ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พยนต์, -พยนต์- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ featuring | ผู้ร่วมกิจกรรมรับเชิญ มักใช้กับการแสดงดนตรีหรือภาพยนต์ เช่น การแสดงดนตรีวงนี้มี "นักร้องรับเชิญ" ที่มีชื่อเสียง |
|
| หุ่นพยนต์ | (n) an effigy enlivened by magic, Example: พ่อหมอกำลังลงอาคมเสกหุ่นพยนต์, Count Unit: ตัว, Thai Definition: วัตถุที่ถูกเสกเป่าให้ทำงานได้เหมือนสิ่งมีชีวิต |
| พยนต์ | (พะยน) น. สิ่งที่ผู้ทรงวิทยาคมปลุกเสกให้มีชีวิตขึ้น เช่น หุ่นพยนต์. | หุ่นพยนต์ | (-พะยน) น. รูปที่ผู้ทรงวิทยาคมเอาวัตถุมาผูกขึ้นแล้วเสกเป่าให้เป็นเหมือนรูปที่มีชีวิต. | เสก | ก. ร่ายมนตร์เพื่อทำให้ขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ เช่น เสกน้ำล้างหน้า เสกแป้งผัดหน้า, ร่ายมนตร์เพื่อทำให้สิ่งหนึ่งกลายเป็นอีกสิ่งหนึ่ง เช่น เสกหญ้าให้เป็นหุ่นพยนต์ เสกใบมะขามให้เป็นตัวต่อตัวแตน, ร่ายมนตร์เพื่อให้เกิดพลังส่งสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปทำร้ายศัตรู เช่น เสกหนังเข้าท้อง. |
| Material | วัสดุ, สิ่งของต่างๆ ที่นำมาใช้ในการเรียนการสอน เช่น รูปภาพ บัตรคำ แผนภูมิ ฟิล์มภาพยนต์ เทปบันทึกเสียง ฟิล์มสตริป [เทคโนโลยีการศึกษา] | Equipment | อุปกรณ์, เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาช่วยในการใช้วัสดุให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น เครื่องเล่นจานเสียง เครื่องบันทึกเสียง เครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องฉายภาพยนต์ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องฉายฟิล์มสติรป เป็นต้น [เทคโนโลยีการศึกษา] | Intellectual Property | ทรัพย์สินทางปัญญา " หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งผู้เป็นเจ้าของสามารถถือครอง และ/หรือเก็บเกี่ยวสิทธิประโยชน์ได้ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ - Patent สิทธิบัตร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างใหม่ ยังไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และการประดิษฐ์นั้นสามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ - Copy Rights ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ - Neighboring Rights สิทธิข้างเคียง เป็นความคุ้มครองที่แตกแขนงมาจากลิขสิทธิ์ เนื่องจากงานที่สร้างขึ้นไม่สามารถถูกจัดเข้าเป็นงานลิขสิทธิ์ได้โดยตรง เพราะผลงานที่เกิดขึ้นนั้นได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นสื่อกลาง และก่อให้เกิดผลงานโดยใช้ เครื่องมือในทางวิชาชีพสร้างงานขึ้นมา ดังนั้น บุคคลผู้ที่เข้ามาเป็น สื่อกลางเพื่อผลิตงานให้แก่ผู้สร้างงานจึงควรมีสิทธิในผลงานนั้นเหมือนกับ เจ้าของงานลิขสิทธิ์ด้วย - Trade Marks เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อให้ประชาชนทั่วไปแยกแยะได้ว่าสินค้านั้นเป็นของ ผู้ใด ใครเป็นเจ้าของ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า ยี่ห้อ สำหรับเครื่องหมายการค้านั้น จะเป็นภาพ เป็นคำ หรือเป็นตัวอักษรก็ได้ Service Marks เครื่องหมายบริการ เป็นเรื่องที่เกิดใหม่เนื่องจากสินค้าบริการได้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการเงิน การโทรคมนาคม จึงทำให้ผู้ให้บริการต้องการที่จะใช้เครื่องหมาย เพื่อชี้ให้เห็นถึงการบริการของตน เช่นเดียวกับการใช้เครื่องหมายการค้า " [การทูต] | Cine Camera | กล้องถ่ายภาพยนต์ [การแพทย์] | Films | ภาพยนต์, แผ่นเยื่อ, ชั้น [การแพทย์] | Movies | ภาพยนต์ [การแพทย์] |
| หุ่นพยนต์ | [hunphayon] (n) EN: effigy enlivened by magic | แพยนต์ | [phaē yon] (n, exp) EN: car ferry | พยนต์ | [phayon] (adj) EN: of the nature of an automaton ; automatous |
| | animated cartoon | ภาพยนต์การ์ตูนที่ภาพวาดเคลื่อนไหวได้ | art theater | โรงภาพยนต์หนังต่างประเทศหรือหนังที่อยู่ระหว่างทดลองฉาย | broadway | (บรอด'เวย์) n. ชื่อถนนสายใหญ่ในกรุงนิวยอร์ก, ย่านโรงละครโรงภาพยนต์ที่อยู่ในบริเวณถนนดังกล่าว adj. เกี่ยวกับอุตสาหกรรมโรงภาพยนต์หรือโรงละคร, See also: broadwayite n. | document | (ดอก'ยะเมินทฺ) n. เอกสาร, สาร, เอกสารหลักฐาน, ภาพยนต์บันทึกเหตุการณ์, หลักฐานพยาน, เครื่องพิสูจน์. vt. มีเอกสารประกอบ, , See also: documentary adj. | fade-in | (เฟด'อิน) n. การค่อย ๆ เพิ่มขึ้นของความชัดของภาพ (โทรทัศน์, ภาพยนต์) | hollywood | n. ฮอลลีวูด, โรงถ่ายภาพยนต์, ชื่อเมือง | movie | (มู'วี) n. ภาพยนต์, หนัง, โรงภาพยนต์. | movies | (มู'วีซ) n., pl. ภาพยนต์, การฉายภาพยนต์ | moving picture | n. ภาพยนต์, Syn. movie | producer | (โพรดิว'เซอะ) n. ผู้ผลิต, ผู้ให้กำเนิด, ผู้สร้าง, ผู้อำนวยการสร้างภาพยนต์, ผู้ควบคุมเวที | projectionist | (พระเจค'เชินนิสทฺ) n. ผู้ฉายภาพยนต์หรือภาพนิ่ง | x-film | (เอคซฺ'ฟิล์ม) n. ภาพยนต์จำกัดผู้ชม (เช่น ห้ามเด็กอายุต่ำกว่า 16 ขวบเข้าชม) |
| indie | (n) บริษัทเพลงหรือภาพยนต์ ขนาดเล็กที่ไม่ได้มีบริษัทขนาดใหญ่เป็นเจ้าของอยู่เบื้องหลัง | preproduction | (n) ขั้นตอนหลังการถ่ายทำภาพยนต์ เช่น มิกซ์เสียง-ตัดต่อ, ขั้นตอนหลังการผลิต |
| 台本 | [だいほん, daihon] (n) 1.บทละคร 2.บทภาพยนต์ | 語る | [かたる, kataru] (vt) พากษ์ (ในภาพยนต์), Syn. 話す |
| allerdings | อย่างไรก็ตาม (แต่) เช่น Der Film war gut, allerdings zu kurz. ภาพยนต์เรื่องนี้ดี แต่สั้นไปหน่อย | Film | (n) |der, pl. Filme| ภาพยนต์ |
| le | คำนำหน้านามเพศชายที่เฉพาะเจาะจง เช่น le film ภาพยนต์เรื่องนี้, le cinéma โรงหนังนี้, ใช้ l' ถ้าคำนามนั้นขึ้นต้นด้วยสระหรือ h ที่ไม่ออกเสียง เช่น l'hôtel, See also: la | à quelle heure | กี่โมง, เวลาเท่าไหร่ (คำขึ้นต้นประโยคคำถาม) เช่น Ce film commence à quelle heure? = A quelle heure est-ce que ce film commence? ภาพยนต์เรื่องนี้เริ่มฉายกี่โมง | film, -s | (n) le, = ภาพยนต์ เช่น film en couleurs = ภาพยนต์สี , film documentaire = ภาพยนต์แนวสารคดี , film muet = ภาพยนต์ใบ้ , film publicitaire = ภาพยนต์โฆษณา , film d'aventures = ภายนต์แนวผจญภัย , film d'horreur = ภาพยนต์แนวสยองขวัญ, film policier = ภาพยนต์แนวสืบสวนสอบสวน, film d'animation = ภาพยนต์คอมพิวเตอร์กราฟฟิก | filmer | (vt) ถ่ายหนัง, ถ่ายภาพยนต์ | beaucoup | (adj, adv) มาก, มากมาย, เยอะ เช่น J'ai beaucoup de travail. ผมมีงานมาก, On parle beaucoup de ce film. ผู้คนพูดถึงภาพยนต์เรื่องนี้กันมาก |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |