ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พิม, -พิม- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ลั่น | มีเสียงดังมาก เช่น ขำดังมาก หรือแปลว่าเวลาที่เราพิมพ์แชทคุยกับคนเพื่อน แต่ดันส่งผิดคนซะงั้น หรือโพสต์ผิดแอคเคานต์ก็ใช้คำว่าลั่นได้เหมือนกัน | เบย | เลย เป็นคำแผลงที่มาจากการใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือพิมพ์ข้อความ เนื่องจากแป้นตัวอักษร ล ลิง และ บ ใบไม้ อยู่ใกล้กัน จึงทำให้เกิดการพิมพ์ผิดได้บ่อยครั้ง จนเป็นที่เข้าใจกันว่าถ้าพิมพ์ว่า เบย จะหมายความถึง เลย และยังแฝงถึงความรู้สึกเล่นๆ สนุกๆ ไม่จริงจัง กรณีที่พบบ่อย เช่นคำว่า จังเลย อาจแผลงได้เป็น จุงเบย เช่น เจ๊บจุงเบย (เจ็บจังเลย), ฮาจุงเบย (ฮา จังเลย) |
|
| จุงเบย | จังเลย เป็นภาษาวัยรุ่น เพี้ยนมาจาก "จังเลย" บ้างว่าเนื่องมาจาก การพิมพ์บนคอมพิวเตอร์ที่ ไม้หันอากาศ อยู่ใกล้กับ สระอุ และ ล ลิง อยู่ใกล้กับ บ ใบไม้ พิมพ์ผิดบ่อยครั้งเลยกลายเป็นที่ใช้กันพอสมควรในบริบทที่เป็นลักษณะเล่นๆ หรือ เด็กๆ หรือ ทีเล่นทีจริง | ต๋อง | [ต๋อง] (n, vi) ไม่กล้าหาญ เพื่อนพิมพ์ ฝี ความดัน | ถถถถถ | (slang, ภาษาอินเทอร์เน็ต) หัวเราะ หรือ 55555 (hahahahaha) เนื่องจากบนคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์ทั่วไป ปุ่มอักษร ถ จะตรงกับเลข 5 ในภาษาอังกฤษ และผู้พิมพ์มักลืมกดปุ่มเปลี่ยนภาษาจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยก่อน ตั้งใจจะพิมพ์ 55555 เลยกลายเป็น ถถถถถ เมื่อมีการพิมพ์ผิดกันบ่อยครั้ง จึงถือกันว่าคำว่า ถถถถถ ก็ใช้แทนความหมายของ 55555 ไป | วงวาร | [วง-วาน] (jargon) สงสาร ที่มาคือ ปกติ ส.เสือ และ ว.แหวน ในแป้นพิมพ์ จะอยู่ติดกัน ทำให้บางครั้งรีบพิมพ์เร็วไปหน่อย นิ้วเลยไปโดน ว.แหวน แทน ส.เสือ แต่ก็ออกมาแล้ว ดูน่ารักดีนะ ก็เลยใช้ไปละกัน “วงวาร” ก็ตรงตัว ความหมายคือ สงสาร นั้นเอง | เมพขิงๆ | (phrase, slang) มาจากการพิมพ์คำว่า เทพจิงๆ ผิด, ซึ่งเพี้ยนมาจาก เทพจริงๆ อีกที ซึ่งแปลว่า เก่งจริงๆ, เหนือชั้นจริงๆ เป็นภาษาตามสมัยนิยม ใช้กันมากในอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บบอร์ด, เกมออนไลน์ โดยคำว่าเทพในที่นี้ใช้ในความหมายว่า เก่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากๆ, เนื่องจากแป้นคีย์บอร์ด ตัว ท กับ ม และ ข กับ จ อยู่ติดกัน |
| พิมล | (adj) stainless, See also: flawless, pure, clear, Syn. ผ่องใส, ผุดผ่อง, ผ่องแผ้ว, Thai Definition: ที่ปราศจากมลทิน, ที่ปราศจากความมัวหมอง | พิมพ์ | (v) print, See also: press, Example: กระทรวงศึกษาธิการเปิดโอกาสให้สำนักพิมพ์สามารถพิมพ์หนังสือเรียนได้โดยเสรี, Thai Definition: ใช้เครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้นให้ติดบนวัตถุ, ทำให้เป็นตัวหนังสือหรือรูปรอยอย่างใดๆ โดยการกดหรือการใช้พิมพ์หิน เครื่องกล วิธีเคมี หรือวิธีอื่นใดอันอาจให้เกิดเป็นสิ่งพิมพ์ขึ้นหลายสำเนา, Notes: (บาลี - สันสกฤต) | พิมพ์ | (n) mold, See also: pattern, frame, Syn. แบบหล่อ, แม่พิมพ์, บล็อก, เบ้า, Example: ครูสั่งให้ทำพิมพ์ไว้ก่อนแล้วค่อยผสมปูนปลาสเตอร์, Count Unit: อัน, ชิ้น, ฝา, พิมพ์, Thai Definition: สิ่งที่เป็นแบบ, Notes: (บาลี - สันสกฤต) | พิมพ์ | (v) type, See also: typewrite, Example: ฉันต้องพิมพ์จดหมายตามที่เจ้านายสั่งให้เสร็จภายในเย็นนี้, Thai Definition: ใช้เครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้นให้ติดบนวัตถุ เช่น ใช้พิมพ์ดีด หรือคอมพิวเตอร์, Notes: (บาลี - สันสกฤต) | พิมาน | (n) paradise, See also: celestial residence, Syn. สวรรค์, วิมาน, Count Unit: องค์, Thai Definition: ที่อยู่หรือที่ประทับของเทวดา | พิมุข | (adj) back, See also: rear, Syn. ฝ่ายหลัง, ข้างหลัง | พิมเสน | (n) borneol, See also: borneo camphor, Example: หล่อนผสมพิมเสนป่นลงไปในผงสารส้ม, Count Unit: เกล็ด, Thai Definition: สารชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นเกล็ดสีขาวขุ่น มีทั้งที่ได้จากธรรมชาติและได้จากการสังเคราะห์ ใช้ทำยา | พิมเสน | (n) kind of mango, Syn. มะม่วงพิมเสน, Example: ฉันชอบกลิ่นของมะม่วงพิมเสน มันหอมแปลกดี, Count Unit: ต้น, Thai Definition: ชื่อมะม่วงหลายพันธุ์ของชนิด Mangifera indica Linn. พันธุ์หนึ่งเมื่อดิบมีรสเปรี้ยว สุกแล้วหวาน, พันธุ์ที่แก่แล้วมีรสมัน เรียก พิมเสนมัน | ตีพิมพ์ | (v) publish, See also: print, issue, Syn. พิมพ์, Example: หนังสือพิมพ์ฉบับนี้ตีพิมพ์ออกวางบนแผงครั้งแรกเมื่อเดือนสิงหาคม 2523, Thai Definition: พิมพ์ด้วยแท่นพิมพ์, พิมพ์สิ่งตีพิมพ์ | พิมพ์ใจ | (v) impress, Syn. ประทับใจ, ติดตรึงใจ, Example: การรับเชิญเสด็จพระราชดำเนินมาที่จุฬาฯ ในครั้งนั้น ยังพิมพ์ใจพวกเราอยู่ไม่มีวันลืมเลือน, Thai Definition: ติดตรึงอยู่ในใจ, ตรึงตราอยู่ในใจ | จัดพิมพ์ | (v) publish, Syn. พิมพ์, Example: สำนักพิมพ์ดวงกมลได้จัดพิมพ์หนังสือที่น่าสนใจต่างๆ มากมาย | ตัวพิมพ์ | (n) types, See also: type faces | ตัวพิมพ์ | (n) type, See also: print hand, Syn. ตัวอักษร, Ant. ตัวเขียน, Example: ฉันชอบตัวพิมพ์มากกว่าตัวเขียนเพราะอ่านง่ายกว่า, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ตัวอักษรที่เกิดจากการพิมพ์ไม่ใช้เกิดจากการเขียนด้วยลายมือ | ผู้พิมพ์ | (n) publisher, Syn. ผู้พิมพ์จำหน่าย, Example: บริษัท Webster เป็นผู้พิมพ์พจนานุกรมขายได้กำไรมากจนกลายเป็นเศรษฐี, Thai Definition: ผู้ดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือออกจำหน่าย, Notes: (บาลี) | พระพิมพ์ | (n) votive tablet, Syn. พระเครื่อง, Example: พ่อของนวลฉวีสะสมพระพิมพ์ไว้เป็นจำนวนมาก, Count Unit: องค์, Thai Definition: พระเครื่องที่สร้างขึ้นตามแบบแม่พิมพ์ | พิมพ์ดีด | (v) type, See also: typewrite, Syn. พิมพ์, Example: กว่าที่จะได้เรื่องสั้นเรื่องหนึ่งออกมา เขาต้องพิมพ์ดีดสองครั้งเป็นอย่างน้อย, Thai Definition: ใช้ปลายนิ้วเคาะแป้นอักษรบนพิมพ์ดีด | พิมพ์ดีด | (n) typewriter, Example: ถ้าพิมพ์ออกมาตัวอักษรเหมือนกันหมดเหมือนพิมพ์ด้วยพิมพ์ดีดธรรมดาก็จะทำให้เอกสารนั้นไม่เป็นที่สนใจเท่าที่ควร, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: เครื่องพิมพ์ชนิดหนึ่งใช้ปลายนิ้วเคาะแป้นอักษร | พิมพ์ทอง | (n) constellation, Syn. ดาวยักษ์, ดาวสตภิสชะ, Thai Definition: ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ศตภิษัช มี 4 ดวง | พ่อพิมพ์ | (n) teacher, Syn. อาจารย์, ครูบาอาจารย์, ครู, Ant. แม่พิมพ์, Example: เขาเริ่มงานครั้งแรกเป็นพ่อพิมพ์ของชาติ โดยเป็นครูประชาบาลในจังหวัดสุรินทร์, Count Unit: คน, Thai Definition: ครูหรือผู้ประศาสน์วิชาเพศชาย | ภาพพิมพ์ | (n) print, Example: ชาวเขมรบางกลุ่มได้พยายามอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิม โดยผ่านงานศิลปหัตถกรรม ภาพเขียนและภาพพิมพ์, Count Unit: ภาพ, Thai Definition: ภาพที่เกิดจากการพิมพ์ | แบบพิมพ์ | (n) form, See also: printed form, Syn. แบบฟอร์ม, Example: นักศึกษาจะต้องไปขอแบบพิมพ์คำร้องเรื่องต่างๆ จากห้องธุรการ, Count Unit: ฉบับ, แผ่น, แบบ, Thai Definition: กระดาษพิมพ์ที่เป็นแบบสำหรับกรอกข้อความ หรือทำเครื่องหมายตามที่กำหนดหรือที่ต้องการ | แม่พิมพ์ | (n) teacher, See also: instructor, Count Unit: คน | แม่พิมพ์ | (n) mold, See also: model, Syn. ต้นแบบ, แบบ, Count Unit: ชิ้น, อัน | แม่พิมพ์ | (n) plate, See also: mould, mold, block, Syn. แบบหล่อ, แบบพิมพ์, แท่นพิมพ์, Example: แม่พิมพ์ตัวใหม่เกิดร้าวขึ้นจึงได้มีการแกะแม่พิมพ์ตัวใหม่มาทดแทน, Count Unit: ชิ้น, อัน, Thai Definition: เบ้าหล่อที่ใช้เป็นแบบในงานพิมพ์ | แม่พิมพ์ | (n) teacher, See also: instructor, tutor, master/mistress, mentor, schoolteacher, educator, Syn. แม่พิมพ์ของชาติ, Example: เด็กๆ จะดูตัวอย่างจากแม่พิมพ์ของเขา เพราะอยู่ใกล้ชิดกับเขารองจากพ่อแม่, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่เป็นต้นแบบหรือเป็นแบบอย่าง เช่น คุณครู เป็นต้น | โทรพิมพ์ | (n) teletype, Syn. โทรเลข, โทรสาร, Example: สิ่งสื่อสาร หมายความรวมถึง จดหมาย โทรศัพท์ โทรเลข โทรสาร โทรพิมพ์ วิทยุและการติดต่อสื่อสารส่งข้อความทางอิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิด, Thai Definition: ระบบโทรคมนาคมที่ใช้เครื่องรับส่งสัญญาณโทรเลข | โรงพิมพ์ | (n) press, See also: publisher, Syn. สำนักพิมพ์, สถานที่พิมพ์, Count Unit: โรง, แห่ง | โรงพิมพ์ | (n) printing house, See also: press, Example: เมื่อยังเด็กเขาได้ประกอบภารกิจในโรงพิมพ์ ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นโรงสร้างจักรยาน ซึ่งให้บทเรียนในเรื่องจักรกลมาก, Count Unit: โรง, แห่ง | ช่างพิมพ์ | (n) printer, Syn. ช่างแท่น, Example: เขาลาออกจากงานเดิมมาเป็นช่างพิมพ์, Count Unit: คน | สิ่งพิมพ์ | (n) printed matter, Syn. งานพิมพ์, เอกสาร, Example: สื่อมวลชนที่มาในวันนี้จะได้รับสิ่งพิมพ์ที่รัฐบาลจัดทำขึ้นเป็นพิเศษ, Thai Definition: เอกสารหรือวัตถุใดๆ ที่พิมพ์ขึ้นหลายสำเนาเป็นต้น | แท่นพิมพ์ | (n) printing press, Count Unit: แท่น | แป้นพิมพ์ | (n) keyboard, Syn. แป้นอักษร, แท่น, แท่นพิมพ์, Example: เลขานุการเอานิ้วจิ้มแป้นพิมพ์อย่างรวดเร็ว | แป้นพิมพ์ | (n) keyboard, See also: board, Syn. แป้นอักษร, แท่นพิมพ์, Example: เลขานุการเอาพรมนิ้วลงบนแป้นพิมพ์อย่างรวดเร็ว, Thai Definition: ปุ่มกดของเครื่องพิมพ์ดีดที่มักมีรูปกลมแบน | พิมพ์เขียว | (n) blueprint, Example: เมื่อเสร็จเป็นต้นร่างใสแล้วจึงทำเป็นพิมพ์เขียวนำไปใช้ในราชการ, Count Unit: แผ่น, Thai Definition: สำเนาที่เกิดจากการฉายแสงผ่านต้นฉบับที่เป็นกระดาษบางๆ ลงบนกระดาษที่เคลือบสารเคมีซึ่งไวต่อแสง ให้ปรากฏเป็นลวดลายสีขาวลงบนพื้นสีน้ำเงินหรือลวดลายสีน้ำเงินลงบนพื้นขาว | สำนักพิมพ์ | (n) press, Syn. สถานที่พิมพ์, Count Unit: แห่ง | สำนักพิมพ์ | (n) printing press, Example: ผมฝึกฝนตัวเอง โดยการติดต่องานหางานพิมพ์เข้าโรงพิมพ์ในสำนักพิมพ์ใหม่ที่ผมไปทำงานอยู่, Count Unit: สำนักพิมพ์, Thai Definition: ที่ทำการของผู้ที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับสิ่งพิมพ์ | เรียงพิมพ์ | (v) typeset, See also: set type, Thai Definition: เอาตัวพิมพ์มาเรียงเพื่อตีพิมพ์ | พิมพ์ลายมือ | (v) fingerprint, Syn. พิมพ์นิ้วมือ, พิมพ์ลายนิ้วมือ, Example: เจ้าหน้าที่ธนาคารทุกคนต้องพิมพ์ลายมือเก็บไว้เป็นหลักฐาน, Thai Definition: กดปลายนิ้วมือหรือฝ่ามือที่ทาหมึกให้เป็นลายลักษณ์ติดอยู่เป็นหลักฐาน | พิมพ์สัมผัส | (v) touch-type, Example: ฉันอยากพิมพ์สัมผัสได้เหมือนเธอจัง งานจะได้ไปเร็วมากขึ้น, Thai Definition: ใช้นิ้วมือทั้ง 10 นิ้วดีดพิมพ์โดยไม่ต้องมองแป้นอักษร | สิ่งตีพิมพ์ | (n) printed matter, See also: published material | สิ่งตีพิมพ์ | (n) printed matter, Syn. สิ่งพิมพ์, Example: เราใช้กระดาษไปเป็นจำนวนมาก ทั้งในรูปของสิ่งตีพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ | พิมพ์หนังสือ | (v) print, See also: publish, Example: อาทิตย์นี้คงต้องพิมพ์หนังสือเพิ่มอีกตามความต้องการของลูกค้า, Thai Definition: ใช้เครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้น ให้เกิดเป็นสิ่งพิมพ์หนังสือขึ้นหลายสำเนา | หนังสือพิมพ์ | (n) newspaper, See also: paper, press, Example: ข่าวของเขาขึ้นหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์มาหลายวันแล้ว, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: สิ่งที่พิมพ์ข่าวและความเห็นเป็นต้นเสนอประชาชน ตามปกติออกเป็นรายวัน | เครื่องพิมพ์ | (n) printer, See also: printing machine, print, Example: ชาวยุโรปคิดเครื่องพิมพ์ได้เขาก็ย่อมมีโอกาสพัฒนาสิ่งพิมพ์ขึ้นมาก่อน, Count Unit: เครื่อง | ผู้พิมพ์โฆษณา | (n) publisher, Example: ดาราสาวได้เป็นโจทก์ฟ้องผู้พิมพ์โฆษณาหนังสือพิมพ์เป็นจำเลยในคดีหมิ่นประมาท | ศิลปะภาพพิมพ์ | (n) graphic arts, Example: เขาเข้าเรียนศิลปะภาพพิมพ์ที่สถาบันศิลปะโอติส | สื่อสิ่งพิมพ์ | (n) printing media | สื่อสิ่งพิมพ์ | (n) printed matter, Example: ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำได้สร้างผลกระทบต่อธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์อย่างมาก, Thai Definition: การทำให้ผู้คนเห็นหรือทราบข้อความ โดยผ่านทางสิ่งพิมพ์ | แบบพิมพ์เขียว | (n) blue print, Syn. พิมพ์เขียว, แบบแปลน, Example: บริษัทที่ญี่ปุ่นส่งแบบพิมพ์เขียวมาถึงมือผู้ผลิตชิ้นส่วนในเมืองไทยแล้ว, Count Unit: แผ่น, Thai Definition: แปลนสร้างโดยการฉายแสงผ่านต้นฉบับที่เป็นกระดาษบางๆ ลงบนกระดาษที่เคลือบสารเคมีซึ่งไวต่อแสง ให้ปรากฏเป็นลวดลายสีขาวบนพื้นสีน้ำเงินหรือลวดลายสีน้ำเงินบนพื้นขาว | ช่างเรียงพิมพ์ | (n) hand compositor, See also: compositor, typesetter, maker-up, Syn. ช่างเรียง |
| กระถินพิมาน | ดู แฉลบ ๒. | กระลาพิม | น. ผู้หญิง เช่น รฦกกระลาพิม พระมาศ กูเออย (กำสรวล). | จันทรพิมพ์ | น. ดวงเดือน, รูปที่แลดูแบนแห่งดวงจันทร์, จันทรมณฑล ก็ว่า. | ดีดพิมพ์ | ก. พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด. | ตัวพิมพ์ | น. ตัวอักษรที่หล่อด้วยตะกั่วใช้เรียงพิมพ์ มีหลายชนิด เช่น ตัวโป้ง ตัวฝรั่งเศส | ตัวพิมพ์ | เรียกตัวพิมพ์ใหญ่ในภาษาอังกฤษ. | ถนิมพิมพาภรณ์ | น. เครื่องประดับร่างกาย. | แท่นพิมพ์ | น. เครื่องพิมพ์หนังสือหรือเอกสาร มีลักษณะเป็นแท่น มีหลายชนิด เช่น แท่นกริ๊ก แท่นนอน. | โทรพิมพ์ | น. ระบบโทรคมนาคมที่ใช้เครื่องรับส่งสัญญาณโทรเลข ประกอบด้วยแป้นพิมพ์และแคร่พิมพ์ ลักษณะคล้ายเครื่องพิมพ์ดีด สามารถรับส่งสัญญาณโทรเลขเพื่อพิมพ์เป็นตัวอักษรบนกระดาษพิมพ์ และส่งตัวอักษรที่พิมพ์เป็นสัญญาณโทรเลขผ่านวงจรโทรเลขที่ต่ออยู่กับเครื่องโทรพิมพ์นั้นได้. | แบบพิมพ์ | น. กระดาษพิมพ์ที่เป็นแบบสำหรับกรอกข้อความ หรือทำเครื่องหมายตามที่กำหนดหรือที่ต้องการ เช่น แบบพิมพ์คำร้อง. | ประพิมพ์ประพาย | น. รูปพรรณสัณฐาน โดยเฉพาะหมายถึงลักษณะหรือส่วนที่คล้ายคลึงกัน เช่น เด็กคนนี้มีประพิมพ์ประพายคล้ายพ่อ. | ผู้พิมพ์ | น. บุคคลซึ่งจัดการและรับผิดชอบในการพิมพ์. | พระพิมพ์ | น. พระเครื่องที่สร้างขึ้นตามแบบแม่พิมพ์. | พิม | ดู พิมปะการัง. | พิมการัง | ดู พิมปะการัง. | พิมปะการัง | น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ชนิด Pholas orientalis Gmelin ในวงศ์ Pholadidae เปลือกบางเปราะค่อนข้างยาว สีขาวคล้ำ ผิวขรุขระสามารถใช้เปลือกเจาะพื้นที่เป็นดินโคลนให้เป็นรูเพื่อผังตัวอยู่ได้, พิม พิมการัง หรือ พิมพการัง ก็เรียก. | พิมพ-, พิมพ์ | (พิมพะ-) น. รูป, รูปร่าง, แบบ, เช่น หยอดวุ้นลงในพิมพ์ หน้าตาเป็นพิมพ์เดียวกัน. | พิมพ-, พิมพ์ | (พิมพะ-) ก. ถ่ายแบบ, ใช้เครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้นให้ติดบนวัตถุ เช่นแผ่นกระดาษ ผ้า, เช่น พิมพ์ผ้า พิมพ์ขนมเป็นรูปต่าง ๆ. | พิมพ์เขียว | ก. พิมพ์สำเนาโดยการฉายแสงผ่านต้นฉบับที่เป็นกระดาษบาง ๆ ลงบนกระดาษที่เคลือบสารเคมีซึ่งไวต่อแสง ให้ปรากฏเป็นลวดลายสีขาวบนพื้นสีนํ้าเงินหรือลวดลายสีนํ้าเงินบนพื้นขาว. | พิมพ์เขียว | น. สำเนาที่ทำขึ้นโดยวิธีการเช่นนี้. | พิมพ์ใจ | ก. ประทับใจ, ติดตรึงใจ. | พิมพ์ดีด | น. เครื่องพิมพ์ชนิดหนึ่ง ใช้ปลายนิ้วเคาะแป้นอักษรให้ตัวอักษรไปกดผ้าหมึกให้กระทบกระดาษปรากฏเป็นตัวอักษร. | พิมพ์ดีด | ก. พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด. | พิมพ์ทอง | น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ศตภิษัช มี ๔ ดวง, ดาวยักษ์ หรือ ดาวสตภิสชะ ก็เรียก. | พิมพ์ลายนิ้วมือ | ก. กดปลายนิ้วมือที่ทาหมึกให้เป็นรอยติดอยู่เป็นหลักฐาน โดยปรกติใช้เฉพาะนิ้วหัวแม่มือ, (ปาก) แตะโป้ง หรือ แปะโป้ง. | พิมพ์ลายมือ | ก. กดปลายนิ้วมือหรือฝ่ามือที่ทาหมึกให้เป็นลายลักษณ์ติดอยู่เป็นหลักฐาน. | พิมพ์สอดสี | ก. พิมพ์ให้เป็นสีตั้งแต่ ๒ สีขึ้นไป. | พิมพ์สัมผัส | ก. ใช้ปลายนิ้วมือทั้ง ๑๐ เคาะแป้นอักษรโดยไม่ต้องมองแป้น. | พิมพ์หนังสือ | ก. ใช้เครื่องพิมพ์กดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้นให้ติดบนกระดาษหรือผ้าเป็นต้น. | พิมพาภรณ์ | น. เครื่องประดับร่างกาย ในคำว่า ถนิมพิมพาภรณ์. | พิมพการัง | (พิมพะ-) ดู พิมปะการัง. | พิมพา | ดู ฉลามเสือ ที่ ฉลาม. | พิมพาภรณ์ | ดู พิมพ-, พิมพ์. | พิมโพหนะ | (-หะนะ) น. หมอน. | พิมล | (พิมน) ว. ปราศจากมลทิน, ปราศจากความมัวหมอง | พิมล | ผ่องใส. | พิมเสน ๑ | น. ชื่อสารชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นเกล็ดสีขาวขุ่น มีทั้งที่ได้จากธรรมชาติและได้จากการสังเคราะห์ ใช้ทำยา ที่ได้จากธรรมชาติ เช่น จากไม้ต้นชนิด Dryobalanops aromatica C.E. Gaertn. ในวงศ์ Dipterocarpaceae, จากไม้พุ่มชนิด Blumea balsamifera (L.) DC. ในวงศ์ Compositae, ที่ได้จากการสังเคราะห์เรียก พิมเสนหุง. | พิมเสน ๒ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Dryobalanops aromatica C.E. Gaertn. ในวงศ์ Dipterocarpaceae มีเกล็ดพิมเสนอยู่ในเนื้อไม้. | พิมเสน ๒ | ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Pogostemon cablin (Blanco) Benth. ในวงศ์ Labiatae ใบออกตรงข้ามกัน ขอบใบจัก ขยี้แล้วมีกลิ่นหอม ใช้กลั่นให้นํ้ามันหอมระเหยซึ่งใช้แต่งกลิ่นและดับกลิ่นตัว. | พิมเสน ๒ | ชื่อมะม่วงหลายพันธุ์ของชนิด Mangifera indicaL. พันธุ์หนึ่งเมื่อดิบมีรสเปรี้ยว สุกแล้วหวาน, พันธุ์ที่แก่แล้วมีรสมัน เรียก พิมเสนมัน. | พิมาน | น. ที่อยู่หรือที่ประทับของเทวดา. | พิมุข | ว. ฝ่ายหลัง, ข้างหลัง. | แม่พิมพ์ | น. สิ่งที่เป็นต้นแบบ เช่น แม่พิมพ์ตัวหนังสือ, โดยปริยายหมายถึงครูอาจารย์ซึ่งถือว่าเป็นแบบอย่างความประพฤติของศิษย์. | เรียงพิมพ์ | ก. เอาตัวพิมพ์มาเรียงตามต้นฉบับเพื่อตีพิมพ์. | โรงพิมพ์ | น. สถานที่พิมพ์หนังสือและสิ่งพิมพ์อื่น ๆ. | วิทยุโทรพิมพ์ | น. การรับส่งโทรพิมพ์โดยใช้คลื่นวิทยุ. | สำนักพิมพ์ | น. สถานที่ดำเนินธุรกิจจัดพิมพ์และจำหน่ายตำราหรือหนังสือ สารคดี นวนิยาย เป็นต้น. | สิ่งตีพิมพ์ | น. ไปรษณียภัณฑ์ประเภทข้อความ รูป หรือรอยประดิษฐ์บนกระดาษ กระดาษแข็ง หรือวัสดุที่ใช้กันทั่วไปในกิจการพิมพ์ ซึ่งทำขึ้นเป็นหลายสำเนาเหมือนกันทุกประการ ด้วยกระบวนการทางเครื่องกลไก หรือการถ่ายภาพอันเกี่ยวข้องกับการใช้แม่พิมพ์ต้นแบบ กระดาษไข เนกาทีฟ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้กันโดยทั่วไปในกิจการพิมพ์. | สิ่งพิมพ์ | น. สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใด ๆ ที่พิมพ์ขึ้น รวมตลอดทั้งบทเพลง แผนที่ แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือสิ่งอื่นใดอันมีลักษณะเช่นเดียวกัน. | สูรยพิมพ์ | น. ดวงหรือวงตะวัน, สุริยมณฑล หรือ สูรยมณฑล ก็ว่า. |
| page printer | เครื่องพิมพ์รายหน้า [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | pochoir | ๑. กลวิธีพิมพ์สีลายฉลุ๒. ภาพพิมพ์สีลายฉลุ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | print queue | คิวงานพิมพ์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | print format | รูปแบบการพิมพ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | print format | รูปแบบการพิมพ์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | print queue | คิวงานพิมพ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | Print Screen key; PrtSc key | แป้นพิมพ์จอภาพ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | Print Screen key; PrtSc key | แป้นพิมพ์จอภาพ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | printed circuit | วงจรพิมพ์ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | printed matter | สิ่งพิมพ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | printer | เครื่องพิมพ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | printer | เครื่องพิมพ์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | printout | สิ่งพิมพ์ออก [ มีความหมายเหมือนกับ hard copy; hardcopy ๒ ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | printout | สิ่งพิมพ์ออก [ มีความหมายเหมือนกับ hard copy; hardcopy ๒ ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | podogram | ๑. ภาพพิมพ์ฝ่าเท้า๒. ภาพเค้าโครงฝ่าเท้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | PrtSc key; Print Screen key | แป้นพิมพ์จอภาพ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | PrtSc key; Print Screen key | แป้นพิมพ์จอภาพ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | preliminary impression; primary impression; primary inpression; snap impression | รอยพิมพ์ขั้นต้น [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | pre-printed form | แบบฟอร์มพิมพ์ล่วงหน้า [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | publication | ๑. การประกาศโฆษณา๒. สิ่งพิมพ์เผยแพร่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | primary impression; preliminary impression; primary inpression; snap impression | รอยพิมพ์ขั้นต้น [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | primary inpression; preliminary impression; primary impression; snap impression | รอยพิมพ์ขั้นต้น [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | paste print | ภาพพิมพ์กดกระดาษ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | planography | กลวิธีพิมพ์พื้นราบ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | publisher | ผู้จัดพิมพ์, ผู้พิมพ์โฆษณา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | publisher | ผู้พิมพ์โฆษณา, ผู้จัดพิมพ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | piece mould | แม่พิมพ์ชิ้น [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lithography | กลวิธีพิมพ์หิน [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | laser printer | เครื่องพิมพ์เลเซอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | laser printer | เครื่องพิมพ์เลเซอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | line engraving | ๑. กลวิธีพิมพ์แกะลายเส้น๒. ภาพพิมพ์แกะลายเส้น [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | listing | สิ่งพิมพ์รายการแสดง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | letter quality printer | เครื่องพิมพ์คุณภาพคมชัด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | linocut | ๑. กลวิธีพิมพ์ยางแกะ๒. ภาพพิมพ์ยางแกะ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | limited edition | จำนวนพิมพ์จำกัด [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | letter quality printer | เครื่องพิมพ์คุณภาพคมชัด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | line printer | เครื่องพิมพ์รายบรรทัด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | line printer | เครื่องพิมพ์รายบรรทัด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | line printer | เครื่องพิมพ์รายบรรทัด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lock up; quoin | ลิ่มอัดตัวพิมพ์ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | LCD printer | เครื่องพิมพ์แอลซีดี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | relief engraving | กลวิธีพิมพ์ผิวนูน [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | service by publication | การส่งหมายหรือคำคู่ความโดยวิธีประกาศในหนังสือพิมพ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | stipple engraving | ๑. กลวิธีพิมพ์แกะลายปรุ๒. ภาพพิมพ์แกะลายปรุ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | soft-ground etching | ๑. กลวิธีพิมพ์กัดกรดพื้นนิ่ม๒. ภาพพิมพ์กัดกรดพื้นนิ่ม [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | soft copy; softcopy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | softcopy: soft copy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | soft copy; softcopy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | soft copy: softcopy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | steinkern; internal cast | รูปพิมพ์หิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
| Printing | การพิมพ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Serials control system | ระบบควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [เทคโนโลยีการศึกษา] | Nonbook material | วัสดุไม่ตีพิมพ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | University press | สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย [เทคโนโลยีการศึกษา] | Publisher | สำนักพิมพ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Newspaper | หนังสือพิมพ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Cataloging in Publication | การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์, Example: Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Edition | ครั้งที่พิมพ์, Example: ครั้งที่พิมพ์ (edition) หนังสือที่มีจำนวนครั้งที่พิมพ์มาก แสดงว่าเป็นหนังสือที่ได้รับความนิยมอ่านมาก เช่น พิมพ์ครั้งแรก พิมพ์ครั้งที่ 2 พิมพ์ครั้งที่ 3 พิมพ์ครั้งที่ 4 พิมพ์ครั้งที่ 5 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Government publication | สิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Catalog | แค็ตตาล็อก, บัญชีรายชื่อ หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ที่มีภาพสินค้าเช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดของสินค้าเพื่อเผยแพร่หรือสําหรับให้ลูกค้าเลือกซื้อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Date of publication | ปีที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Enlargement | ฉบับขยายตัวพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Imprint | พิมพลักษณ์, Example: Imprint หมายถึง พิมพลักษณ์ เป็นรายการเกี่ยวกับการพิมพ์ประกอบด้วย <p>1. สถานที่พิมพ์ หมายถึง ชื่อเมือง ชื่อรัฐ หรือชื่อจังหวัดที่เป็นที่ตั้งของสำนักพิมพ์ <p>2. สำนักพิมพ์ หมายถึง ชื่อของสำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ที่จัดพิมพ์หนังสือ <p>3. ปีที่พิมพ์ หมายถึง ปีที่จัดพิมพ์หนังสือเล่มนั้น <p> โดยทั่วไปพิมพลักษณ์จะปรากฏอยู่ที่ส่วนล่างของหน้าปกในของหนังสือ ในการทำบัตรรายการหรือการทำบรรณานุกรมต้องลงรายการพิมพลักษณ์ด้วย ส่วนรายการพิมพลักษณ์ที่ไม่ปรากฎในหน้าปกในและต้องสืบค้นจากที่อื่นต้องใช้เครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] ล้อมรอบให้เห็นชัดเจน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Irregular serial | สิ่งพิมพ์ในลักษณะวารสาร มีกำหนดออกไม่สม่ำเสมอ, Example: <p>สิ่งพิมพ์ในลักษณะวารสารที่มีกำหนดออกเผยแพร่ที่ไม่สม่ำเสมอ หรือรายสะดวก หรือ มีกำหนดออกไม่แน่นอน <p>โดยปกติวารสารแต่ละชื่อ มีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน คือ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year ) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายไม่สม่ำเสมอ หรือรายสะดวก กล่าวคือ มีกำหนดออกไม่แน่นอน (Irregular) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | New edition | ฉบับพิมพ์ครั้งใหม่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Newspaper | หนังสือพิมพ์, Example: <img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110306-newspaper-1.jpg" alt="Newspaper"> <p>Newspaper หรือ หนังสือพิมพ์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของหนังสือพิมพ์ หมายถึง สิ่งพิมพ์ข่าวและความเห็นเป็นต้นเสนอประชาชน ตามปรกติออกเป็นรายวัน [ 1 ] <p>หนังสือพิมพ์เป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดการออกอย่างต่อเนื่อง มักในช่วงระยะเวลาสั้นๆ เช่น รายวัน รายสัปดาห์ โดยส่วนใหญ่จะออกเป็นรายวัน ทั้งนี้แต่ละฉบับจะมีหมายเลขแสดงลำดับที่ของการออกในแต่ละช่วงปีที่ดำเนินการ คือ ปีที่ ฉบับที่/เล่ม วัน เดือน ปี ของหนังสือพิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ปีที่ 62 ฉบับที่ 19386 วันศุกร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ขณะที่เนื้อหามุ่งไปที่การบอกและรายงานข่าวสถานการณ์และเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นแบบวันต่อวัน จึงนับเป็นแหล่งข้อมูลเพื่อติดตามเหตุการณ์และเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมในลักษณะวันต่อวัน ทั้งข่าวในประเทศ ข่าวต่างประเทศ <p>ประวัติหนังสือพิมพ์ในประเทศไทย <p>การผลิตหนังสือพิมพ์ในประเทศไทย เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 โดยหนังสือพิมพ์ฉบับแรก คือ บางกอกรีคอร์เดอร์ (The Bangkok Recorder) จัดพิมพ์โดย หมอบรัดเลย์ (Dr. Dan Beach Bradley, M.D.) มิชชันนารีชาวอเมริกัน พิมพ์ด้วยภาษาไทย และภาษาอังกฤษ แต่มีอายุได้ไม่ถึง 2 ปี ก็ต้องปิดกิจการลง จากนั้นก็มีหนังสือพิมพ์ออกมาอีกหลายฉบับ และมีกำหนดการออกที่แตกต่างกัน ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงเป็นผู้จัดทำ หนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย ชื่อ ราชกิจจานุเบกษา เพื่อชี้แจงข่าวคลาดเคลื่อนที่ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ของหมอบรัดเลย์ และเพื่อแจ้งข่าวการบริหารพระราชภารกิจทางการเมือง จนในสมัยรัชกาลที่ 5 เริ่มมีหนังสือพิมพ์ภาษาไทยฉบับแรกที่เผยแพร่สู่ประชาชน ชื่อ ดรุโณวาท และมีหนังสือพิมพ์ที่ยอดจำหน่ายสูงมาก คือ ข่าวราชการ จนกระทั่งต้องมีระบบจัดส่ง ซึ่งกลายเป็นจุดเริ่มต้นของกิจการไปรษณีย์ไทย ในยุคนี้วงการหนังสือพิมพ์ตื่นตัวมาก โดยมีการออกหนังสือพิมพ์ถึง 59 ชื่อ เรื่อยมาสมัยรัชกาลที่ 6 และ 7 กระทั่งสมัยรัชกาลที่ 8 หนังสือพิมพ์เริ่มถูกควบคุมโดยรัฐบาล และเมื่อปี พ.ศ. 2501 เกิดรัฐประหาร นำโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ หนังสือพิมพ์ตกไปอยู่ภายใต้การควบคุมของประกาศคณะปฏิวัติ [ 2 ] <p>โดยทั่วไปสามารถแบ่งประเภทของหนังสือพิมพ์ ได้เป็น 2 ประเภท คือ ประชานิยม และ เพ่งคุณภาพ หนังสือพิมพ์ประเภทประชานิยม (Popular newspaper)มุ่งนำเสนอข่าวประเภทเร้าอารมณ์ เช่น ข่าวอาชญากรรม ข่าวอุบัติเหตุ ข่าวในแวดวงสังคมและบันเทิง เป็นต้น ซึ่งคนส่วนใหญ่ให้ความสนใจ ขณะที่หนังสือพิมพ์ประเภทเพ่งคุณภาพ (Quality newspaper) มุ่งนำเสนอข่าวประเภทข่าวหนัก คือ เนื้อหาหนักแน่น เจาะลึก และบทความแสดงความคิดเห็น ที่ก่อให้เกิดมุมมองหลากหลาย ทางการเมือง และเศรษฐกิจ เป็นต้น เหมาะสำหรับผู้อ่านที่สนใจและอยู่ในวงการที่เกี่ยวข้องนั้นๆ โดยเฉพาะ <p>ส่วนประกอบหลักของหนังสือพิมพ์ ได้แก่ <p>พาดหัวข่าว มักใช้ตัวอักษรที่มีขนาดใหญ่ สั้นกระชับ และดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน เป็นแหล่งที่ทำให้ผู้อ่านทราบว่าหนังสือพิมพ์ฉบับนั้นๆ มีข่าวใดที่สำคัญและน่าสนใจ <p>ภาพข่าว คือ ภาพที่ปรากฏในหน้าหนังสือพิมพ์ มีทั้งภาพถ่าย ภาพเขียน ภาพการ์ตูน เป็นต้น <p>คำบรรยายภาพข่าว <p>ความนำ คือ ข้อความซึ่งขยายความโดยเป็นส่วนที่ต่อจากพาดหัวข่าว และโยงไปยังเนื้อข่าว <p>เนื้อข่าว คือ รายละเอียดของเหตุการณ์และเรื่องราวต่างๆ <p>บทความ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ บทบรรณาธิการ คอลัมน์ บทวิจารณ์ <p>บทบรรณาธิการ (Editorials) ข้อเขียนที่เสนอข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเรื่องราว เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เสมือนบทนำที่แสดงความคิดเห็นและจุดยืนของหนังสือพิมพ์ <p>คอลัมน์ (Columns) มีทั้งที่เป็นคอลัมน์ประจำ และชั่วคราว รวมถึงที่เปิดโอกาสให้ผู้อ่านได้เขียนแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ เป็นต้น <p>บทวิจารณ์ (Criticism) ข้อเขียนที่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ของบุคคลหรือสถาบัน โฆษณา การโฆษณาแสดงข้อมูลสินค้า ผลิตภัณฑ์ และบริการของหน่วยงานและบริษัทต่างๆ <p>ขนาด การจัดพิมพ์ และราคา <p>หนังสือพิมพ์ส่วนใหญ่ที่จำหน่ายในท้องตลาด มีขนาดใหญ่ หรือที่เรียกว่า Broad Sheet ซึ่งมีความกว้างยาวประมาณ 14 x 23 นิ้ว (A3) ไม่มีการเย็บเล่ม มีจำนวนหน้าประมาณ 30 หน้า ขณะที่การจัดพิมพ์นั้นกระดาษและเทคนิคที่ใช้ไม่สูงนัก และจำหน่ายในราคาถูก ประมาณ 10-20 บาท ทั้งนี้ในปัจจุบัน เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ ได้รับการพัฒนา จึงมีการพัฒนาหนังสือพิมพ์นอกจากหนังสือพิมพ์ฉบับพิมพ์ เป็นหนังสือพิมพ์ออนไลน์ ซึ่งผู้อ่านสามารถอ่านผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ที่ http://www.thairath.co.th หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ที่ http://www.dailynews.co.th และ หนังสือพิมพ์ Bangkok Post ที่ http://www.bangkokpost.com เป็นต้น <p>รายชื่อหนังสือพิมพ์ไทย <p>Bangkok Post The Nation กรุงเทพธุรกิจ ข่าวสด คม ชัด ลึก ฐานเศรษฐกิจ เดลินิวส์ ไทยรัฐ แนวหน้า บ้านเมือง ประชาชาติธุรกิจ ผู้จัดการ โพสต์ทูเดย์ มติชน สยามธุรกิจ สยามรัฐ <p>แหล่งข้อมูล <p>[ 1 ] ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2546. หน้า 1244. <p>[ 2 ] http://th.wikipedia.org/wiki/หนังสือพิมพ์ [ ออนไลน์ ] เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2554. <p>[ 3 ] มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา 13312 การวิเคราะห์สารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Newspaper stick | ไม้หนีบหนังสือพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | No date | ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ (มปป.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Nonbook material | ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์, Example: <p>นอกจากทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed material) ซึ่งหมายถึงทรัพยากรสารสนเทศที่ผลิตเป็นสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และจุลสาร เป็นต้น ทรัพยากรสารสนเทศอีกประเภทหนึ่ง คือ ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Nonbook material หรือ Non-printed material) <p>ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ หมายถึง สื่อที่ใช้ในการบันทึกความรู้ที่นำเสนอสาระความรู้ผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา <p>ประเภทของทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ จำแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ โสตทัศนวัสดุ และ วัสดุย่อส่วน <p>1. โสตทัศนวัสดุ หมายถึง วัสดุสำหรับฟังหรือดู ด้วยการนำเสนอเสียงและภาพมากกว่าตัวหนังสือ ตัวอย่าง โสตทัศนวัสดุ แผนภูมิ หุ่นจำลอง เทปเสียง แผ่นเสียง ภาพยนตร์ และ วีดิทัศน์ เป็นต้น <p>2. วัสดุย่อส่วน เป็นการถ่ายภาพย่อส่วนของเอกสารต้นฉบับลงบนแผ่นฟิล์มหรือกระดาษทึบแสง ซึ่งเป็นการย่อให้มีขนาดเล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่าและต้องมีเครื่องอ่านเฉพาะ ตัวอย่าง วัสดุย่อส่วน เช่น ไมโครฟิล์ม ไมโครฟิช และ ไมโครคาร์ด <p>โสตทัศนวัสดุ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ โสตวัสดุ ทัศนวัสดุ และโสตทัศวัสดุ <p>1. โสตวัสดุ (Audio Materials) คือ สื่อสำหรับฟัง นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยเสียง เช่น เทปบันทึกเสียง และ แผ่นเสียง เป็นต้น <p>2. ทัศนวัสดุ (Visual Materials) คือ สื่อสำหรับดู นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยภาพ เช่น วัสดุกราฟิก แผ่นโปร่งใส สไลด์ วัสดุย่อส่วน และ หุ่นจำลอง เป็นต้น <p>3. โสตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Materials) คือ สื่อสำหรับฟังและดู นำเสนอข้อมูล ความรู้ด้วยเสียงและภาพ โดยอาศัยอุปกรณ์ในการแปลงสัญญาณ เช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วิดีทัศน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | No place of publication | ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ (มปท.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Place of publication | สถานที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Printer | เครื่องพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Printing | การพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Publication | สิ่งพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Publisher | สำนักพิมพ์, Example: <p>สำนักพิมพ์ (Publisher) คือ ผู้ที่จัดหาและคัดเลือกหนังสือ รวมทั้งสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ ที่จะตีพิมพ์ กำหนดแนวทางหนังสือที่จะพิมพ์ วางมาตรฐานการพิมพ์ของหนังสือ การจัดหาผู้ทรงคุณวุฒิสำหรับตรวจอ่านต้นฉบับ กำหนดรูปเล่ม ราคา จำนวนพิมพ์ และอาจได้ลิขสิทธ์เป็นผู้พิมพ์จำหน่าย <p>ประเภทของสำนักพิมพ์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สำนักพิมพ์ของเอกชน และ สำนักพิมพ์ของทางราชการ องค์การ สมาคม และหน่วยงานต่าง ๆ <p>1. สำนักพิมพ์ของเอกชน หมายถึง สำนักพิมพ์ที่มีเอกชนเป็นเจ้าของจัดดำเนินกิจการเพื่อธุรกิจการค้า สำนักพิมพ์บางแห่งอาจมีโรงพิมพ์เป็นของตนเอง เช่น บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง เป็นต้น สำนักพิมพ์ของเอกชน แบ่งออกเป็น <p>1.1 สำนักพิมพ์ทั่วไป หมายถึง สำนักพิมพ์ที่จัดพิมพ์หนังสือหลายประเภท หลายสาขาวิชา ส่วนมากเป็นสำนักพิมพ์ขนาดใหญ่ ตัวอย่างสำนักพิมพ์ทั่วไปในต่างประเทศ เช่น Doubleday, Harper and Row, Macmillan เป็นต้น ในประเทศไทย เช่น บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง บริษัทนานมีบุ๊คส์ บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น เป็นต้น <p>1.2 สำนักพิมพ์เฉพาะ หมายถึง สำนักพิมพ์ที่จัดพิมพ์หนังสือเฉพาะบางประเภท หรือเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง หรือหลายสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกัน เช่น ตำรา แบบเรียน หนังสือสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แพทยศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี ประวัติศาสตร์ และแผนที่ เป็นต้น ตัวอย่างสำนักพิมพ์เฉพาะสาขาวิชาหรือประเภทของหนังสือที่จัดพิมพ์ในต่างประเทศ เช่น Elsevier B.V. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p>2. สำนักพิมพ์ของทางราชการ องค์การ สมาคม และหน่วยงานต่าง ๆ มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ เผยแพร่ผลการปฏิบัติงาน แถลงนโยบาย และประชาสัมพันธ์หน่วยงาน สิ่งพิมพ์เหล่านี้มีทั้งจัดทำขึ้นเพื่อจำหน่าย หรือแจกจ่ายให้แก่บุคคล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือห้องสมุด แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ <p>2.1 สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย ส่วนใหญ่จัดพิมพ์ตำรา เอกสารประกอบการเรียน และสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ของมหาวิทยาลัย <p>2.2 สำนักพิมพ์ของหน่วยราชการ หน่วยราชการในกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่น เช่น สถาบัน องค์การ และสมาคม <p>บรรณานุกรม <p>สำนักหอสมุดแห่งชาติ. (2553). คู่มือคัดเลือก จัดหา รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศหอสมุดแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : สำนัก. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Publisher's catalog | บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์, Example: <P>บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ (Publisher's catalog) ใช้สำหรับแสดงรายการสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ของสำนักพิมพ์ วัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่รายการสิ่งพิมพ์ที่สำนักพิมพ์แต่ละแห่งเป็นเจ้าของ รวมทั้งรายการสิ่งพิมพ์ที่สำนักพิมพ์วางแผนจะผลิตหรือตีพิมพ์จำหน่าย <p>ในห้องสมุด บรรณารักษ์งานจัดหา ใช้บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ สำหรับการติดตาม และตรวจสอบรายการสิ่งพิมพ์ใหม่ที่น่าสนใจ ในการพิจารณาคัดเลือกเข้าห้องสมุด <p>ตัวอย่าง บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ เช่น ของสมาคม American Chemical Society (ACS) ได้จัดทำบัญชีรายชื่อ ACS Publications Product Catolog 2012 หรือ Karger Libri Catolog 2012 ของสำนักพิมพ์ Karger Libri AG เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Publishing | การพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Reprint edition | ฉบับพิมพ์ซ้ำ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Retrospective bibliography | บรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ที่มีพิมพ์เผยแพร่นานแล้ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Trade bibliography | บรรณานุกรมที่สำนักพิมพ์หรือร้านหนังสือจัดทำขึ้นเพื่อการ ค้า, บรรณานุกรมเพื่อการค้า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | University press | สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย, Example: <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย (University press) เป็นสำนักพิมพ์ประเภทหนึ่ง จัดอยู่ในสำนักพิมพ์ของทางราชการ องค์การ สมาคม และหน่วยงานต่าง ๆ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย ส่วนใหญ่จัดพิมพ์ตำรา เอกสารประกอบการเรียน และสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ของมหาวิทยาลัย อาจจัดเป็นสำนักพิมพ์เฉพาะได้ แต่สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมีลักษณะแตกต่างจากสำนักพิมพ์อื่น ดังนี้ <p>1. จัดพิมพ์สิ่งพิมพ์ทางวิชาการในสาขาวิชาการต่าง ๆ กว้างขวางกว่าสำนักพิมพ์เฉพาะ <p>2. ส่วนมากได้รับเงินอุดหนุนจากมหาวิทยาลัย <p>3. ไม่ต้องเสียภาษี <p>4. ไม่ได้มุ่งหวังเพื่อแสวงหาผลกำไร <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยในต่างประเทศที่มีชื่อเสียง เช่น <p>Cambridge University Press และ Oxford University Press ของอังกฤษ <p>Columbia University Press และ University of Chicago Press ของสหรัฐอเมริกา <p>ในประเทศไทย มหาวิทยาลัยบางแห่งมีทั้งสำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ และมีหน่วยงานรับผิดชอบในการจัดจำหน่ายโดยเฉพาะ เช่น <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม (ฝ่ายโรงพิมพ์) <p>ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง (สำนักพิมพ์ และโรงพิมพ์ ใช้ชื่อเดียวกัน) ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยรามคำแหง <p>สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p>บรรณานุกรม <p>สำนักหอสมุดแห่งชาติ. (2553). คู่มือคัดเลือก จัดหา รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศหอสมุดแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : สำนัก. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Year of publication | ปีที่พิมพ์, Example: <p>ปีที่พิมพ์ (Year of publication) หมายถึง ปีที่ตีพิมพ์หนังสือ เป็นส่วนที่บอกว่าหนังสือนั้นตีพิมพ์เมื่อใด ระบุเป็นปีที่พิมพ์ ทั้งไทยและสากล ขึ้นอยู่กับภาษาที่ใช้ในการเขียนหนังสือ เช่น 2555 หรือ 2012 <p>ปีที่พิมพ์ แตกต่างจากคำว่า ปีพิมพ์ (Volume : Vol. ) ที่ใช้สำหรับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร ซึ่งหมายถึง จำนวนปีที่ได้ตีพิมพ์วารสารนั้นออกมา เช่น ปีพิมพ์ที่ 2 (Vol. 2) หมายถึง วารสารรายชื่อนั้นตีพิมพ์เป็นปีที่ 2 <p>ปีที่พิมพ์ เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการเขียนบรรณานุกรม ซึ่งให้รายละเอียดของหนังสือ คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้าหรือจำนวนเล่ม ภาพประกอบ อาจมีบรรณนิทัศน์ (คำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อ) ประกอบด้วย <p>หนังสือบางเล่มอาจไม่ระบุปีที่พิมพ์ หากไม่มี ให้ใช้ว่า (ม.ป.ป.) ถ้าหนังสือไม่ปรากฏทั้งสถานที่พิมพ์และปีที่พิมพ์ ให้ใช้ว่า (ม.ป.ท., หรือ ม.ป.ป.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Electronic publishing | การพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Serial publication | สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110602-serial-publications.jpg" Title="Serial publication" alt="Serial publication"> <br>ภาพที่ 1 ตัวอย่างหน้าปกสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง <p>คือ สิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดการออกอย่างต่อเนื่อง ภายในชื่อเรื่องเดียวกัน ทั้งนี้ส่วนใหญ่มักมีหมายเลขแสดงลำดับที่การออกในแต่ละช่วงปีที่ดำเนินการจัดพิมพ์และเผยแพร่ เช่น วารสาร Nature Medicine ซึ่งมีกำหนดออกรายเดือน ฉบับประจำเดือน พ.ค. 2554 คือ May 2011, Volume 17 No 5 pp515-632 <p>ตัวอย่างกำหนการออก <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายปี (Annually) คือ 1 ปี : ครั้ง เช่น รายงานประจำปี <p>สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องนี้รวมถึง วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งพิมพ์รายปี เช่น รายงานประชุมปี รายงานการสำรวจ สถิติ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Serials control system | ระบบควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | พระเมรุพิมาน | อาคารถาวรที่ใดที่หนึ่ง ซึ่งตั้งพระบรมศพ หรือพระศพเวลาถวายพระเพลิงอัญเชิญพระบรมศพหรือพระศพจากพระเมรุพิมานไปถวายพระเพลิงที่พระเมรุ (ขนาดน้อย) อีกแห่งใกล้ ๆ หรือไม่ไกลกันมาก [ศัพท์พระราชพิธี] | Printed circuit board technology | เทคโนโลยีแผ่นวงจรพิมพ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Plate-printing | การพิมพ์ด้วยแผ่นแม่พิมพ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Package printing | การพิมพ์บรรจุภัณฑ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Flexography | การพิมพ์เฟล็กโซกราฟี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nonimpact printing | การพิมพ์ไร้แรงกด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Color printing | การพิมพ์สี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Ink-jet printing | การพิมพ์อิงค์เจ็ต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Ink-jet printer | เครื่องพิมพ์อิงค์เจ๊ต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Serial subsrciption agency | ตัวแทนบอกรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง, Example: <p>การจัดซื้อ จัดหา บอกรับ ผ่านตัวแทนบอกรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องหรือวารสาร เป็น ประเภทหนึ่งของวิธีการจัดหาวารสารโดยส่วนใหญ่การจัดหาวารสาร มี 2 วิธีหลัก คือ การจัดหาโดยตรงจากผู้ผลิตหรือสำนักพิมพ์ และ การจัดหาผ่านตัวแทน (Subscription agent) <p>การจัดหาโดยตรงจากผู้ผลิตหรือสำนักพิมพ์ มีข้อดี คือ ประหยัดเงินงบประมาณ เนื่องจากไม่ต้องเสียค่าบริการ (Service charge) ให้กับบริษัทตัวแทนจำหน่าย ข้อเสีย คือ ต้องสำรองจ่ายเงินสำหรับค่าวารสารที่จะบอกรับล่วงหน้า กรณีบอกรับวารสารหลายสำนักพิมพ์ ต้องยุ่งยากในการดำเนินการเรื่องเอกสาร การติดต่อประสานงาน และเสียเงินค่าธรรมเนียมในการบอกรับแต่ละรายสำนักพิมพ์ <p>การจัดหาผ่านตัวแทน (Subscription agent, Dealers , Vendors) หมายถึง บุคคลหรือนิติบุคคลที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างห้องสมุดและสำนักพิมพ์ มีความรับผิดชอบในกระบวนการจัดหาวารสารให้แก่ห้องสมุด ครอบคลุมการสมัครเป็นสมาชิก การรับ-ส่งวารสาร การต่ออายุสมาชิก การทวง การแจ้งข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสาร เช่น การเปลี่ยนแปลงข้อมูลของวารสาร เช่น การเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนกำหนดออก เปลี่ยนลักษณะรูปเล่ม เปลี่ยนราคา เป็นต้น การบอกรับผ่านตัวแทนนี้ ผู้ดำเนินงานจัดหาวารสารมีหน้าที่เพียงแต่รวบรวมรายชื่อวารสารทั้งหมดที่ห้องสมุดต้องการจะเป็นสมาชิก ส่งไปให้ตัวแทนบอกรับวารสาร ต่อจากนั้นตัวแทนก็จะดำเนินการติดต่อกับทางสำนักพิมพ์ให้ทั้งหมด <p>ข้อดีของการบอกรับวารสารผ่านตัวแทน <p>1. ประหยัดเวลาและแรงงานในการดำเนินงาน <p>2. ตัวแทนมีความเข้าใจและรู้รายละเอียดของสำนักพิมพ์ และมีหน้าที่ความรับผิดชอบโดยเฉพาะ ทำให้สามารถบริหารจัดการกับการบอกรับวารสารที่หลากหลายชื่อ หลายสำนักพิมพ์ ได้ดี <p>3. ลดความยุ่งยากในเรื่องอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ตัวแทนบางราย คิดราคาเป็นสกุลเงินไทย ซึ่งห้องสมุดต้องตรวจสอบราคาจริงจากสำนักพิมพ์ประกอบด้วย <p>ข้อเสียของการบอกรับวารสารผ่านตัวแทน คือ ห้องสมุดต้องเสียค่าบริการ (Service charge) ในการดำเนินการอำนวยความสะดวกให้กับห้องสมุดนั้น <p>หลักเกณฑ์ในการเลือกตัวแทนบอกรับวารสาร <p>1. คุณภาพการให้บริการ และ ความรวดเร็วในการให้บริการ <p>2. ความน่าเชื่อถือ พิจารณาจากผลการดำเนินงานธุรกิจของตัวแทนบอกรับวารสาร สภาพทางการเงินของตัวแทน <p>3. ลักษณะของตัวแทน พิจารณาที่ขนาดของบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร สามารถให้บริการในระดับนานาชาติได้ <p>การพิจารณาคัดเลือกตัวแทนบอกรับวารสาร ห้องสมุดสามารถใช้วิธีการศึกษาข้อมูลจากบริษัทตัวแทนโดยตรง หรือสอบถามไปยังผู้ดำเนินงานจัดหาวารสารของห้องสมุดอื่น ๆ เพื่อสอบถามข้อมูล ข้อดีและข้อเสีย ก่อนตัดสินใจเลือกใช้บริการ <p>การบอกรับผ่านตัวแทน ในเรื่องต่าง ๆ ควรมีเอกสารเป็นลายลักษณ์อักษรประกอบ เพื่อใช้เป็นหลักฐานยืนยัน หากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นในภายหลัง อย่างไรก็ตามการบอกรับทั้ง 2 วิธี ห้องสมุดควรตั้งงบประมาณเผื่อสำหรับการคำนวณกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศด้วย ซึ่งมีอัตราขึ้นลงอยู่เสมอ อาจทำให้การจ่ายเงินในบางเวลามีค่าใช้จ่ายสูงกว่าที่ตั้งงบประมาณไว้ และที่สำคัญหน่วยงานราชการ ตามระเบียบการจัดซื้อพัสดุ พ.ศ. 2535 ให้ต่ออายุได้ปีต่อปีเท่านั้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Printing plate | แผ่นแม่พิมพ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Keyboard (Electronics) | แผงแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | PrtSc key | แป้นพิมพ์จอภาพ [คอมพิวเตอร์] | QWERTY keyboard | แป้นพิมพ์แบบ QWERTY [คอมพิวเตอร์] | Cataloging of nonbook materials | การทำบัตรรายการวัสดุไม่ตีพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| Start typing. | เริ่มพิมพ์ High Infidelity (2012) | I don't want to do this newspaper stuff for the rest of my life. Hecht is right. | ฉันไม่อยากเป็นนักหนังสือพิมพ์ไปตลอดชีวิต แฮ็ชท์พูดถูก The Young Indiana Jones Chronicles (1992) | A sexy, omnipotent killer with a Random House contract. | ฆาตรกรที่มีอำนาจสุดเซ็กซี่ กับสัญญาของสำนักพิมพ์แรนดอมเฮ้าส์ Basic Instinct (1992) | Published, on this occasion, under sole authorship. | ตีพิมพ์ ในโอกาสนี้ ภายใต้งานประพันธ์ Basic Instinct (1992) | Mr. LaPlante, they found you guilty. | ถ้างั้นก้อทำหนังสือพิมพ์เองสะเลยสิ อะไรนะ Hero (1992) | Guilty? What do you mean? | หนังสือพิมพ์อ่ะนะ Hero (1992) | Mr. LaPlante, I've been persuaded, in view of your continued employment and your lack of priors to continue your bail under the same conditions pending sentencing six days from now. | หัวหน้า นี่คุณคิดว่าคำว่าหนังสือพิมพ์เป็นชื่อที่ตะเรียกขึ้นมาง่ายๆงั้นเหรอ คุณคิดว่าใครๆก็สามารถทำหนังสือพิมพ์ได้งั้นสิ Hero (1992) | That's why the district attorney is so hard-nosed this time. | ชั้นดีใจจังเลยที่จะได้ทำหนังสือพิมพ์เอง ว้าว มีความสุขจัง วิ้ว บราโว่ Hero (1992) | You still have your job, right? I've been calling in sick. | คุณโกรธก็เพราะว่าข่าวนี้ ก็เลยอยากทำหนังสือพิมพ์เองขึ้นมา ถูกมั้ย Hero (1992) | involved? She attached my paycheck, child support. | คุณน่าจะรู้นะว่าทำหนังสือพิมพ์มันต้องใช้เงิน Hero (1992) | Excuse me. | พี่ครับ ที่ว่าหนังสือพิมพ์ หมายความว่าไงครับ Hero (1992) | But what if it turns out, after all our digging after all our painstaking investigation.... | ลุงค๊า สุ้ๆนะค๊า นี่จะไปไหนกันเนี่ย แล้วมันเกี่ยวไรกะหนังสือพิมพ์ล่ะ นี่ทำไมทำงี้ล่ะ Hero (1992) | Until we've destroyed what we investigated in the first place. | ก่อนอื่นเลย เราต้องมีออฟฟิส แล้วเราก้อต้องเซ็นสัญญากับโรงพิมพ์ Hero (1992) | I'll throw in a couple of wheel covers, a case of insect repellent. | เค้าสุดยอดมากเลย แล้วก้อเก่งมากด้วย แล้วก้อคนที่จะคอยหาโฆษณากะบโปรโมตหนังสือพิมพ์ Hero (1992) | Where are my shoes? | พวกเราแค่อยากรู้ว่ามันพอทำสำนักพิมพ์ได้รึเปล่าน่ะครับ Hero (1992) | He stands his ground, capturing images of raging flames with no regard for his own personal safety. | คุณคิดว่าคุณจะทำหนังสือพิมพ์ด้วยเงินเพียง 9.73ล้านบาท? Hero (1992) | Go, baby. | เอาไว้สำหรับทำหนังสือพิมพ์ของคุณเถอะ Hero (1992) | is your friend, the fireman, here? | นี่คุณเหนหนังสือพิมพ์มั่งมั้ยอ่ะ Hero (1992) | He had an emergency call. | หนังสือพิมพ์เหรอ เออใช่สิ ยังไม่เห็นเลยอ่ะ Hero (1992) | A real emergency! | นี่ เห็นหนังสือพิมพ์มั่งมั้ย Hero (1992) | A non-passenger, non-rescue worker went into a burning plane and pulled me out and disappeared? | คนนั้น เค้าใช่ผู้ชายมาเฟียที่ลงหนังสือพิมพ์วันก่อนป่าวอ่ะ เธอรู้จักเค้าเหรอ Hero (1992) | My son and I got separated in the confusion and smoke. | ข้อเสนอที่คุณบอกว่าจะให้เปิดสำนักพิมพ์น่ะ ยังอยู่ใช่มั้ย Hero (1992) | All of a sudden, this civilian he rushed into the plane. | หนังสือพิมพ์เหรอ Hero (1992) | Leslie, the other flight attendant, told me the guy dragged me to the exit. | โจยังด๊อก กับ จินดูวุค เปิดสำนักพิมพ์งั้นเหรอ นี่นายจัดการเรื่องเมื่อคืนเรียบร้อยมั้ย Hero (1992) | One million bucks to angel who saved 50 people takes off! | นี่นายเพิ่งบอกว่าหนังสือพิมพ์งั้นเหรอ นายล้อเล่นใช่มั้ย ผมเปล่านะ Hero (1992) | Cut! | คุณบอกว่าหนังสือพิมพ์งั้นเหรอ Hero (1992) | Right there. Right on that look. | นี่นายจะเปิดสำนักพิมพ์งั้นสิ Hero (1992) | He saved my life. | นี่มันมีข้อห้ามในการเปิดสำนักพิมพ์รึงไนะ Hero (1992) | The survivors were shocked to learn that the hero who appeared and pulled them to safety was indigent and hadn't slept in a bed in more than three years. | วันนี้ชั้นสนใจหัวข้อข่าวในหนังสือพิมพ์มากเลยล่ะ เรื่องคนที่มีเรื่องกับนักข่าว แฃ้วก้อคนที่เขียนข่าวมั่วๆ จะมาเปิดหนังสือพิมพ์ด้วยกัน Hero (1992) | People look at the newspaper, and they see the articles... | คนเรามองดูในหนังสือพิมพ์ แล้วพวกเขาก็เห็นบทความ... The Joy Luck Club (1993) | Publishers, authors, critics and their wives. | ทั้งสำนักพิมพ์ นักเขียน นักวิจารณ์กับพวกภรรยาของเขา The Joy Luck Club (1993) | His dad owned a publishing empire. | พ่อของเขาเป็นเจ้าของอาญาจักรสิ่งพิมพ์ The Joy Luck Club (1993) | It's costing me a fortune. | พิมพ์ให้จบ เว้นช่องสุดท้ายไว้ Schindler's List (1993) | It would make us appear stupid if my field report read like a tabloid story. | มันอาจดูเป็นเรื่องโง่ๆนะ ถ้ารายงานของฉัน อ่านแล้วเหมือนเรื่องในหนังสือพิมพ์ Squeeze (1993) | Paul Mosinger. I work for the local paper. We live near Verla mclennen. | ผม Paul Mosinger ทำงานหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ผมรู้ว่าคุณไปพบ Verla McLennen. Squeeze (1993) | The publishing house? | สำนักพิมพ์เหรอ In the Mouth of Madness (1994) | We've delayed publication as long as we can. | เราตีพิมพ์ล่าช้ากว่ากำหนดมานานมากแล้ว In the Mouth of Madness (1994) | Or just something that is created by the press? | หรืออาจเป็นบางอย่างที่เกิดขึ้นจากสิ่งพิมพ์ล่ะ In the Mouth of Madness (1994) | I will be joining my new publishers now. | ฉันกำลังจะไปเข้าร่วมกับสำนักพิมพ์ใหม่แล้ว In the Mouth of Madness (1994) | You want a paper? | จะซื้อหนังสือพิมพ์เหรอครับ In the Mouth of Madness (1994) | If you could write it, I'd publish it. | ถ้าคุณเขียนออกมาได้ ผมเอามาตีพิมพ์ได้เลยนะเนี่ย In the Mouth of Madness (1994) | For God's sakes, we published in July. | เห็นแก่พระเจ้าเถอะ เราเพิ่งพิมพ์ไปเมื่อเดือนกรกฎาคม In the Mouth of Madness (1994) | [ English - US - SDH ] | บทบรรยายไทย ธนัชชา ศักดิ์สยามกุล พิมพ์ไทยเวอร์ชั่นนี้ mamadidiho The One Where Monica Gets a Roommate (1994) | [ English - US - SDH ] | บทบรรยายไทย ธนัชชา ศักดิ์สยามกุล พิมพ์ไทยเวอร์ชั่นนี้ mamadidiho The One with George Stephanopoulos (1994) | [ English - US - SDH ] | บทบรรยายไทย ธนัชชา ศักดิ์สยามกุล พิมพ์ไทยเวอร์ชั่นนี้ mamadidiho The One with the East German Laundry Detergent (1994) | With his museum and his papers getting published. | ทั้งงานที่พิพิธภัณฑ์ ทั้งบทความที่จะตีพิมพ์ The One with the Sonogram at the End (1994) | [ English - US - SDH ] | บทบรรยายไทย ธนัชชา ศักดิ์สยามกุล พิมพ์ไทยเวอร์ชั่นนี้ mamadidiho The One with the Sonogram at the End (1994) | Full stop. | หยุดพิมพ์ The Great Dictator (1940) | In the papers it's rumored that Hynkel's going to give the Jews back their rights. | ใน หนังสือพิมพ์ ลือว่าเกิดอะไรกับ เฮนเคิล เพื่อให้ชาวยิวกลับมามีสิทธฺิ The Great Dictator (1940) | The papers say Schultz may be in the ghetto. | หนังสือพิมพ์บอกว่า ชูลท์ซ อยู่ในชุมชนยิว The Great Dictator (1940) |
| อ่านหนังสือพิมพ์ | [ān nangseūphim] (v, exp) EN: read a newspaper FR: lire un journal | แบบพิมพ์ | [baēpphim] (n) EN: form ; printed form FR: formulaire [ m ] | บริษัทผู้พิมพ์ | [børisat phūphim] (n, exp) FR: société d'impression [ f | ฉบับพิมพ์ครั้งแรก | [chabap phim khrang raēk] (n, exp) EN: first edition FR: première édition [ f ] | ช่างพิมพ์ | [chang phim] (n) EN: printer FR: imprimeur [ m ] | ช่างพิมพ์หิน | [chang phim hin] (n, exp) EN: lithographe [ m ] | ช่างพิมพ์ดีด | [chang phimdīt] (n, exp) EN: typist | ช่างเรียงพิมพ์ | [chang rīengphim] (n) EN: type compositor | ดีดพิมพ์ | [dītphim] (v, exp) FR: taper à la machine | จันทรพิมพ์ | [jantharaphim] (n, exp) EN: disk of the moon FR: disque lunaire [ m ] | จัดพิมพ์ | [jatphim] (v) EN: publish FR: éditer ; publier | จัดพิมพ์โดย... | [jatphim dōi …] (v, exp) EN: published by … FR: édité par … | การจัดพิมพ์ | [kān jatphim] (n) FR: publication [ f ] | การพิมพ์ | [kān phim] (n) EN: printing FR: impression [ f ] ; tirage [ m ] | คนขายหนังสือพิมพ์ | [khonkhāi nangseūphim] (n, exp) EN: news vendor | คนส่งหนังสือพิมพ์ | [khonsong nangseūphim] (n) EN: newspaper deliver FR: livreur de journaux [ m ] | เครื่องจักรสำหรับพิมพ์ | [khreūangjak samrap phim] (n, exp) EN: printing machine | เครื่องพิมพ์ | [khreūangphim] (n, exp) EN: printer ; computer printer FR: imprimante [ f ] | เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก | [khreūangphim baēp phon meuk] (n, exp) EN: inkjet printer FR: imprimante à jet d'encre [ f ] | เครื่องพิมพ์ดีด | [khreūangphimdīt] (n, exp) EN: typewriter FR: machine à écrire [ f ] | เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า | [khreūangphimdīt faifā] (n, exp) EN: electric typewriter FR: machine à écrire électrique [ f ] ; machine à écrire électronique [ f ] | เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ | [khreūangphim døt maēthrik] (n, exp) EN: dot matrix printer ; impact matrix printer FR: imprimante matricielle [ f ] ; imprimante à aiguilles [ f ] | เครื่องพิมพ์เลเซอร์ | [khreūangphim lēsoē] (n, exp) EN: laser printer FR: imprimante laser [ f ] | กระดาษหนังสือพิมพ์ | [kradāt nangseūphim] (n, exp) EN: nenewsprint ; newspaper sheet FR: papier journal [ m ] | กระดาษพิมพ์ | [kradāt phim] (n, exp) EN: printing paper FR: papier d'impression [ m ] | กระดาษพิมพ์ขนาด ... | [kradāt phim khanāt ...] (n, exp) FR: papier d'impression de format ... [ m ] | กระดาษพิมพ์ขนาด A4 | [kradāt phim khanāt ē-sī] (n, exp) EN: A4 printing paper FR: papier d'impression de format A4 [ m ] ; papier d'impression A4 [ m ] | แม่พิมพ์ | [maēphim] (n) EN: mold ; model ; plate ; mould ; printing block ; matrix FR: moule [ m ] ; matrice [ f ] ; modèle [ m ] | แม่พิมพ์ | [maēphim] (n) EN: teacher ; instructor ; tutor ; master/mistress ; mentor ; schoolteacher ; educator | มะม่วงพิมเสน | [mamūang phimsēn] (n, exp) EN: ? FR: ? | นักหนังสือพิมพ์ | [naknangseūphim] (n) EN: journalist FR: journaliste [ m, f ] | หนังสือพิมพ์ | [nangseūphim] (n) EN: newspaper ; paper ; press FR: journal [ m ] ; quotidien [ m ] ; presse [ f ] ; gazette [ f ] (Belg.) | หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ | [nangseūphim rāisapdā] (n, exp) EN: weekly newspaper FR: hebdomadaire [ m ] ; presse hebdomadaire [ f ] | หนังสือพิมพ์รายวัน | [nangseūphim rāiwan] (n, exp) EN: daily newspaper FR: quotidien [ m ] ; presse quotidienne [ f ] | ออกหนังสือพิมพ์ | [øk nangseūphim] (v, exp) EN: publish a newspaper | แป้นพิมพ์ | [paēn phim] (n) EN: keyboard FR: clavier [ m ] | ภาพพิมพ์ | [phāpphim] (v) EN: print | ภาพพิมพ์หิน | [phāpphim hin] (n, exp) EN: lithograph FR: lithographie [ f ] | ภาษาหนังสือพิมพ์ | [phāsā nangseūphim] (n, exp) EN: newspaper language FR: langage journalistique [ m ] | พิมพ์ | [phim] (v) EN: print ; press ; type FR: imprimer ; mettre sous presse ; sortir | พิมพ์ | [phim] (v) EN: type in FR: taper | พิมพ์ | [phim] (n) EN: mould ; matrix FR: moule [ m ] | พิมาย | [Phimāi] (n, prop) EN: Phimai FR: Phimai | พิมพ์ได้ | [phim dāi] (adj) FR: publiable | พิมพ์ดีด | [phimdīt] (v) EN: type ; typewrite FR: taper à la machine | พิมพ์หิน | [phim hin] (n, exp) EN: lithography FR: lithographie [ f ] | พิมพ์หิน | [phim hin] (v, exp) FR: lithographier | พิมพ์ใจ | [phimjai] (v) EN: impress FR: impressionner | พิมพ์จำหน่าย | [phimjamnāi] (v) EN: publish FR: éditer ; publier | พิมพ์เขียว | [phimkhīo] (n) EN: blueprint FR: projet [ m ] |
| sidebar | (n) ข่าวหรือข้อมูลสั้นๆที่แทรกอยู่ข้างๆของข่าวหรือข้อความหลักทั้งในสิ่งพิมพ์บนเว็บและในหนังสือ โดยมากมักจะมีความเกี่ยวข้องกับข้อความหลัก | clipping | (n) กฤตภาค, ข่าวในหนังสือพิมพ์ที่ตัดเป็นชิ้นๆ เช่น The company is a public relations supplier of media directories, media software, press clippings, Internet clipping, media lists and news. | colophon | (n) ข้อมูลทางบรรณานุกรม, ชื่อและที่อยู่ของสำนักพิมพ์บนปกหน้าของหนังสือ |
| appear | (vi) พิมพ์จำหน่าย | back issue | (n) สำเนาหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารจากอดีต, Syn. back copy, back member | back number | (n) หนังสือพิมพ์/นิตยสารที่เคยตีพิมพแล้วแต่ยังมีค่าอยู่, See also: สำเนาหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารฉบับที่ออกไปแล้ว, Syn. back issue | backspace | (n) เคาะกลับหรือไปข้างหน้า (เครื่องคอมพิวเตอร์/เครื่องพิมพ์ดีด) | batik | (n) การพิมพ์ผ้าด้วยมือ, See also: เทคนิคการย้อมสีสิ่งทอด้วยมือโดยใช้ขี้ผึ้งเป็นตัวปกคลุมส่วนที่ไม่ต้องการย้อม, สิ่งทอท, Syn. tie-dyeing | blueprint | (n) พิมพ์เขียว, See also: แบบสร้าง, Syn. design, plan, draft | braille | (n) ระบบการพิมพ์อักษรเบลล์สำหรับคนตาบอด | braille | (vt) พิมพ์ตัวหนังสือเบลล์, See also: พิมพ์ด้วยอักษรเบลล์ | broadsheet | (n) หนังสือพิมพ์ขนาดใหญ่ | byline | (n) บรรทัดแรกหรือสุดท้ายในหนังสือพิมพ์/นิตยสารที่ลงชื่อผู้เขียน | bang out | (phrv) รีบพิมพ์ (ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด) | block out | (phrv) ทับ (รูปภาพ, การพิมพ์), See also: ปิดทับ | capital letter | (n) ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ในภาษาอังกฤษ | capitalize | (vt) ใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ | capitalize | (vi) ใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ | carrier | (n) คนส่งหนังสือพิมพ์ | cartoon strip | (n) การ์ตูนสั้นๆ ในหนังสือพิมพ์, Syn. comic strip, strip cartoon | clipping | (n) ข่าวสารที่ตัดจากหนังสือพิมพ์หรือนิตยาสาร | column | (n) คอลัมน์ในหนังสือพิมพ์, Syn. comment, editorial, article, review | column | (n) ช่อง (ในหนังสือพิมพ์), See also: แถวหรือรายการที่เป็นแนวตรง | columnist | (n) ผู้เขียนในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร, See also: คอลัมน์นิสต์ | copperplate | (n) แผ่นพิมพ์ที่ทำจากทองแดง | copy | (vt) ทำสำเนา, See also: ถ่ายสำเนา, พิมพ์สำเนา, คัดลอก, อัดสำเนา | copyboy | (n) เด็กที่ทำหน้าที่ส่งจดหมายหรือเอกสารในสำนักงานหนังสือพิมพ์ | copyholder | (n) ที่ตั้งหนังสือ, See also: เครื่องมือที่ใช้วางหนังสือในแนวตั้ง เพื่อช่วยให้คนพิมพ์อ่านได้ง่ายขึ้นขณะพิมพ์ | cupcake | (n) เค้ก, See also: ขนมเค้กที่อยู่ในถ้วยพิมพ์ | cursor | (n) เคอร์เซอร์, See also: สัญลักษณ์บนจอคอมพิวเตอร์ที่แสดงให้เห็นจุดที่สามารถพิมพ์ตัวหนังสือได้ | cutting | (n) บทความที่ตัดจากหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร, Syn. clipping | contribute to | (phrv) ส่งเรื่องไปตีพิมพ์ (หนังสือ, นิตยสารฯลฯ) | contribute towards | (phrv) ส่งเรื่องไปตีพิมพ์ (หนังสือ, นิตยสารฯลฯ) | daily | (n) หนังสือพิมพ์รายวัน, See also: หนังสือรายวัน | demy | (n) ขนาดกระดาษสำหรับพิมพ์ดีดหรือเขียน | design | (n) แบบ, See also: พิมพ์เขียว, แบบบ้าน, ภาพร่าง, Syn. pattern, layout, blueprint, draft, sketch | deskman | (n) คนทำงานนั่งโต๊ะ (โดยเฉพาะนักหนังสือพิมพ์) | die | (n) แม่พิมพ์ตอกโลหะ | draft | (vt) ทำพิมพ์เขียว, Syn. blueprint | edition | (n) จำนวนพิมพ์ทั้งหมดต่อครั้ง | edition | (n) รูปแบบของสิ่งพิมพ์, Syn. printing, publication, version | electronic publishing | (n) การพิมพ์ข้อมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเก็บข้อมูลลงในแถบแม่เหล็กแผ่นดิสก์หรือซีดีรอม ซึ่งอ่านข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ | electrotype | (vt) พิมพ์ด้วยแม่พิมพ์โลหะ, See also: ทำแม่พิมพ์โลหะ | electrotype | (n) แม่พิมพ์โลหะหรือกระบวนการทำแม่พิมพ์โลหะ | electrotype | (n) สิ่งพิมพ์ที่จากแม่พิมพ์โลหะ | elite | (n) ตัวพิมพ์ดีดแบบหนึ่ง มีขนาด 12 ตัวอักษรต่อความยาว 1 นิ้ว, See also: แบบของตัวพิมพ์ที่มีขนาด 12 ตัวอักษรต่อ 1 นิ้ว น้อยกว่า 5 ตัวอักษรต่อ 1 เซนติเมตร | em | (n) หน่วยวัดขนาดของตัวพิมพ์ | expose | (vt) เผยความลับของคนอื่น (โดยการตีพิมพ์หรือออกอากาศ), See also: เปิดเผยความผิดของคนอื่น, Syn. disclose, reveal, unveil | expurgate | (vt) ตัดส่วนที่ไม่เหมาะสมออกก่อนตีพิมพ์, Syn. censor, edit | file | (vt) ส่งต้นฉบับไปที่สำนักพิมพ์, See also: ส่งต้นฉบับไปที่สำนักข่าว | fingerprint | (vt) พิมพ์ลายนิ้วมือ | folio | (n) กระดาษพับสองยกสี่หน้า (สำหรับตีพิมพ์เป็นหนังสือ) | font | (n) ชุดหรือรูปแบบตัวพิมพ์ |
| _ | เครื่องหมาย underscore เป็นอักขระตัวหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีลักษณะดังนี้ (-) ถ้าเป็นแป้นในพิมพ์ดีดจะใช้สำหรับขีดเส้นใต้ (underline) แทน แต่ในคอมพิวเตอร์ การขีดเส้นใต้มักนิยมใช้เป็นคำสั่ง (underline) แทน แต่บนแผงแป้นพิมพ์ก็ยังมีแป้นนี้อยู่ เมื่อกดแป้นนี้ คอมพิวเตอร์จะถือเสมือนเป็นตัวอักขระตัวหนึ่ง แต่ไม่สามารถใช้เป็นการขีดเส้นใต้ได้ต่อไปอีก เช่น อาจตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลว่า A-B ก็ได้ | accession | (แอคเซส' เชิน) n. การเข้าครอบครอง, การเพิ่มขึ้น, สิ่งที่เพิ่มหรือใส่เข้า, การพิมพ์ขึ้นของทรัพย์สิน, การตกลง, ลงบัญชี, สรรหา, Syn. succession | adapter | (อะแดพ' เทอะ) n. บุคคลหรือสิ่งที่ปรับตัว, เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่เชื่อมส่วนที่มีขนาด่หรือแบบแตกต่างกันให้เข้ากันได้, อุปกรณ์. ตัวปรับต่อตัวปรับแผงวงจร (card) ที่มีสายไฟเชื่อมระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อให้ใช้ด้วยกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ ถ้าผิดขนาด ผิดรุ่นกัน จะต้องมี "ตัวปรับต่อ" เพื่อให้ใช้ด้วยกันได้ บางทีอาจเสียบไว้ในช่องเสียบ (expansion slot) เลยก็ได้ | adobe pagemaker | โปรแกรมอโดบี เพจเมกเกอร์ <คำแปล>PageMakerเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ใช้ในการจัดหน้าสิ่งพิมพ์ เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากโปรแกรมหนึ่ง เดิมใช้ชื่อ Aldus PageMaker | adobe photoshop | โปรแกรมอโดบี โฟโทช็อป <คำแปล>Photoshopเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จโปรแกรมหนึ่งที่ช่วยในการแก้ไขปรับแต่งภาพ โดยเฉพาะภาพถ่าย ปัจจุบันนิยมใช้กันมาก มักใช้ในการจัดทำสิ่งพิมพ์คู่กับโปรแกรม อโดบี เพจเมกเกอร์ (Adobe PageMaker) บริษัทอโดบีเป็นบริษัทที่ผลิตซอฟต์แวร์ใหญ่ที่สุดบริษัทหนึ่ง โปรแกรมดัง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนอกจาก Photoshop, PageMaker แล้ว ยังมี Adobe Acrobat, Adobe Illustrator, Adobe Type Manager เป็นต้น) | agate | (แอก' กิท) n. หินโมรา, ต้วพิมพ์หล่อ (point 5.5) | alert box | ช่องข้อความเตือนหมายถึงช่องข้อความที่คอมพิวเตอร์จะแสดงให้เห็นบนจอภาพ มีข้อความเตือนในเรื่องการใช้คำสั่งบางประการที่อาจทำให้เกิดผลเสีย เช่น เครื่องพิมพ์ไม่มีกระดาษ ข้อความบางตอนอาจศูนย์หาย ฯ เป็นต้น | alphameric | อักขระที่เป็นตัวเลขอักษรเลขหมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่พิมพ์จากแป้นพิมพ์ ทั้งตัวอักษร และตัวเลข | alphanumeric characters | หมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่พิมพ์จากแป้นพิมพ์ ทั้งตัวอักษร และตัวเลข | alt key | แป้นสลับเป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำ ALT (ย่อมาจาก alternate) อยู่บนแป้น แป้นนี้ต้องใช้พร้อมกับแป้นอื่น ๆ จึงจะเป็นคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่าง เช่น เมื่อ กดแป้น ALT+P (กดแป้น ALT และแป้นตัวอักษร P พร้อมกัน) จะเท่ากับเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์พิมพ์แฟ้มข้อมูล | alternate key | เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ (มีคำ ALT อยู่บนแป้น) แป้นนี้ต้องใช้พร้อมกับแป้นอื่น ๆ จึงจะเป็นคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่าง เช่น เมื่อ กดแป้น ALT+P (กดแป้น ALT และแป้นตัวอักษร P พร้อมกัน) จะเท่ากับเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์พิมพ์แฟ้มข้อมูล | anastatic | (แอนนะสแทท' ทิค) adj. พิมพ์นูน | anonym | (แอน' โนนิม) n. ชื่อแฝง, ชื่อปลอม, คนที่ไม่แจ้งชื่อ, ผู้เขียนที่แฝงนาม, สิ่งตีพิมพ์ที่ไม่ระบุชื่อผู้เขียน, Syn. pseudonym | apple computer inc. | บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ <คำแปล>เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล ชุดที่โด่งดังมาก ได้แก่ แอปเปิลทู (Apple II) และ แมคอินทอช (Macintosh) ฯ คอมพิวเตอร์แอปเปิลที่วางขาย ในตลาดรุ่นแรก ๆ นั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างความฮือฮาอย่างมากในวงการคอมพิวเตอร์ เพราะเป็นครั้งแรก (ราว ค.ศ.1977) ที่มีการผลิตคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กในราคาที่คนทั่วไปจะหาไว้ใช้เป็นสมบัติส่วนตัวได้ ผู้ที่ช่วยกันริเริ่มคิดประดิษฐ์ได้แก่ Steve Jobs กับ Steve Wozniak สองสหายวัยรุ่นที่สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกในโรงรถ ส่วนเครื่องรุ่นแมคอินทอชนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแรกที่เริ่มนำสัญรูป (icon) รายการคำสั่ง แบบดึงลง (pull down menu) กรอบสนทนา (dialog box) เมาส์ (mouse) ฯลฯ มาใช้ ทำให้คนทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ของยากอะไรเลย ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้หนักไปในด้านการผลิตสิ่งพิมพ์ (desktop publishing) อย่างไรก็ตาม หาใช่มีแต่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชเท่านั้นไม่ที่ใช้ระบบการทำงานดังที่กล่าวแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีก็เลียนแบบ โดยการนำเอาระบบวินโดว์มาใช้ | apple desktop bus | ตัวนำข้อมูลเข้า <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ADB หมายถึง ตัวประสาน (interface) ที่ทำหน้าที่ประสานการทำงานของแป้นพิมพ์ เมาส์ (mouse) แทร็กบอลล์ (trackball) ฯ และอุปกรณ์ป้อนข้อมูลอื่น ๆ ให้สามารถนำข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้ (เฉพาะแมคอินทอช) | aquatone | (แอค'วะโทน) n. ขบวนการพิมพ์ระบบออฟเซท (offset) จากแผ่นโลหะที่ฉาบด้วยแยลลาตีนที่ไวต่อแสง, สิ่งตีพิมพ์ด้วยระบบดังกล่าว | arrow keys | แป้นลูกศรเป็นแป้นพิมพ์พิเศษที่ใช้เพื่อการเลื่อนตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ให้ขึ้นลง หรือขยับไปทางซ้ายหรือ ขวาได้ แป้นลูกศรนี้มีอยู่ 4 แป้นและจะมีลูกศรเล็ก ๆ เป็นเครื่องหมายบ่งบอกทิศทางของการ เลี่อน (ซ้าย, ขวา, บน, ล่าง) | autoexec.bat | ชื่อแฟ้มคำสั่งรวม <คำแปล>เป็นชื่อของแฟ้มเก็บคำสั่งรวม (batch file) แฟ้มหนึ่ง ถือเป็นแฟ้มพิเศษ เพราะคอมพิวเตอร์จะทำตามคำสั่งในแฟ้มที่ชื่อนี้ทันทีที่เปิดเครื่อง โดยมาก จะเขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เรียกโปรแกรมต่าง ๆ มาใช้ได้เลย โดยไม่ต้องเสียเวลาหาว่า โปรแกรมที่ต้องการอยู่ในสารบบ (directory) ใด ใช้คำสั่งเข้าไปในสารบบนั้น แล้วจึงตามด้วยชื่อแฟ้มที่เป็นโปรแกรม แต่ผู้ใช้สามารถพิมพ์ชื่อโปรแกรมได้เลย ตัวอย่างแฟ้ม autoexec.bat ที่นำเข้าสู่ โปรแกรม FoxPro โดยผ่านโปรแกรม VTHAI อาจมีข้อความดังนี้ echo off cls cd FOXPRO25 VTHAI/U CD\ AUX : axis : | automated office | สำนักงานอัตโนมัติหมายถึงสำนักงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน เช่น การเก็บข้อมูล การพิมพ์เอกสาร ฯ บางทีใช้ office automation | autotype | (ออ'โทไทพ) n. สิ่งที่ประดิษฐ์จากแบบเดิม, ขบวนการพิมพ์ ด้วยสารสีคาร์บอน. -autotype n. -autotypic adj. (facsimile) | backspace key | ปุ่มย้อนถอยหลัง <คำแปล>เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ บางทีมีขนาดยาวกว่าแป้นพิมพ์อื่น บางทีมีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรหันหัวลูกศรไปทางซ้าย (บางทีมีคำ BS) โปรแกรมสำเร็จหลายโปรแกรมกำหนดไว้ว่า การกดแป้นนี้ทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ถอยไปทางซ้าย 1 ตัวอักษร และลบตัวอักษรทางซ้ายนั้นออกให้ด้วย | bimonthly | adj., adv. n. (สิ่งตีพิมพ์) เกิดขึ้นทุกสองเดือน, เดือนละสองครั้ง | biweekly | (ไบวีค'ลี่) adj., adv., ทุกสองอาทิตย์, อาทิตย์ละสองครั้ง n. สิ่งตีพิมพ์ที่ออกทุก 2 อาทิตย์ | black-and-white | adj. มีเพียงสีดำและขาวเท่านั้น, เกี่ยวกับระบบที่มีเพียง2ค่า, ไม่มีสี, ไม่ระบายสี', เขียนหรือพิมพ์, Syn. writing or print | blank | (แบลงคฺ) { blanked, blanking, blanks } adj. ว่าง, ว่างเปล่า, ปราศจากเรื่องราว, ยังไม่ได้เขียนหรือพิมพ์อะไร, จืดชืด, ไม่น่าสนใจ, โดยสิ้นเชิง, ทั้งสิ้น, ซีด, ไร้สี n. สถานที่ว่างเปล่า, ช่องว่างสำหรับเติม, แบบฟอร์มที่ว่างเปล่า, จุดขาวตรงกลางของเป้า, เป้า, กระสุนเปล่า, เครื่องห | block | (บลอค) { blocked, blocking, blocks } n. ท่อนไม้, ท่อนหิน, ก้อนใหญ่, ชิ้นใหญ่, ห่อดินระเบิด, แท่นโลหะ, เขียง, แม่พิมพ์, ลูกรอก, ตะแลงแกง, ตึกที่แบ่งออกเป็นส่วน, เครื่องกีดขวาง, ทั้งแถว, ทั้งก้อน, ทั้งปีก, ตึกใหญ่, คฤหาสน์ใหญ่, อุปสรรค, การขัดขวาง, เขตหนึ่งของตัวเมือง, เขตห่างไกลท | block letter | ตัวพิมพ์ใหญ่ | blueprint | (บลู'พรินทฺ) n. พิมพ์เขียว, แผนงานที่ละเอียด vt. ทำพิมพ์เขียว, ร่างแผนอย่างละเอียด | bold-faced | (โบลดฺ'เฟสดฺ) adj. ทะลึ่ง, มุทะลุ, อวดดี, มีตัวพิมพ์ที่หนา, See also: bold-facedness n. | boldface | (โบลด'เฟส) n. ตัวพิมพ์หนา adj. มีตัวพิมพ์ที่หนา | bs | abbr. blood sugar, breath sound, bowel sound, (บีเอส) 1. ย่อมาจาก billisecond เท่ากับ 1/1, 000 ล้านวินาที 2. ถ้าอยู่บนแป้นพิมพ์ จะเป็นตัวย่อของ backspace ใช้เป็นแป้นถอยหลัง ดู Backspace key | bubble jet printer | เครื่องพิมพ์แบบบับเบิลเจ็ตหมายถึง เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึกที่ใช้ความร้อนฉีดหมึกออกมาแทนที่จะใช้ไฟฟ้า | buffer | (บัฟ'เฟอะ) { buffered, buffering, buffers } n. ตัวกันชน, สารที่สามารถทำให้ทั้งกรดและด่างเป็นกลาง, เครื่องขัดเงา, คนงานขัดเงา vt. ใส่ตัวทำให้กรดหรือด่างเป็นกลาง, ผ่อนคลาย, ปกป้อง, กันชน, Syn. cushion ที่พัก ข้อมูล กันชนบัฟเฟอร์ในกรณีที่อัตราความเร็วในการทำงานของอุปกรณ์บางอย่างมีความเร็วไม่เท่ากัน เป็นต้นว่า เครื่องพิมพ์และหน่วยประมวลผลซึ่งทำงานด้วยความเร็วที่แตกต่างกันมาก คอมพิวเตอร์ประมวลผลเสร็จแล้วจึงต้องส่งผลมารออยู่ที่บัฟเฟอร์ก่อน เพราะเครื่องพิมพ์จะใช้เวลามากกว่าในการพิมพ์ พิมพ์ตามไม่ทัน เราจะพบบ่อย ๆ ว่า แม้ว่าจะสั่งให้หยุดพิมพ์ แต่เครื่องพิมพ์จะไม่หยุดทันที ทั้งนี้เป็นเพราะมีข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ส่งไปรออยู่ที่บัฟเฟอร์แล้ว เครื่องพิมพ์จะต้องพิมพ์จนหมดข้อมูลในบัฟเฟอร์นี้ จึงจะหยุด คอมพิวเตอร์นั้นจะมีที่พักข้อมูลทั้งเมื่อรับข้อมูลเข้าและเมื่อส่งข้อมูลออก อันที่จริง บัฟเฟอร์ก็เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยความจำนั่นเอง | built-in font | แบบอักษรที่ติดมากับเครื่องพิมพ์เครื่องพิมพ์ทุกเครื่องจะมีแบบอักษรที่ติดมากับเครื่องอย่างน้อยหนึ่งแบบ แต่ผู้ใช้ก็สามารถติดตั้งเพิ่มเติมได้ | bulldog edition | n. หนังสือพิมพ์ฉบับตอนเช้า | bulletin | (บูล'ละทิน) n. แถลงการณ์, ประกาศ, รายงานข่าว, สิ่งตีพิมพ์ที่ออกมาเป็นระยะ | cachet | (เคเช?', แคช'เช?) n. ตราประทับ, สัญลักษณ์, เกียรติคุณ, คำขวัญที่พิมพ์บนซองหรือจดหมาย, Syn. mark | cad | 1. abbr. coronary artery disease 2. (แคด) ย่อมาจาก computer aided design แปลตรง ๆ ได้ว่า การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วย หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ดู CAM ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM | campus area network | ข่ายงานบริเวณวิทยาเขตหมายถึงข่ายงานร่วมกันภายในแต่ละมหาวิทยาลัยที่มีวิทยาเขต (campus) หลายวิทยาเขต คอมพิวเตอร์ในแต่ละวิทยาเขตจะทำงานร่วมกันได้ ใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมร่วมกันได้ ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือใช้อุปกรณ์บางอย่างร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ นับเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดีดู local area network ประกอบ | capitalize | (แคพพิท'ทะไลซ) { capitalized, capitalised, capitalizing, capitalising, capitalizes, capitalises } vt. เขียนหรือพิมพ์ด้วยอักษรตัวใหญ่, เสนอทุนให้, ให้ทุน, ประเมินค่าของหลักทรัพย์หรือหุ้น, ใช้ประโยชน์ของ, See also: capitalisation n. ดู capitalize, capitalizat | caps lock key | แป้นตรึงอักษรตัวใหญ่ <คำแปล>เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำ Caps lock อยู่บนแป้น ปกติจะมีในเครื่องพิมพ์ดีดธรรมดาด้วย หากกดแป้นนี้ไว้ครั้งหนึ่งแล้ว ถ้าเป็นการพิมพ์ภาษาอังกฤษ จะมีผลทำให้การกดแป้นพิมพ์ตัวอักษรทุกตัวออกมาเป็นตัวใหญ่ (capital letter) ไปตลอด เหมือนกดแป้น Shift ไปพร้อมกัน แต่ถ้าพิมพ์ภาษาไทย การกดแป้นนี้ไว้ตั้งแต่แรก แล้วไปกดแป้นอื่น ก็จะเท่ากับเป็นการพิมพ์ตัวที่อยู่ข้างบนของแป้นพิมพ์ เช่น ฤ ฆ ฏ 1 2 หากต้องการยกเลิก ให้กดแป้นนี้ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง | carbon ribbon | ผ้าหมึกพิมพ์หมายถึง แถบผ้าหมึกที่ใช้ในเครื่องพิมพ์แบบกระทบ (impact printer) ผ้าหมึกนี้จะเป็นตัวทำให้ตัวหนังสือชัดหรือจาง ถ้าเมื่อใด ตัวหนังสือที่พิมพ์จาง ลองตรวจสอบดูผ้าหมึกพิมพ์ เพราะผ้าหมึกพิมพ์อาจจะเก่า ให้จัดการเปลี่ยนใหม่ | carriage return | ปัดแคร่แป้นปัดแคร่ใช้ตัวย่อว่า CR ในทางคอมพิวเตอร์ ถือเป็นตัวอักขระตัวหนึ่งที่มองไม่เห็น ใช้เมื่อสิ้นสุดการพิมพ์แต่ละบรรทัด และทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ลงไปอยู่เป็นตำแหน่งแรกของบรรทัดถัดลงมา โดยปกติ จะกำหนดให้กดแป้น <RETURN> หรือ <ENTER> | cartridge | (คาร์'ทริจฺ) 1. n. กระสุนปืน, ลูกกระสุน, ลำกล้องดินระเบิด, ภาชนะใส่ของเหลวหรือแก๊ส, ที่ม้วนเทป 2. อาจเป็นได้ทั้งตลับเทปหรือกล่อง ใช้เก็บข้อมูล ปัจจุบัน ไม่ค่อยนิยมใช้ บางทีใช้เป็นที่บรรจุเกมส์ต่าง ๆ เรียกว่า game cartridge ส่วน font cartridge หมายถึง ตลับที่ใช้เก็บแบบตัวอักษรสำหรับใส่ในเครื่องพิมพ์บางชนิด ถ้าใช้กับเครื่องพิมพ์หมายถึงที่ใส่หมึกสำหรับพิมพ์ เรียกว่า toner cartridge | case | (เคส) { cased, casing, cases } n. เรื่อง, กรณี, สภาพ, ข้อเท็จจริง, หลักฐานพยาน, ตัวอย่างที่เป็นจริง, รูปการ, โรค, คนไข้, ราย, ข้อสนับสนุน, การฟ้องร้อง, คดี, กล่อง, ลัง, หีบ, ปลอกหุ้ม, ปลอก, ซอง, อุปกรณ์บรรจุ, ถาดซองตัวพิมพ์ vt. บรรจุในกล่อง (ลัง, หีบ ฯลฯ) ห่อหุ้ม, ล้อม, ตรวจสอบดู - | centronics port | ช่องเซ็นโทรนิกส์ <ความหมาย>หมายถึง ช่องทางเข้า/ออกที่เดิมใช้เสียบสายเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ กับเครื่องพิมพ์เซ็นโทรนิก ปัจจุบันใช้หมายถึงเพียงช่องขนาน (pararell port) ที่อยู่ทางด้านหลังของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ดู pararell port เปรียบเทียบ | chain printer | เครื่องพิมพ์สายโซ่เครื่องพิมพ์เป็นอุปกรณ์ส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้โซ่หรือแกนอักษรหมุนในแนวนอนรอบแกนตั้ง 2 แกน เมื่อตัวอักษรที่ต้องการมาอยู่ตรงตำแหน่งที่กำหนดให้ เครื่องจะใช้ค้อนตีให้อักษรนั้น ปรากฏบนกระดาษ โดยผ่านลงบนผ้าหมึกพิมพ์ | chapel | (แชพ'เพิล) n. โบสถ์เล็ก, พิธีทางศาสนา, โรงพิมพ์, ห้องในโรงพิมพ์, โรงสวด, ห้องสวดมนต์ในโรงเรียน, โรงพยาบาล | character graphics | อักขระภาพหมายถึง สัญลักษณ์หรือภาพต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นโดยการกดแป้นพิมพ์ ถือว่าเป็นแบบอักษร (font) แบบหนึ่ง (สำหรับเครื่องพีซี อาจใช้วิธีกดแป้น ALT+ เลขต่าง ๆ ตาม รหัสที่กำหนดไว้ก็ได้) เช่น แบบตัวอักขระภาพที่มากับระบบวินโดว์ของพีซี มีชื่อว่า Wingdings ส่วนของแมคอินทอช ชื่อ Zapf การขยายหรือลดขนาดภาพเหล่านี้ ใช้วิธีเดียวกับที่ทำกับแบบอักษรอื่น ๆ ไม่ใช่วิธีที่ทำกับภาพ | character reader | เครื่องอ่านอักขระหมายถึง เครื่องอ่านอักขระจากตัวพิมพ์ซึ่งจะต้องมีลักษณะพิเศษที่เป็นมาตรฐาน การอ่านใช้วิธีให้แสงผ่านช่องว่างของตัวอักขระนั้น ๆ แล้วแปลเป็นรหัสบันทึกลงไว้ในแถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) |
| archetype | (n) แม่พิมพ์, แม่แบบ, ตัวอย่างเดิม | bimonthly | (n) หนังสือพิมพ์ออกทุกๆสองเดือน | BLACK AND black and white | (n) ข้อเขียน, สิ่งพิมพ์, ตัวหนังสือ | block | (n) ท่อนไม้, ตึกทั้งแถว, แม่พิมพ์, เครื่องกีดขวาง | blueprint | (n) กระดาษพิมพ์เขียว | boldface | (n) คนกล้า, ตัวพิมพ์หนา | broadside | (n) การวิจารณ์อย่างรุนแรง, กระดาษพิมพ์หน้าเดียว | censor | (n) ผู้ติชม, ผู้ตรวจหนังสือพิมพ์ฯลฯ, ผู้ควบคุมความประพฤติ | censor | (vt) ติชม, ตรวจหนังสือพิมพ์, จับผิด, ตรวจสอบ, เซนเซอร์ | censorship | (n) การติชม, การตรวจหนังสือพิมพ์, การตรวจตรา, การตรวจสอบ, การเซนเซอร์ | coin | (vt) ทำเหรียญ, พิมพ์เหรียญ, สร้างขึ้น, ประดิษฐ์ | coinage | (n) เงินตรา, การพิมพ์เหรียญ, การสร้าง | composing | (n) การเรียงพิมพ์ | compositor | (n) ช่างเรียงพิมพ์ | daily | (n) หนังสือพิมพ์รายวัน | die | (n) ลูกเต๋า, ลูกบาศก์, แม่พิมพ์, เบ้าหล่อ | edit | (vt) จัดการพิมพ์, เรียบเรียง, แก้ไข, ลำดับเรื่อง, ตัดต่อ | edition | (n) การพิมพ์ครั้งหนึ่งๆ, ฉบับพิมพ์ครั้งที่, จำนวนพิมพ์ครั้งที่ | fingerprint | (vt) พิมพ์ลายมือ, พิมพ์ลายนิ้วมือ | gazette | (n) หนังสือพิมพ์, หนังสือราชกิจจานุเบกษา | gazetteer | (n) นักหนังสือพิมพ์, อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ | impress | (vt) กด, พิมพ์, ทำให้ซาบซึ้ง, ประทับตรา, ยึด | impression | (n) ร่องรอย, ความรู้สึก, ความประทับใจ, รอยพิมพ์ | imprint | (n) สิ่งพิมพ์, การตีพิมพ์, ลายมือ, เครื่องหมาย, ตรา, รอยกด | imprint | (vt) กด, ตีพิมพ์, ประทับ, ฝัง, พิมพ์ | issue | (vt) ส่งออกไป, ออกคำสั่ง, แจกจ่าย, เป็นผล, ตีพิมพ์ | italicize | (vt) พิมพ์ตัวเอน, เน้น, ขีดเส้นใต้ | journal | (n) บันทึก, หนังสือพิมพ์, วารสาร, รายงานการประชุม, สมุดรายวัน, นิตยสาร | journalism | (n) การหนังสือพิมพ์, วารสารศาสตร์, การเขียนข่าว | journalist | (n) นักหนังสือพิมพ์, นักข่าว, ผู้บันทึก | kiosk | (n) แผงขายหนังสือพิมพ์, ตู้โทรศัพท์, ปะรำ, ศาลาพักร้อน, เวทีดนตรี | letter | (n) จดหมาย, ตัวอักษร, ตัวหนังสือ, เอกสาร, หนังสือ, ตัวพิมพ์ | linotype | (n) เครื่องพิมพ์หิน, เครื่องเรียงพิมพ์ | lithograph | (n) รูปพิมพ์หิน, สิ่งพิมพ์เรียบ | lithograph | (vt) พิมพ์หิน | magazine | (n) นิตยสาร, วารสาร, หนังสือพิมพ์รายเดือน, คลังกระสุน, ซองปืน | mold | (n) รา, ขี้ดิน, แม่พิมพ์, ชนิด, ตัวอย่าง | mold | (vt) พิมพ์, ฝึก, นวด, ปั้น, หล่อ, ก่อร่าง | molder | (n) ผู้หล่อ, ผู้พิมพ์, คนปั้น | molding | (n) การหล่อ, การพิมพ์, การปั้น | mouthpiece | (n) ที่เป่าด้วยปาก, ปากเสียง, หนังสือพิมพ์, โฆษก | newsboy | (n) เด็กส่งหนังสือพิมพ์ | newspaper | (n) หนังสือพิมพ์ | newspaperman | (n) ผู้สื่อข่าว, นักข่าว, นักหนังสือพิมพ์ | paper | (n) กระดาษ, ใบปลิว, เอกสาร, ข้อสอบไล่, หนังสือพิมพ์ | periodical | (n) หนังสือพิมพ์รายคาบ, วารสาร, นิตยสาร | plate | (n) จาน, แผ่นพิมพ์, ป้ายชื่อ, โล่รางวัล | plate | (vt) ชุบ, พิมพ์, ตอก | platen | (n) ลูกกลิ้งของเครื่องพิมพ์, แคร่พิมพ์ดีด | press | (n) การกด, การบีบ, เครื่องอัด, หนังสือพิมพ์, สิ่งตีพิมพ์, โรงพิมพ์ |
| calzera | [คัล-ซี-ร่า] (name, uniq) ชื่อนามแฝงของ เด็กไทย ที่ในยุคปัจจุบัน การใช้นามแฝงในลักษณะ คำที่สั้นๆไม่จำเป็นต้องมีความหมาย แต่พิมพ์ง่ายจำง่ายและดูดี เพราะในการสมัครไม่ต้องพิมพ์ _(underscore)หรือใช้ตัวเลขแปลกๆมาต่อท้ายเพื่อให้ unique ถิ่นฐาน:codename นี้มีถิ่นฐานอยู่ใน cp32 บริเวณที่พบบ่อย: เว็ปบอร์ดการ์ตูน และในเกมออนไลน์ รวมถึงบอร์ดรุ่น cp32 | compute | (vt) compute vt. คึ่มพิ้วท์ (พบบ่อย) 1. คำนวณ nc. ค็อมพิ้วเตอร์ (บังคับ) 1. (comp.) คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประมวลผลที่มีความจำ ตามชุดคำสั่ง และสามารถบันทึกผลการประมวลได้ 2. (comp.) พนักงานคำนวณ ในแง่ที่ทำกันเป็นร้อยคน ในสมัยโบราณ ในงานดาราศาสตร์ (ความหมายโบราณ) nc. 1. (comp.) ศิลปะโดยคอมพิวเตอร์ คือ ศิลปที่สร้างหรือทำขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ หรือระบายสี เป็นต้น nc. 1. (comp.) คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง คือ ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทำหน้าที่บริการด้านประมวลผลข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในเครือข่าย nc. 1. (comp.) สกุลของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในกลุ่มที่สร้างขึ้นจาก microprocessor ชนิดเดียวกัน หรือ คล้ายกัน ตัวอย่างสกุลของคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของบริษัทไอบีเอ็ม และแบบ PS /2 nc. 1. (comp.) เกมคอมพิวเตอร์ คือ การเล่นเกมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ การเล่นเกมในคอมพิวเตอร์ มักควบคุมการเล่นโดยคันโยก (joystick)หรือ แป้นพิมพ์ (keyboard) ก็ได้ nc. 1. (comp.) ชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพื่อจะนำไปใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานตามคำสั่งนั้น ๆ nc. 1. (comp.) ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยชุดฮาร์ดแวร์ และเครื่องอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ร่วมกันของระบบ เช่น ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยตัวเครื่อง ดิสก์ไดร้ว์ จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และเมาส์ nc. 1. (comp.) ยุคพัฒนาการคอมพิวเตอร์ ในช่วงระหว่างกลางปี พ.ศ. 2503 - 2513 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เปลี่ยนมาใช้ IC หรือวงจรรวม ชื่อเต็มว่า integrated circuit หรือ IC n. (ศัพท์คอม) 1. (comp.) ความสามารถที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ nc. 1. (comp.) การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน มีความหมาย เช่นเดียวกับ computer-assisted instruction สามารถดูคำอธิบายใน CAI n. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ศัพท์ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ v. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทำงาน | engraving | (n) งานภาพพิมพ์จากแม่พิมพ์แกะสลัก | Impression Material | วัสดุพิมพ์ | kerning | [เคิน-นิ่ง] (n) การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัว "อักษรสองตัว" ให้มากขึ้นจากระยะปกติที่กำหนดไว้ในมาตรฐานของรูปแบบตัวอักษรนั้นๆ ส่วนใหญ่พบได้ในโปรแกรมพิมพ์งานต่างๆ เช่น Microsoft Word เป็นต้น เช่น การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัวอักษร "ก" กับ "า" ในคำว่า "การ" จะได้ผลเป็น "ก าร" (มีช่องว่างหนึ่งช่องระหว่าง ก ไก่ กับสระอา //อ้างอิงจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Kerning, See also: tracking, Syn. kern Image: | moulage | (n) แม่พิมพ์ที่ใช้ในการสืบสวนคดี เช่นรอยเท้า หรือใช้ในทางการแพทย์เพื่อใช้ในการฝึกปฏิบัติการ, See also: cast, Syn. mold | Offset printing | (n) การพิมพ์ระบบออฟเซต เป็นการพิมพ์พื้นราบ ที่มีความนิยมมากสุด มีหลักในการพิมพ์ที่ไม่สัมผัสวัสดุโดยตรง โดยใช้การพิมพ์ผ่านผ้ายางก่อนที่จะลงไปสู่วัสดุพิมพ์ | Pharmacopoeia | [ฟามาโคเปีย] (n, pharm) หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ | prebiblical | (adj) ก่อนการตีพิมพ์คัมภีร์ไบเบิ้ล | Rotational Moulding Machine | เครื่องขึ้นรูปชนิดแม่พิมพ์หมุน | scum | (n, vt) เกี่ยวกับการพิมพ์ หมายถึง การเกิดคราบในบริเวณไร้ภาพบนแม่พิมพ์ออฟเซ็ต | เครื่องพิมพ์ดีด | (n) [ N ] typewriter, Example: ผมอยากซื้อเครื่องพิมพ์ดีดชนิดหิ้วสักเครื่องหนึ่ง, Count unit: เครื่อง | เมพ | (adj, adv) เก่ง เชี่ยวชาญ ชำนาญในด้านนั้นๆ (คำที่พิมพ์ผิดมาจากคำว่า เทพ), Syn. เทพ | เมพขิงๆ | (phrase, slang) มาจากการพิมพ์คำว่า เทพจิงๆ ผิด, ซึ่งเพี้ยนมาจาก เทพจริงๆ อีกที ซึ่งแปลว่า เก่งจริงๆ, เหนือชั้นจริงๆ เป็นภาษาตามสมัยนิยม ใช้กันมากในอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บบอร์ด, เกมออนไลน์ โดยคำว่าเทพในที่นี้ใช้ในความหมายว่า เก่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากๆ, เนื่องจากแป้นคีย์บอร์ด ตัว ท กับ ม ติดกัน และ ข กับ จ ติดกัน |
| 凸版 | [とっぱん, toppan] (n) การพิมพ์โดยการกดด้วยตัวนูน | 印刷 | [いんさつ, insatsu] (n, vi, vt) พิมพ์, การพิมพ์ | 新聞 | [しんぶん, shinbun] (n) หนังสือพิมพ์ | 金型 | [かながた, kanagata] (n) โมลด์, แม่พิมพ์ |
| 朝日新聞 | [あさひしんぶん, asahishinbun] (n, name, org, uniq) ชื่อของหนังสือพิมพ์ญี่ปุ่น | 原紙 | [げんし, genshi] (n) ต้นฉบับ พิมพ์เขียว | 発行 | [はっこう, hakkou] (vi) การออก(สิ่งพิมพ์) | 金型 | [かながた, kanagata] (n) แม่พิมพ์ | 超硬合金 | [ちょうこうごうきん, choukougoukin] (n) วัดุโลหะชนิดหนึ่งมีความแข็งมากกว่าเหล็ก 5 เท่า มักใช้ทำเป็นแม่พิมพ์ที่ใช้ในการอัดเพื่อขึ้นทรงหรือรีดเหล็ก | 新聞記者 | [しんぶんきしゃ, shinbunkisha] (n) นักหนังสือพิมพ์ | 厨房 ; 中坊 ; 中に病 | [จูโบ จูนิเบียว จูนิบโย chuubou chuububyou ちゅうにびょう ちゅうぼう] (n, slang) ความหมายโดยแท้จริง แปลว่า ครัว แต่เนื่องจากไปพ้องเสียงกับอีกคำแสลงอีกคำที่มีความหมายว่า เกรียน (ทำตัวเป็นเด็กไม่รู้จักโต ก่อกวน หรือสร้างความรำคาญให้ผู้อื่น) คือ 中坊 (เด็กมัธยมต้น หรือ เด็กที่ไม่รู้จักโต) และในขั้นตอนเวลาพิมพ์คำว่า 中坊 มักจะไม่ออกมาให้เลือก ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่จึงใช้คำ 厨房 ในเชิงคำแสลงว่า "เกรียน" แทนคำเดิมไปโดยปริยาย นอกจากนี้ยังมีคำว่า 中に病 (ちゅうにびょう)ซึ่งแปลว่า "โรคเด็กม.ต้น" ก็มีใช้ในความหมายเชิงว่า เกรียน ได้ด้วยเ่ช่นกัน (ขอบคุณข้อมูลจากเพจ "เรียนภาษาญี่ปุ่นกับโอมเซนเซ" ด้วยค่ะ) | 投稿 | [とうこう, toukou] ส่ง(ต้นฉบับให้สำนักพิมพ์) , ปล่อย, ลง(ภาพ วิดิโอ หรือบทความ ลงอินเตอร์เน็ต) |
| 載る | [のる, noru] TH: ตีพิมพ์ EN: to appear (in print) | 発行所 | [はっこうしょ, hakkousho] TH: สำนักพิมพ์ | 組み込む | [くみこむ, kumikomu] TH: แทรก(ในการพิมพ์) EN: to cut in (printing) | 出版 | [しゅっぱん, shuppan] TH: การตีพิมพ์ EN: publication (vs) | 型 | [かた, kata] TH: แม่พิมพ์ | 単行本 | [たんこうぼん, tankoubon] TH: หนังสือที่ตีพิมพ์เป็นเล่มเล็กขนาดฝ่ามือ EN: special book | 発行 | [はっこう, hakkou] TH: ตีพิมพ์(ออกจำหน่าย) | 掲載 | [けいさい, keisai] TH: การลงพิมพ์ | 投稿 | [とうこう, toukou] TH: การส่งเรื่องไปตีพิมพ์ในวารสาร EN: contribution (vs) | 投稿 | [とうこう, toukou] TH: การส่งเรื่องไปลงหนังสือพิมพ์หรือวารสาร EN: submission |
| Medium | (n) |das, pl. Medien| สื่อ เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ | tippen | (vt) |tippte, hat getippt| พิมพ์ดีด | Gefallen | (n) |der, nur Sg.| ความกรุณา, ความชอบ, การบริการที่ถูกใจ มักจะเป็นเรื่องเล็กๆน้อยๆ เช่น Schatz! Kannst du mir bitte einen Gefallen tun, mir eine Zeitung zu kaufen? = ที่รักจ๋า, คุณช่วยทำอะไรให้ผมหน่อยได้มั้ย แค่ไปซื้อหนังสือพิมพ์ | Zeitung | (n) |die, pl. Zeitungen| หนังสือพิมพ์ | abonnieren | (vt) |abonnierte, hat abonniert| บอกรับเป็นสมาชิก, ลงนามเป็นสมาชิก เช่น eine Zeitung abonnieren รับหนังสือพิมพ์ประจำ | Drucker | (n) |der, pl. Drucker| เครื่องพิมพ์ | Tastatur | (n) |die, pl. Tastaturen| แป้นพิมพ์ (ของเครื่องพิมพ์ดีด หรือ คอมพิวเตอร์) | stehen | (vi) |stand, hat gestanden, + in/auf/an + D| มีเขียนไว้, ถูกเขียนไว้ เช่น In der Zeitung steht eine interessante Nachricht. ในหนังสือพิมพ์มีข่าวที่น่าสนใจอันหนึ่ง | Literatur | (n) |die, meistens Sg.| วรรณคดี, วรรณกรรม, ผลงานประพันธ์, สิ่งตีพิมพ์ | Sonderausgabe | (n) |die, pl. Sonderausgaben| ฉบับพิมพ์พิเศษ | rollen | (vt) |rollte, hat/ist gerollt, etw.(A)| ม้วน หมุน พัน เช่น das Fleisch in Zeitungspapier rollen ห่อพันเนื้อด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์, Syn. einwickeln | Presse | (n) |die, pl. Pressen| สื่อมวลชน (โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์) | Tageszeitung | |die, pl. Tageszeitungen| หนังสือพิมพ์รายวัน |
| journal | (n) |m, pl. journaux| หนังสือพิมพ์ Image: | hebdomadaire | (adj) รายสัปดาห์, ที่ออกทุกสัปดาห์ เช่น journal hebdomadaire หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |