรจะ, อยากจะ | soliloquize | (ซะลิล'ละไควซ) vt., vi. พูดกับตัวเอง, พูดคนเดียว, รำพึง., See also: soliloquist, soliloquizer n. | soliloquy | (ซะลิล'ละควี) n. การพูดกับตัวเอง, การพูดคนเดียว, การรำพึง | taxable | (แทค'ซะเบิล) adj. ต้องเสียภาษี, พึงชำระภาษี. n. บุคคลหรือทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี. | think | (ธิงคฺ) vi. คิด, ใช้ความคิด, ครุ่นคิด, นึก, ระลึก, รำลึก, รำพึง, ไตร่ตรอง, อยากจะ, เข้าใจว่า, รู้สึกว่า, คิดว่า, ถือว่า. vt. คิดว่า, รู้สึกว่า, ถือว่า, เข้าใจว่า, คาดคิด, See also: thinkable adj. -Phr. think fit คิดว่าเหมาะสม, -Phr. think up วางแผน คิดขึ้น | thought | (ธอท) n. ความคิด, การไตร่ตรอง, การรำพึง, ปัญญา, การพิจารณา, ความตั้งใจ vi. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ think, Syn. idea, notion | undesirable | (อันดิไซ'ระเบิล) adj., n. (ผู้) ไม่เป็นที่พึงปรารถนา, See also: undesirableness n. undesirably adv., Syn. objectionable | well-earned | (เวล'เอิร์นดฺ) adj. ได้มาโดยชอบ, ได้มาโดยการทำลาย, พึงจะได้ | will | (วิล) auxiliary v. ใช้แสดงอนาคตกับบุรุษที่ 1 และ 3 (ช่อง 2เป็น would) , จะ, อาจจะ, ควรจะ, ย่อมจะ vt. vi., n. (ความ) ประสงค์, ปรารถนา, พึงจะ, ชอบ, พอใจ, อยากจะ, พินัยกรรม, ความกระตือรือร้น vt. ตัดสินใจ, ทำพินัยกรรมยกให้, ใช้อำนาจจิตบังคับ vi. ตั้งใจ, ตัดสินใจ |
| brood | (vi) ครุ่นคิด, รำพึง, คิด | complacence | (n) ความพึงพอใจ, ความอิ่มเอมใจ, ความใจเย็น | complacency | (n) ความพึงพอใจ, ความอิ่มเอมใจ, ความใจเย็น | complacent | (adj) พอใจ, อิ่มเอมใจ, พึงพอใจ | complaisance | (n) ความอารีอารอบ, ความอ่อนโยน, ความพึงพอใจ | content | (n) ความจุ, ความพึงพอใจ, เนื้อเรื่อง, เนื้อหา, สาระ | contented | (adj) เป็นที่พึงพอใจ, เป็นที่สำราญใจ, เป็นที่จุใจ, อิ่มอกอิ่มใจ | contentment | (n) ความพึงพอใจ, ความสำราญใจ, ความจุใจ, ความสุขเกษม | desirable | (adj) น่ายินดี, น่าพอใจ, เป็นที่ถูกใจ, เป็นที่พึงปรารถนา | desirous | (adj) เป็นที่พึงปรารถนา, เป็นที่ต้องการ | meditate | (vi, vt) ตรึกตรอง, นึก, คำนึง, รำพึง, คิด, เข้าฌาน | meditation | (n) ความตรึกตรอง, การรำพึง, การคิด, การเข้าฌาน | meditative | (adj) ชอบตรึกตรอง, ชอบรำพึง, ชอบคิด, ซึ่งเข้าฌาน | moon | (n) ดวงจันทร์, พระจันทร์, เดือน, การนั่งซึม, การรำพึง | muse | (vi) ครุ่นคิด, ใคร่ครวญ, คิดทบทวน, รำพึง | reflection | (n) เงา, ภาพสะท้อน, การไตร่ตรอง, การรำพึง | reverie | (n) การรำพึง, ความเพ้อฝัน, จินตนาการ, การฝันกลางวัน | revery | (n) การรำพึง, ความเพ้อฝัน, จินตนาการ, การฝันกลางวัน | rumination | (n) การครุ่นคิด, การตรึกตรอง, การรำพึง, การเคี้ยวเอื้อง | soliloquize | (vi) รำพึง | soliloquy | (n) การพูดคนเดียว, การรำพึง | think | (vi) คิด, นึก, ไตร่ตรอง, รำพึง | thought | (n) ความคิด, การนึก, การไตร่ตรอง, การรำพึง, ปัญญา | undesirable | (adj) ไม่พึงปรารถนา, เป็นที่น่ารังเกียจ | unwelcome | (adj) ไม่พึงปรารถนา, ไม่พอใจ, ไม่ต้อนรับ | yearn | (vi) อยากได้, รำพึงถึง, ปรารถนา, ต้องการ, ใฝ่ฝัน |
| anticipatory | คาด, คาดล่วงหน้าว่าจะมี, ทำนาย, รำพึงล่วงหน้าถึง, ล่วงหน้า; ชิงไปเสียก่อน, ตัดบท, เร่ง(ความหายนะ), ลงมือทำการก่อน | antispyware | (n) การป้องกันสปายแวร์, การป้องกันโปรแกรมไม่พึงประสงค์ | complacency | (n) การหลงพึงพอใจ (แบบทุเรศ) Note: Longdo และ dictionary อื่นมองข้ามรูปแบบการใช้ในหลายคำ อย่างคำนี้ มีรูปแบบเชิงลบ และเป็นลบมาก. ทั้งคำ complacency และ complacent ไม่ตรงกับภาษาไทยที่เราใช้ทั่วไป จึงยากที่จะตั้งคำได้ตรง. | Hypersensitivity | แพ้ (หรือที่เรียกว่าปฏิกิริยาแพ้หรือแพ้) หมายถึงปฏิกิริยาที่ไม่พึงประสงค์ที่ผลิตโดยระบบภูมิคุ้มกันปกติรวมถึงโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกันอัตโนมัติ ปฏิกิริยาแพ้ต้องมีสถานะก่อนไวต่อความรู้สึก (ภูมิคุ้มกัน) ของโฮสต์ (สัตว์หรือพืชที่เป็นที่อาศัยของปรสิต) | impression | (n) ความพึงพอใจ | under-commit and over-deliver | (phrase) ทำงานให้เหนือความคาดหมาย, ให้คำมั่นไว้น้อยๆ แต่ส่งมอบให้ได้มากกว่าที่คาดหวัง (เป็นวิธีบริหารงานเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า), See also: over deliver, Syn. under promise |
| 不満 | [ふまん, fuman] ความไม่พึงพอใจ |
| zufrieden | (adj) พึงพอใจ (zufrieden mit/über), See also: froh | jammern | (vt) |jammerte, hat gejammert| บ่นครวญคราง, รำพึงรำพัน | meckern | (vi) |meckerte, hat gemeckert| บ่น, บ่นจู้จี้ (ไม่ใช่บ่นรำพึงรำพัน), See also: jammern | ersparen | (vt) |ersparte, hat erspart| ประหยัดเวลาหรือหลีกเลี่ยงเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ Wenn du ihn nicht zurückschreibst, kannst du dir die Aufregung ersparen. ถ้าเธอไม่เขียนตอบเขากลับไป เธอก็สามารถลดการรบกวนหรือไม่ต้องมาหงุดหงิดอีก | gefallen | (vi, vt) |gefällt, gefiel, hat gefallen| ถูกใจ, พึงพอใจ, ชอบ เช่น 1° Es gefällt mir nicht, wenn du noch eine rauchst! = ฉันไม่ชอบนะ ที่คุณจะสูบบุหรี่อีก 2° Wie gefällt Ihnen der Film The Beach? = คุณชอบหนังเรื่อง เดอะ บีช อย่างไร (ถามแบบต้องการให้อธิบายความเห็น ) |
| affaire | (n) n.f. 1)กิจการงาน, ธุระ เช่น être à son affaire = พึงพอใจในงานของตน (สำนวน) 2) บริษัท |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |