ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พบปะ, -พบปะ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ พบปะ | (v) meet, See also: encounter, see, Syn. พบปะสนทนา, Example: มร. โทโมทากะ อิชิกาวาเดินทางไปพบปะผู้จำหน่ายรถจักรยานยนต์ยามาฮ่าเพื่อปรึกษางานด้านธุรกิจ, Thai Definition: พบและวิสาสะ | พบปะสนทนา | (v) meet and converse, Syn. พบปะ, Example: แม้ในช่วงเวลาสั้นๆ ก็ได้มีโอกาสพบปะสนทนากับอาจารย์จากมหาวิทยาลัยที่มีความสนใจในเรื่องของบทบาทหญิงชาย ในสังคมญี่ปุ่น |
|
| พบปะ | ก. พบด้วยความสนิทสนมคุ้นเคย. | นัด ๑ | น. การกำหนดตกลงว่าจะพบปะกันเป็นต้น เช่น มีนัด ผิดนัด | บรรจวบ | (บัน-) ก. ประจวบ, ประสบ, พบปะ, สบเหมาะ, บังเอิญพบ. | ประสบ | ก. พบ, พบปะ, พบเห็น. | พ่อสื่อ | น. ชายที่ทำหน้าที่ชักนำชายหญิงให้พบรู้จักรักใคร่และแต่งงานกัน, ชายผู้ช่วยเหลือให้คู่รักได้ติดต่อหรือพบปะกัน. | พะพาน | ก. พ้องพาน เช่น อย่าให้ความชั่วมาพะพาน, พบปะ เช่น ไม่ได้พบปะพะพานมานาน, เกี่ยวพัน เช่น กิ่งไม้ยื่นมาระพะพาน. | พาน ๕ | ก. พบปะ มักใช้เข้าคู่กับคำ พบ เป็น พบพาน หรือ พานพบ เช่น ไม่ได้พบพานเสียนาน | สังคม, สังคม- | (-คมมะ-) ว. ที่เกี่ยวกับการพบปะสังสรรค์หรือชุมนุมชน เช่น วงสังคม งานสังคม. | สังสรรค์ | ก. พบปะวิสาสะกันเป็นครั้งคราวด้วยความสนิทสนม เช่น จัดงานสังสรรค์กันในหมู่พนักงาน เพื่อน ๆ ได้พบปะสังสรรค์กันในงานชุมนุมศิษย์เก่า. | สังสรรค์ | ว. ที่พบปะวิสาสะกันเป็นครั้งคราวด้วยความสนิทสนม เช่น งานสังสรรค์. | สัมภาษณ์ | น. การพบปะสนทนากันในลักษณะที่ฝ่ายหนึ่งต้องการทราบเรื่องจากอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อนำไปเผยแพร่ เรียกว่า ผู้สัมภาษณ์ และอีกฝ่ายหนึ่งที่ต้องการจะแถลงข่าวแก่อีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ | เสวนะ, เสวนา | (เสวะ-) ก. คบ เช่น ควรเสวนากับบัณฑิต ไม่ควรเสวนากับคนพาล, (ปาก) พูดจากัน เช่น หมู่นี้พวกเราไม่ค่อยได้พบปะเสวนากันเลย. |
| lounge suit | ชุดสากล ใช้ในโอกาสที่ไม่เป็นทางการทั่วไป เช่น การพบปะสังสรรค์ งานเลี้ยงที่ไม่เป็นทางการ [การทูต] | Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | Individual Meeting | การพบปะเป็นรายบุคคล [การแพทย์] |
| งานพบปะสังสรรค์ | [ngān phoppasangsan] (n, exp) EN: get-together ; celebration | พบปะ | [phoppa] (v) EN: meet ; encounter ; see FR: rencontrer ; retrouver | พบปะสังสรรค์ | [phoppasangsan] (v, exp) FR: se réunir | พบปะสนทนา | [phoppa sonthanā] (v, exp) EN: meet and converse FR: discuter ensemble |
| wake | (n) การพบปะพูดคุยกันหลังจากที่มีเหตุการณ์ที่สำคัญผ่านไป โดยมากหมายถึง การไปชุมนุมกันที่บ้านของผู้ที่เสียชีวิตก่อนจะมีพิธีฝังศพ (โดยมักถูกอ้างว่ามีที่มาจาก การปลุกให้ผู้ตายมีชีวิตขึ้นมาอีก) เช่น A wake usually lasts 3 full days, afterwards on the 4th day the funeral takes place. | networking | (n) กิจกรรมการพบปะผู้คน, ทำความรู้จักคนใหม่ๆ, สนทนา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เช่น ในงานสัมมนาอาจมีช่วงงานเลี้ยงที่เป็น networking party ให้ผู้เข้าร่วมได้พบปะทำความรู้จักกัน |
| bring home to | (phrv) เชิญมาพบปะกับ, Syn. come home to, get home to | celebration | (n) งานเฉลิมฉลอง, See also: งานฉลอง, งานเลี้ยง, งานสังสรรค์, งานกินเลี้ยง, งานรื่นเริง, งานพบปะสังสรรค์, งานสมโภช, งานฉล, Syn. ceremony, party | commencement | (n) การพบปะของผู้สำเร็จการศึกษา | confer | (vi) พบปะพูดคุย, See also: สนทนาหารือกัน, Syn. cunsult, talk, discuss | congress | (n) การพบปะกัน, Syn. meeting, joining | close with | (phrv) ขอพบเป็นส่วนตัว, See also: พบปะส่วนตัวกับ, Syn. closet with | encounter | (n) การประสบโดยบังเอิญ, See also: การพบปะกันโดยบังเอิญ, Syn. meeting | -fest | (suf) การพบปะสังสรรค์กัน, See also: การรวมกลุ่มกัน | find | (vt) พบ (โดยบังเอิญ), See also: เจอ, เห็น, พบปะ, ประสบ, ค้นพบ, Syn. discover, come across, encounter, Ant. miss, lose | get together | (phrv) พบปะ, See also: พบ | get together | (phrv) พบปะสังสรรค์, Syn. get together | hurl together | (phrv) มาชุมนุมกัน, See also: มารวมตัว, มาพบปะกัน, Syn. bring together | get-together | (n) การเลี้ยงสังสรรค์กันอย่างไม่เป็นทางการ (คำไม่เป็นทางการ), See also: การรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการ, การพบปะกัน, Syn. informal gathering | meet with | (phrv) พบปะสังสรรค์อย่างเป็นทางการ | marketplace | (n) สถานที่พบปะชุมนุมกัน (เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น) | mix | (vi) พบปะผู้คน, See also: เข้าสังคม, เข้าสมาคม, Syn. get along, Ant. avoid, ignore | ostracise | (vt) เนรเทศ, See also: ขับไล่, ไม่ยอมรับ, ไม่พูดคุย, ไม่พบปะ, Syn. banish, boycott, blacklist | pick up | (phrv) ผูกมิตรกับ, See also: พบปะ | play down to | (phrv) พูดคุย, See also: พบปะ, Syn. talk down to | run into | (phrv) พบปะ (ความยุ่งยาก) | see | (vt) พบ, See also: เจอ, ประสบ, เจอหน้า, พบปะ, พบพาน | sociable | (adj) ซึ่งชอบเข้าสังคม, See also: ซึ่งชอบพบปะผู้คน, Syn. neighborly, affable, Ant. antisocial | socialize | (vi) คบหาสมาคม, See also: พบปะผู้คน, Syn. be friendly, fraternize | stay in contact with | (idm) ยังติดต่อกับ, See also: ยังพบปะกับ, Syn. keep in, remain in, put in | stay in touch with | (idm) ยังติดต่อกับ, See also: ยังพบปะกับ, Syn. keep in, remain in, put in | venue | (n) สถานที่ผู้คนมาพบปะหรือชุมนุมกัน, See also: สถานที่ผู้คนมาทำกิจกรรมร่วมกัน, Syn. haunt, meeting place |
| contact | (คอน'แทคทฺ) { contacted, contacting, contacts } n. การสัมผัส, การพบปะ, การติดต่อ, จุดเชื่อม, คนรู้จักหรือคุ้นเคย, ผู้ใกล้ชิดกับคนเป็นโรคติดต่อ. vt., vi. ติดต่อกับ., See also: contactual adj. | galyak | (แกล'แยค) n. ฝูงปลาวาฬ, การพบปะสังสรรค์ vt. อยู่เป็นกลุ่ม, พบปะสังสรรค์. vt. ร่วมพบปะสังสรรค์ |
| association | (n) สมาคม, บริษัท, สหภาพ, การพบปะสังสรรค์ | contact | (n) การติดต่อ, การพบปะ, การคบหาสมาคม, การสัมผัส | contact | (vt) ติดต่อ, พบปะ, คบหาสมาคม, สัมผัส |
| 打ち合せ | [うちあわせ, uchiawase] TH: การนัดหมายเพื่อพบปะพูดคุย EN: previous arrangement |
| sich treffen mit jm. | (vi) |trifft, traf, hat getroffen| พบ พบปะกับคนใดคนหนึ่ง | unter die Leute kommen | คบหาสมาคม, พบปะผู้คน | Kasino | (n) |das, pl. Kasinos| ห้องโถงที่ใช้พบปะสังสรรค์หลังเลิกงาน | Begegnung | (n) |die, pl. Begegnungen| การพบปะ, การเจอกันของคนสองคนหรือของกลุ่ม เช่น Hier ist ein Ort der Begegnung verschiedener Kulturen, wo Menschen sich kennen lernen können, um voneinander und miteinander zu lernen. |
| see each other | [ซี อีช อาเธอ] (phrase) พบปะ พูดคุย เยี่ยมเยี่ยน, See also: talk, Syn. visit |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |