ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พจน์, -พจน์- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ pentimento | [เพ็นติเม้นโต] (n) พหูพจน์ pentimenti - การเปลี่ยนแปลงงานจิตรกรรมที่ทำโดยจิตรกรที่ทิ้งร่องรอยให้เห็นว่าจิตรกรเปลี่ยนใจในการวางรูปแบบระหว่างการเขียนภาพ (wikipedia.org) |
| กินนร | [/กิน - นอน / eng /kin. neon/] (n) รูปพหูพจน์ของสัตว์ (อมนุษย์) ในป่าหิมพานต์ ร่างกายท่อนบนเป็นมนุษย์ ท่อนล่างเป็นนก มีปีกบินได้; รูปพหูพจน์ที่รวมทั้งเพศผู้และเพศเมียของสิ่งมีชีวิตในเทพนิยายดังกล่าว; กินรี และ กินริน = เพศเมีย และ กินนรา = (รูปเอกพจน์) เพศผู้ | ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
| พจน์ | (n) word, See also: speech, saying, diction, Syn. ถ้อยคำ, วจนะ, คำกล่าว, Example: พระพุทธพจน์ของพระพุทธเจ้าสอนให้ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์, Notes: (บาลี) | ไวพจน์ | (n) synonym, Syn. คำพ้อง, คำพ้องความหมาย, คำพ้องความ, Example: การพัฒนาย่อมเป็นไวพจน์กับคำว่า เจริญ หรือทำให้เจริญ, Thai Definition: คำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก | คติพจน์ | (n) motto, See also: maxim, Example: เธอเป็นคนมีคติพจน์ประจำใจอย่างยึดแน่นไม่ว่าจะทำอะไรก็ตาม, Thai Definition: ถ้อยคำที่เป็นแบบอย่างที่ดีที่มีประโยชน์สอนใจ | ประพจน์ | (n) Buddha's teaching, See also: Buddha's word, Syn. ปาพจน์, ปาวจนะ, พุทธวจนะ, พระธรรมคำสอน, เทศนา, Count Unit: บท, ตอน | ประพจน์ | (n) proposal, See also: proposition, announcement, Thai Definition: ข้อความที่กล่าว, ข้อความที่เสนอ | พหุพจน์ | (n) plural number, See also: plural, Syn. พหูพจน์, จำนวนพหูพจน์, Ant. เอกพจน์, Example: โดยปกติการทำคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ในภาษาอังกฤษให้เติม s ข้างท้าย, Thai Definition: คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | พหูพจน์ | (n) plural number, See also: plural number, Syn. พหุพจน์, Ant. เอกพจน์, Example: คำว่า class เป็นคำที่มีลักษณะพหูพจน์ หมายถึงกลุ่มคน, Thai Definition: คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ภาพพจน์ | (n) image, See also: word-picture, Thai Definition: คำพูดที่เป็นสำนวนโวหารทำให้นึกเห็นเป็นภาพ | สัจพจน์ | (n) postulate, See also: axiom, Example: สัจพจน์เหล่านี้มีความแนบนัย สามารถใช้วิธีการพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์วิธีใดก็ได้, Count Unit: สัจพจน์, Thai Definition: ข้อความที่ยอมรับในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ว่าจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ | อติพจน์ | (n) hyperbole, Thai Definition: คำพูดที่ขยายเกินความจริง | เอกพจน์ | (n) singular, See also: singular number, Ant. พหูพจน์, Example: นักวิจารณ์ตั้งข้อสังเกตวิธีเขียนของเขาว่า ตัวละครมักจะเป็นเอกพจน์ บุรุษที่ 1 ที่ไม่มีชนชั้น ภูมิหลัง หรือพื้นเพ, Thai Definition: คำที่กล่าวถึงสิ่งสิ่งเดียว | มธุรพจน์ | (n) honeyed words, See also: sweet language, sweet words, Syn. ถ้อยคำไพเราะ, คำหวาน, วาจาไพเราะ, Example: มธุรพจน์ย่อมทำให้ผู้ฟังชื่นบาน | สุนทรพจน์ | (n) speech, See also: address, harangue, oration, Syn. คำปราศรัย, Example: เขาได้รับรางวัลที่ 1 ในการพูดสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษซึ่งจัดโดยศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับมัธยมปลาย, Thai Definition: คำพูดที่ประธานหรือบุคคลสำคัญเป็นต้นกล่าวในพิธีการหรือในโอกาสสำคัญต่างๆ | อาศิรพจน์ | (n) blessings, See also: greetings, compliment, Syn. อาศิรพาท, อาศิรวจนะ, อาศิรวาท, อาเศียรพจน์, อาเศียรพาท, อาเศียรวจนะ, อาเศียรวาท, คำอวยพร | ตู่พุทธพจน์ | (v) refer mistakenly the Buddha's teaching, See also: to express the Buddha's words incorrectly, Thai Definition: อ้างพุทธพจน์ผิดๆ ถูกๆ | กล่าวสุนทรพจน์ | (v) deliver a speech, See also: make a speech, Example: ท่านรองนายกรัฐมนตรีได้ให้เกียรติกล่าวสุนทรพจน์ในฐานะผู้แทนรัฐบาลไทย |
| คติพจน์ | น. ถ้อยคำที่เป็นแบบอย่าง. | ตู่พุทธพจน์ | ก. อ้างพุทธพจน์ผิด ๆ ถูก ๆ. | นิพจน์ | น. พจน์หนึ่งพจน์ เช่น ๕x๖ หรือพจน์หลายพจน์บวกลบกัน เช่น x๒ -๓x + ๑. | ประพจน์ | น. ข้อเสนอ, ข้อความที่กล่าว | ประพจน์ | ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธซึ่งเป็นข้อความจริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น จะมีความหมายกำกวมไม่ได้. (อ. proposition). | ปาพจน์ | น. คำเป็นประธาน, พุทธวจนะ, คำบาลี. | พจน-, พจน์ ๑ | (พดจะนะ-) น. คำพูด, ถ้อยคำ. | พจน์ ๒ | น. สัญลักษณ์ที่แทนจำนวนจริงหรือจำนวนเชิงซ้อน ซึ่งจะเป็นจำนวนเดียวหรือหลายจำนวนคูณหรือหารกันก็ได้. | พหุพจน์, พหูพจน์ | น. คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง. | พหูพจน์ | น. คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง. | ภาพพจน์ | (พาบพด) น. ถ้อยคำที่เป็นสำนวนโวหารทำให้นึกเห็นเป็นภาพ, ถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด ความเข้าใจ ให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าที่ตรงไปตรงมา. | มธุรพจน์ | น. ถ้อยคำไพเราะ | มธุรพจน์ | ผู้มีถ้อยคำไพเราะ. | ไวพจน์ | น. คำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น มนุษย์กับคน โคกับวัว บ้านกับเรือน รอกับคอย ป่ากับดง, คำพ้องความ ก็ว่า, (ป. เววจน) | ไวพจน์ | ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส–ไส–ไสย กาน–กาล–การ–การณ์, ปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง. | สัจพจน์ | (สัดจะ-) น. ข้อความที่ยอมรับในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ว่าจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์. | สุนทรพจน์ | (สุนทอนระ-, สุนทอระ-) น. คำพูดที่ประธานหรือบุคคลสำคัญเป็นต้นกล่าวในพิธีการหรือในโอกาสสำคัญต่าง ๆ เช่น นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในที่ประชุมสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ. | หิตพจน์, หิตวจนะ | (หิตะพด, หิตะวะจะนะ) น. คำที่เป็นประโยชน์เกื้อกูล. | อาศิรพจน์, อาศิรพาท, อาศิรวจนะ, อาศิรวาท, อาเศียรพจน์, อาเศียรพาท, อาเศียรวจนะ, อาเศียรวาท | น. คำอวยพร (เป็นคำที่ผู้น้อยใช้กับผู้ใหญ่). | เอกพจน์ | (เอกกะ-) น. คำที่กล่าวถึงสิ่งเดียว. | กฤดีกา, กฤตยฎีกา | (กฺริ-, กฺริดตะยะ-) แผลงมาจาก กติกา เช่น อันว่าความกฤดีกา แต่สองราแรกทรงพรต (ม. คำหลวง กุมาร), ชำระกฤตยฎีกา (ไวพจน์พิจารณ์). | กล่าว | แต่งงาน เช่น ฝรั่งกล่าวแหม่ม. (ประเพณีของชาวคริสเตียน), คำนี้ใช้เป็นปรกติในภาษาเขียน แต่ใช้เป็นภาษาพูดก็มีในบางลักษณะ เช่น กล่าวสุนทรพจน์. | กัญ | น. กันย์, ชื่อราศีหนึ่งใน ๑๒ ราศี เช่น อีกกัญเป็นชื่อราศี (ไวพจน์ประพันธ์). | คระ ๑ | (คฺระ) คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี คร- เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำคำหรือเป็นพหูพจน์ เช่น คระคราง (หมายความว่า ครางคราง) คระครึ้ม (หมายความว่า ครึ้มครึ้ม) คระโครม (หมายความว่า โครมโครม). | คำพ้องความ | น. คำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น โคกับวัว ควายกับกระบือ มนุษย์กับคน, ไวพจน์ ก็ว่า. | คำพ้องเสียง | น. คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์, (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์. | ซัด ๒ | วิถีดวงอาทิตย์จากเหนือไปใต้ เช่น พระอาทิตย์ซัดไปซัดมา (ศริพจน์) | ตู ๑ | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑ พหูพจน์, เช่น อันว่าพวกตูผู้เถ้า ก็จะน่งงเฝ้าแฝงหลัง (ม. คำหลวง ทศพร). | บาลี | คัมภีร์พระไตรปิฎก, พุทธพจน์, เรียกว่า พระบาลี. | ปาวจนะ | (ปาวะจะนะ) น. ปาพจน์. | พจนา | ดู พจน-, พจน์ ๑. | พจนานุกรม | ดู พจน-, พจน์ ๑. | พจนารถ | ดู พจน-, พจน์ ๑. | ภาษามีวิภัตติปัจจัย | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการใช้วิภัตติปัจจัยประกอบเข้ากับรากศัพท์ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระทำให้เกิดเป็นคำที่แสดงเพศ พจน์ กาล มาลา วาจกอย่างชัดเจน เพื่อเข้าสัมพันธ์ทางไวยากรณ์กลมกลืนกับคำอื่นในประโยค เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษากรีกโบราณ ภาษาละติน ภาษาฝรั่งเศส. | เรขาคณิตบริสุทธิ์ | น. เรขาคณิตที่ใช้กฎเกณฑ์ของระบบตรรกศาสตร์โดยเริ่มต้นจากบทนิยามและสัจพจน์ที่เกี่ยวกับรูปทรงมาเรียบเรียงให้เป็นทฤษฎีบท แล้วอนุมานผลลัพธ์จากทฤษฎีบท . | ลุ่มลึก | ว. ลึกซึ้งมาก เช่น พระพุทธพจน์มีความหมายลุ่มลึก. | เศษส่วน | น. จํานวน ๒ จํานวน หรือนิพจน์ ๒ นิพจน์ที่เขียนในรูปของผลหารโดยไม่ต้องหารต่อไปอีก เช่น หรือ จำนวนบนเรียกว่า เศษ จำนวนล่างเรียกว่า ส่วน. | สมการ | (สะมะกาน, สมมะกาน) น. ข้อความที่แสดงความเท่ากันของนิพจน์ ๒ นิพจน์ เฉพาะบางค่าของตัวไม่ทราบค่าที่ปรากฏในนิพจน์นั้น ๆ หรือการเหมือนกันของข้อความย่อย ๒ ข้อความที่ปรากฏอยู่ทางด้านซ้ายและด้านขวาของเครื่องหมาย =. | สมาส | (สะหฺมาด) น. การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาต่อกันเป็นศัพท์เดียวตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สุนทร + พจน์ เป็น สุนทรพจน์ รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์ อุดม + การณ์ เป็น อุดมการณ์. | สุนทร, สุนทร- | (-ทอน, -ทอนระ-, -ทอระ-) ว. งาม, ดี, ไพเราะ, เช่น วรรณคดีเป็นสิ่งสุนทร, มักใช้เข้าสมาสกับคำอื่น เช่น สุนทรพจน์ สุนทรโวหาร. | อสมการ | (อะสะมะกาน, อะสมมะกาน) น. ข้อความที่แสดงการไม่เท่ากันของนิพจน์ ๒ นิพจน์ที่ปรากฏอยู่ทางด้านซ้ายและด้านขวาของเครื่องหมาย < หรือ >. | อาขยาต | (-ขะหฺยาด) น. ชื่อคำกริยาประเภทหนึ่งในไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต ประกอบด้วย ธาตุ วิภัตติ กาล บท พจน์ บุรุษ วาจก ปัจจัย เพื่อเป็นเครื่องหมายบอกเนื้อความให้ชัดเจน เช่น กโรติ = ย่อมกระทำ ประกอบด้วย กรฺธาตุ ติวิภัตติ ปัจจุบันกาล ปรัสสบท เอกพจน์ ปฐมบุรุษ กัตตุวาจก โอปัจจัย. | เอกลักษณ์ | ข้อความที่แสดงความเท่ากันของนิพจน์ ๒ นิพจน์ สำหรับทุกค่าของตัวไม่ทราบค่าที่ปรากฏในนิพจน์นั้น ๆ. |
| parallel postulate | สัจพจน์เส้นขนาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | proposition | ประพจน์, ญัตติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | proposition | ประพจน์ [ มีความหมายเหมือนกับ statement ๒ ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | proposition, particular | ประพจน์เฉพาะ, ญัตติเฉพาะ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | proposition, universal | ประพจน์สากล, ญัตติสากล [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | propositional calculus | แคลคูลัสเชิงประพจน์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | propositional logic | ตรรกศาสตร์ประพจน์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | Playfair's axiom | สัจพจน์เพลย์แฟร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | Peano's axioms | สัจพจน์เปอาโน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | propositional logic | ตรรกศาสตร์เชิงประพจน์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | postulate; axiom | สัจพจน์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | particular proposition | ประพจน์เฉพาะ, ญัตติเฉพาะ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | primitive proposition | ประพจน์ปฐมฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | logical expression | นิพจน์ตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | literal | สัญพจน์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | rhetorical figure | ภาพพจน์วาทศิลป์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | statement | ๑. ข้อความ๒. ประพจน์ [ มีความหมายเหมือนกับ proposition ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | synonym | ไวพจน์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | speech of acceptance; speech, acceptance | สุนทรพจน์ตอบรับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | speech, acceptance; speech of acceptance | สุนทรพจน์ตอบรับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | speech, keynote | สุนทรพจน์หลัก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | oxymoron | ปฏิพจน์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | acceptance speech; acceptance, speech of | สุนทรพจน์ตอบรับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | antecedent | ๑. บรรพบท, ข้อนำ๒. พจน์แรก [ ของอัตราส่วน ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | axiom | สัจพจน์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | axiom | ฐานบท, สัจพจน์ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | axiom; postulate | สัจพจน์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | axiom of choices | สัจพจน์การเลือก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | axiomatic | เชิงสัจพจน์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | acronym | รัสพจน์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | acronym | รัสพจน์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | algebraic expression | นิพจน์พีชคณิต [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | arithmetic expression | นิพจน์คำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | acceptance, speech of; acceptance speech | สุนทรพจน์ตอบรับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | quotation titles | ชื่อเรื่องจากอัญพจน์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | biconditional proposition; biconditional; biconditional statement | ประพจน์เงื่อนไขสองทาง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | biconditional statement; biconditional; biconditional proposition | ประพจน์เงื่อนไขสองทาง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | biconditional; biconditional proposition; biconditional statement | ประพจน์เงื่อนไขสองทาง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | meiosis | อวพจน์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | major term | คำหลัก, พจน์หลัก [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | motto | คติพจน์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | minor term | คำรอง, พจน์รอง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | middle term | คำกลาง, พจน์กลาง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | conjunctive proposition; conjunction; conjunctive statement | ประพจน์เชื่อม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | conjunctive statement; conjunction; conjunctive proposition | ประพจน์เชื่อม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | cubic expression | นิพจน์กำลังสาม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | conditional proposition; conditional; conditional statement; implication | ประพจน์มีเงื่อนไข [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | conditional statement; conditional; conditional proposition; implication | ประพจน์มีเงื่อนไข [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | contrapositive; contrapositive proposition | ประพจน์แย้งสลับที่ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | contrapositive proposition; contrapositive | ประพจน์แย้งสลับที่ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
| Book of quotation | หนังสืออัญพจน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Quotation | อัญพจน์, Example: อัญพจน์ (Quotations) การคัดลอกข้อความจากแหล่งต่างๆ จะต้องเหมือนของเดิมทุกประการไม่ควรแทรกข้อความอื่นใดลงในอัญพจน์หากจำเป็นต้องอธิบายให้พิมพ์ไว้ในวงเล็บเหลี่ยม [ ] หรือใช้เชิงอรรถอธิบาย หากต้องการตัดข้อความบางตอนออกไปให้ใช้จุดสามจุด (...) แทนข้อความที่ไม่ต้องการคัดลอกนั้นในกรณีที่อัญพจน์นั้นไม่ใช่ภาษาเดียวกันให้แปลหรือถอดความไว้ด้วย <p>เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ [ ] สำหรับเขียนคร่อมคำหรือข้อความ เพื่อแสดงว่าข้อความนั้นเป็นคำพูด หรือเพื่อเน้นความนั้นให้เด่นชัดขึ้นเป็นต้นหมายถึง ข้อความซึ่งผู้เขียนนำมาจากผลงานของผู้อื่นข้อความนี้อาจเป็นงานเขียน บทละคร สุนทรพจน์ หรือรูปแบบอื่นใดในผลงานชิ้นเดิมก็ได้ ม.ล.จ้อย นันทิวัชรินทร์ (2514, หน้า 102-103) ได้กล่าวถึงการยกอัญพจน์มาอ้างในงานวิจัยไว้ว่า วิธีการตัดสินใจว่าจะถอดข้อความในอัญพจน์ออกเป็นสำนวนของตนเองดีหรือจะใช้ยกอัญพจน์มาอ้างดี ดังนี้ คือ ถ้าอัญพจน์นั้นมีข้อคิดที่มีความหมายสมบูรณ์ ที่สุดอยู่แล้วตรงกับที่ต้องการอ้างถึงจะนำมาเขียนขึ้นใหม่ก็ไม่ได้ดีเท่าหรือถ้า อัญพจน์นั้นมีความกระทัดรัดสั้นและได้ใจความชัดเจนในการอ้างได้เลยในงานวิจัยโดยไม่ต้องถอดความเป็นสำนวนผู้เขียนเอง ข้อพึงระวังก็คือเมื่อยกอัญพจน์ใดมาใช้ให้ระวังพิมพ์ตัวสะกดเครื่องหมายวรรคตอนให้ถูกต้อง ตรงตามต้นฉบับหมดในงานวิจัยชิ้นหนึ่งๆ ไม่ควรมีอัญพจน์เกิน 10% [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Nuclei | นิวคลีไอ, พหูพจน์ของคำว่านิวเคลียส [นิวเคลียร์] | Baccalaureate address | สุนทรพจน์ในวันรับปริญญา [TU Subject Heading] | Figures of speech | ภาพพจน์ทางภาษา [TU Subject Heading] | Occasional speeches | สุนทรพจน์ในโอกาสต่าง ๆ [TU Subject Heading] | Speeches in Congress | สุนทรพจน์ในรัฐสภา [TU Subject Heading] | Speeches, addresses, etc. | สุนทรพจน์ [TU Subject Heading] | Speeches, addresses, etc., American | สุนทรพจน์อเมริกัน [TU Subject Heading] | Speeches, addresses, etc., Chinese | สุนทรพจน์จีน [TU Subject Heading] | Speeches, addresses, etc., English | สุนทรพจน์อังกฤษ [TU Subject Heading] | Speeches, addresses, etc., Thai | สุนทรพจน์ไทย [TU Subject Heading] | Stereotype (Psychology) in mass media | ภาพพจน์ในสื่อมวลชน [TU Subject Heading] | Stereotype (Social psychology) | ภาพพจน์ (จิตวิทยาสังคม) [TU Subject Heading] | Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] | Marshall Plan | แผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | Body Image | ภาพของร่างกาย, ภาพพจน์เกี่ยวกับตัวเอง, ส่วนของร่างกาย, จินตนภาพเกี่ยวกับร่างกาย, ภาพพจน์ของตัวเอง, ภาพลักษณ์ [การแพทย์] | microvillus (เอกพจน์), , microvilli (พหูพจน์) | ไมโครวิลลัส, ไมโครวิลไล, เยื่อหุ้มเซลล์ที่ยื่นออกมาเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึม พบที่ผนังด้านในของลำไส้เล็ก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | mitochondria (พหูพจน์), mitochondrion (เอกพจน์) | ไมโทคอนเดรีย, ไมโทคอนเดรียน, ออร์แกแนลล์ของเซลล์อย่างหนึ่งมีขนาดเล็กมาก มีอยู่ในไซโทพลาซึมของเซลล์เกือบทุกชนิด เป็นแหล่งผลิตพลังงานที่สำคัญให้แก่เซลล์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | degree of polynomial | ระดับขั้นพหุนาม, กำลังของตัวแปร เช่น ดีกรีของพจน์ที่มีตัวแปรตัวเดียว หมายถึง กำลังของตัวแปรนั้น เช่น ดีกรีของ 3x4 คือ 4 ดีกรีของพจน์ที่มีหลายตัวแปร หมายถึง ผลบวกของกำลังของตัวแปรทั้งหมด เช่น ดีกรีของ 7x2 yz3 คือ 6 และดีกรีสูงสุดของพจน์ในพหุนามเป็นดีกรีขอ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | truth table | ตารางค่าความจริง, ตารางที่แสดงค่าความจริงของประพจน์ใหม่ที่เกิดจากการเชื่อมประพจน์ตั้งแต่สองประพจน์ขึ้นไปด้วยตัวเชื่อม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | negation | นิเสธ, นิเสธของประพจน์ p หมายถึง ประพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปที่มีข้อความ "ไม่เป็นความจริงที่ว่า" เติมอยู่ข้างหน้าประพจน์ p [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | proposition [ statement ] | ประพจน์, ข้อความที่เป็นจริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยอาจอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธก็ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | statement | ประพจน์, ดู proposition [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | partial sum (of an infinite series) | ผลบวกย่อย (ของอนุกรมอนันต์), ผลบวกที่ได้จากการบวกพจน์ของอนุกรมอนันต์เข้าด้วยกันตั้งแต่พจน์แรกจนถึงพจน์ที่ n ตามลำดับ เขียนแทนผลบวกย่อยของอนุกรมอนันต์ด้วยสัญลักษณ์ Sn [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | term (of polynomial) | พจน์ (ของพหุนาม), จำนวนแต่ละจำนวนในพหุนาม เช่น 5x2, 4x และ 1 เป็นพจน์ของพหุนาม 5x2 + 4X - 1 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | term (of sequence) | พจน์ (ของลำดับ), พจน์ของลำดับใด ๆ หมายถึงจำนวนแต่ละจำนวน ที่อยู่ในลำดับนั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | polynomial (in one variable) | พหุนาม (ที่มีตัวแปรเดียว), พหุนามที่มีตัวแปรเดียวดีกรี n คือนิพจน์ที่อยู่ในรูป a0xn + a1xn-1+...+an-1+an เมื่อ ai เป็นจำนวนจริง (i = 1, 2, 3, ... n) หรือจำนวนจินตภาพและ n เป็นจำนวนเต็ม ซึ่งมากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | finite sequence | ลำดับจำกัด, ลำดับจำกัด ลำดับที่มีจำนวนพจน์จำกัด เช่น ลำดับ 2, 4, 6, 8, ...., 20 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | divergent sequence | ลำดับลู่ออก, ลำดับที่พจน์ที่ n ของลำดับมีค่ามากขึ้นโดยไม่เข้าใกล้จำนวนใดจำนวนหนึ่ง เช่น ลำดับ an = 2n-1 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | geometric sequence [ geometric progression ] | ลำดับเรขาคณิต, ลำดับที่อัตราส่วนร่วมระหว่างพจน์ที่ n + 1 กับพจน์ที่ n มีค่าคงตัว เช่น ลำดับ 1, 2, 4, 8, [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | infinite sequence | ลำดับอนันต์, ลำดับที่มีจำนวนพจน์ไม่จำกัด เช่น ลำดับ 2, 4, 6, 8, ... [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | limit of a sequence | ลิมิตของลำดับ, จำนวนซึ่งพจน์ที่ n ของลำดับเข้าใกล้ เมื่อ n มีค่ามากขึ้น โดยไม่มีที่สิ้นสุด เช่น หรือ 0 เป็นลิมิตของลำดับ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | series | อนุกรม, การแสดงผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของลำดับ a1, a2, a3, ..., an โดยเขียนในรูป a1 + a2 + a3 + ... + an + ... [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | finite series | อนุกรมจำกัด, อนุกรมที่มีจำนวนพจน์จำกัด เช่น 2 + 4 + 6 + 8 + ... + 20 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | common ratio | อัตราส่วนร่วม, อัตราส่วนระหว่างพจน์ที่ n + 1 กับพจน์ที่ n ของลำดับเรขาคณิต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | nuclei | นิวคลีไอ, คำพหูพจน์ของ nucleus [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | fungi (พหูพจน์), fungus | ฟังไจ, สิ่งมีชีวิตที่มีทั้งเซลล์เดียวและหลายเซลล์ มักมีโครงสร้างเป็นเส้นใยที่เรียกไฮฟา ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดำรงชีวิตได้โดยได้รับอาหารจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | phenomena | ปรากฏการณ์, คำพหูพจน์ของ phenomenon [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | phenomenon, phenomena (พหูพจน์), | ปรากฏการณ์, เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นปรากฏให้เห็นในธรรมชาติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | postulate [ axiom ] | สัจพจน์, ข้อความที่ตั้งขึ้นและยอมรับโดยไม่ต้องมีการพิสูจน์ทดสอบ เพื่อเป็นการกำหนดแนวความคิดที่จะค้นหากฏหรือทฤษฎีเพื่อจะอธิบายปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ คำนี้มีความหมายคล้ายคำว่า สมมติฐาน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | fungus | เห็ดรา, คำเอกพจน์ของ fungi [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | binomial coefficient | สัมประสิทธิ์ทวินาม, สัมประสิทธิ์ที่ปรากฏในแต่ละพจน์ของการกระจาย (a+b)n เช่น (a+b)2 = a2 + 2ab + b2 สัมประสิทธิ์ทวินาม คือ 1 , 2, 1 ซึ่งเป็นค่าคงตัวที่คูณอยู่กับ a2 , ab และ b2 ตามลำดับ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | axiom | สัจพจน์, ดู postulate [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | polynomial | พหุนาม, นิพจน์ที่อยู่ในรูปเอกนาม หรือเขียนอยู่ในรูปการบวกของเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Images | มโนภาพ, ภาพพจน์, ภาพ, จินตนภาพ, จินตนาการความคิดและเหตุผล [การแพทย์] | Mass Law Expressions | นิพจน์เกี่ยวกับกฏของมวลสาร [การแพทย์] |
| Excellency, here are the notes for your speech. | ท่านผู้นำ นี่สุทรพจน์ของท่าน The Great Dictator (1940) | Forgot my speech notes. | พ่อลืมสุนทรพจน์ Jumanji (1995) | He's not an officer, for all his voice and his linear belt. | สำหรับเสียงของเขาและเข็มขัด เชิงเส้นของเขา ดังนั้นเขาไม่อาจทำให้การกล่าว สุนทรพจน์ How I Won the War (1967) | Noon! I'd better rehearse my speech! | เที่ยง งั้นผมรีบซ้อมสุนทรพจน์ก่อน Blazing Saddles (1974) | These are the laws which will govern your lives | เหล่านี้คือกฏหมายสิ่งที่ will govern พหูพจน์ของlifeของคุณ . Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | Our pro bono work is good for the firm's image. Right, honey? | งาน Pro Bono ของเรามันดีต่อการสร้างภาพพจน์ให้บริษัท จริงไหม ที่รัก? Brokedown Palace (1999) | We all owe someone an apology along the way. I mean, that's life, man. | ฉันคิดว่ามันเป็นไปตามคติพจน์ของบทกวี Rock Star (2001) | Do you know she was picked to give the graduation speech? | หนูรู้เกี่ยบกับเรื่องที่ แม่ของหนูพูดสุนทรพจน์ตอนเรียนจบนั่นหรือเปล่า? X-Ray (2001) | The Torch prints the graduation speech every year, right? | ทอร์ชของเธอเก็บบันทึกสุนทรพจน์ไว้ทุกปีใช่ไหม? X-Ray (2001) | Maybe I could track something down for you. Do you know who gave this speech? | บางทีฉันอาจจะหาข้อมูลให้เธอได้นะ เธอรู้ไหมว่าใครเป็นคนกล่าวสุนทรพจน์นี้? X-Ray (2001) | Tried to find your graduation speech, but they didn't print it. | หนูพยายามหาคำพูดสุนทรพจน์ของแม่ แต่มันกลับไม่เคยถูกพิมพ์ไว้เลย X-Ray (2001) | As principal of Smallville High, I would like to introduce the valedictorian of the class of 1977, Miss Laura Potter. | ในฐานะที่เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสมอลวิลล์ ฉันอยากจะขอแนะนำ.. ผู้นำกล่าวคำสุนทรพจน์ประจำปี 1977 มิสลอร์ร่า พอตเตอร์ X-Ray (2001) | You know when I come here most is when I have to make a speech... and I get nervous. | รู้ไหม ผมมาที่นี่บ่อยสุด เวลาผมต้องกล่างสุนทรพจน์... ...แล้วรู้สึกเกร็ง Maid in Manhattan (2002) | Yeah, a smooth, and I'd like to think a... very... compelling speech. | ใช่ ความลื่นไหล ฉันอยากจะคิด... สุนทรพจน์ที่โน้มน้าวใจคน Maid in Manhattan (2002) | And this guy calls up, and he's talking about his senior quote and DJ Justice says, "What was great about your quote?" | และมีคนนึงโทรมา เขาพูดเรื่อง สุนทรพจน์ของเขา... แล้วดีเจจัสติสบอกว่า สุนทรพจน์ของคุณมีอะไรดี? Punch-Drunk Love (2002) | Jamon in English means Maxim | Jamon ในภาษาอังกฤษแปลว่า คติพจน์ Oldboy (2003) | Corporations don't advertise products particularly; | การบริหารภาพพจน์ - บรรษัทไม่ได้โฆษณาสินค้าเพียงอย่างเดียว (ริชาร์ด กรอสแมน ผู้ร่วมก่อตั้งโครงการศึกษาบรรษัท, กฎหมายและประชาธิปไตย) The Corporation (2003) | Perception management is a very interesting concept | การบริหารภาพพจน์เป็นแนวคิดที่น่าสนใจมาก (คริส โคมิซาร์เยฟสกี ซีอีโอ บรรษัทเบอร์สันมาร์สเตลเลอร์, บรรษัทประชาสัมพันธ์ระดับโลก) The Corporation (2003) | Their inspiration their brand image is the all American family. | แรงบันดาลใจและภาพพจน์ของเครื่องหมายการค้า คือครอบครัวแบบอเมริกันแท้ The Corporation (2003) | It was not because he thought it was immoral or not but because Watson with a very keen sense of public relations thought it was risky. | แต่เพราะวัตสัน เป็นคนที่มีความรู้สึกไวมากเกี่ยวกับภาพพจน์บริษัท เขาจึงคิดว่ามันเสี่ยง The Corporation (2003) | It's with the public perception and the public image that they are projecting. | อยู่ที่ภาพพจน์และสายตาของสังคม ที่บรรษัทต้องแบกรับ The Corporation (2003) | I postponed yearbook. I gotta work on my speech. | ผมเลื่อนงานเรื่องหนังสือรุ่นหน่ะครับ กะจะซ้อมเรื่องสุนทรพจน์ซะหน่อยครับ The Girl Next Door (2004) | - What's the speech you're working on? | ครับ มันเยี่ยมมาก -ซ้อมสุนทรพจน์อะไรอยู่หล่ะ? The Girl Next Door (2004) | I mean, there's some stiff competition, and they only pick one of us so I'll just have to blow them away with my speech. | แบบว่า มีการแข่งขันด้วยหน่ะครับ คัดเอาแค่คนเดียวด้วย หมายถึงว่าผมต้องทำให้เขาชอบสุนทรพจน์ของผมให้ได้ The Girl Next Door (2004) | That's your speech? | นั่นเหรอ สุนทรพจน์ของนาย? The Girl Next Door (2004) | It's really kicking in right now. | -อย่าพยายามพูดมาก เข้าใจ? -พูดมากนี่นะ? ฉันกำลังจะไปกล่าวสุนทรพจน์นะ The Girl Next Door (2004) | - Wait, wait. In a few minutes, we'll begin the speeches, and we hope... | อีกไม่กี่อึดใจ เราจะเริ่ม การกล่าวสุนทรพจน์ และเราหวังว่า... The Girl Next Door (2004) | It's funny, I have this whole speech prepared and I've been practicing for weeks but you know what? | ฟังดูตลกๆนะ ผมเตรียมสุนทรพจน์... ใช้เวลาซ้อมเป็นอาทิตย์ แต่รู้ไรไหม? The Girl Next Door (2004) | The fact that my first address to you comes from a consulate on foreign soil is a testament to our changed reality. | การที่ผมกล่าวสุทรพจน์ครั้งแรกจากแผ่นดินต่างแดน... ...คือหลักฐานยืนยันความเป็นจริงที่เปลี่ยนไป The Day After Tomorrow (2004) | So if we work with you and your open spaces coalition, is that gonna help the Huckabees image? | ถ้าทำงานร่วมกัน ทำงานร่วมกับแนวร่วมโอเพ่นสเปซ จะช่วยภาพพจน์ของฮัคคาบี้ส์มั้ย แน่นอน ช่วยฉันมั้ย ช่วยแน่ I Heart Huckabees (2004) | You're gonna cramp my style | เธออยู่ด้วย เสียภาพพจน์หมด Saving Face (2004) | Is this where you give me the "Be a good soldier" speech? | นี่คือสิ่งที่คุณ ให้ฉันเหรอ สุนทรพจน์ "เป็นทหาร ที่ดีนะ" Pilot (2004) | No, this is ere I give you the speech about how you're my best field scientist and Tom is my best lead investigator, | ไม่ ฉันเองที่จะให้ สุนทรพจน์ ว่าคุณคือ นักวิทยาศาสตร์ที่ดี่ที่สุดของฉัน และทอมเป็นหัวหน้า สืบสวนที่ดีที่สุด Pilot (2004) | Have I missed all the boring speeches? | ผมพลาดสุนทรพจน์น่าเบื่อไปรึยัง Goal! The Dream Begins (2005) | I'm making one of the "boring" speeches. This distraction is not welcome. | ผมนี่ละคนกล่าวสุนทรพจน์ "น่าเบื่อ" ที่นี่ไม่ต้อนรับคนก่อกวน Goal! The Dream Begins (2005) | Tomorrow Goodchild will be preparing his address to the council | พรุ่งนี้กู๊ดชายลด์จะเตรียม สุนทรพจน์ต่อสภา Æon Flux (2005) | - Trevor, your speech. | - เทรเวอร์ สุนทรพจน์ของคุณ Æon Flux (2005) | Preparing his speech. | ระหว่างเตรียมสุนทรพจน์ Æon Flux (2005) | Some say the reason it's taken him this long to get married is his fear... of making just this speech, but he's making it now! | บ้างก็ว่าที่เจ้าบ่าวเราโอ้เอ้ ไม่ยอมแต่งซะที เพราะกลัวครับ กลัวต้องกล่าวสุนทรพจน์ อันที่กำลังจะต้องกล่าวตอนนี้ Imagine Me & You (2005) | "ln her acceptance speech, the distinguished scientist... | "ตอนกล่าวสุนทรพจน์ นักวิทยาศาสตร์ชื่อดัง..." Imagine Me & You (2005) | - Personal motto? | - คติพจน์ประจำตัวเหรอ? V for Vendetta (2005) | that this devil-may-care attitude just won't fly I have to talk to Princess Fiona. | ไอ้ปิศาจ มันจะไปสนใจภาพพจน์อะไร เพียงแค่ไม่ ได้โปรด, ... ฉันต้องคุยกับเจ้าหญิง ฟิโอนา. Shrek 2 (2004) | Go worry about you, I'll handle this. | ไปจัดการเรื่องภาพพจน์ของพี่ เรื่องแม่ผมดูแลเอง ดี Chapter One 'Genesis' (2006) | You gave a speech at the entrance ceremony of college. | คุณกล่าวสุนทรพจน์ในงานต้อนรับเข้ามหาลัย Death Note: The Last Name (2006) | It's time you shed your backward image. | ถึงเวลาที่คุณจะต้องเปลี่ยนภาพพจน์หล้าหลังแล้ว The City of Violence (2006) | It's better for your image to go now. | ภาพพจน์นายจะดีขึ้นถ้านายเกณฑ์ทหาร. Sassy Girl, Chun-hyang (2005) | Next, a few words from our freshman class representative. | รายการต่อไปนี้ เป็นการกล่าวสุนทรพจน์ จากตัวแทนน้องใหม่ Crows Zero (2007) | -...is set to arrive in Los Angeles to deliver a speech before the security league. | - ... เดินทางมาถึงในวันนี้... เพื่อกล่าวสุนทรพจน์ ต่อหน้าสมัชชาความมั่นคง... Pilot (2007) | As muchas I love the speech about not needingmaterial things from a guy who hasthat much product in his hair, this party is about excess, not exposition. | ฉันรักสุนทรพจน์นี้มากพอๆกับที่ ฉันไม่ต้องการสิ่งของนอกกายนั่นแหละ จากผู้ชายที่มี สิ่งนั้นอยู่ในผมเค้าเลยนะ this party is about excess, not exposition. Bad News Blair (2007) | If a rumour spreads that he didn't take his responsibilities, then, the Marukoshi name will be damaged ! | ถ้าข่าวอื้อฉาวนี้แพร่ออกไปว่าฝ่ายชายไม่รับผิดชอบล่ะก็ ภาพพจน์ห้าง Marukoshi ก็จะเสียหายได้ Is Marriage Built Upon Affinity? (2007) |
| อัตราส่วนซึ่งมากกว่า 2 พจน์ | [attrāsuan seung māk kwā søng phot] (n, exp) EN: ratios with more than two terms | คติพจน์ | [khatiphot] (n) EN: motto ; maxim ; slogan ; catchword FR: devise [ f ] ; mot d'ordre [ m ] | นิพจน์ | [niphot] (n) EN: expression | นิพจน์บูลีน | [niphot Būlīn] (n, exp) EN: boolean expression FR: expression booléenne [ f ] | นิพจน์เชิงเส้น | [niphot choēngsen] (n, exp) EN: linear expression (LE) | นิพจน์ปรกติ | [niphot prokkati] (n, exp) EN: regular expression | นิพจน์ตรรกะ | [niphot takka] (n, exp) EN: logical expression | นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ | [niphot thāng khanittasāt] (n, exp) EN: numeric expression | นิพจน์ทางตรรกศาสตร์ | [niphot thāng takkasāt] (n, exp) EN: Boolean Logical Expression | ปัจฉิมพจน์ | [patchimphot] (n) FR: post-scriptum [ m ] | พหุพจน์ | [phahuphot] (n) EN: plural number | ภาพพจน์ | [phāpphot] (n) EN: image ; word-picture FR: image de marque [ f ] | ภาพพจน์บริษัท | [phāpphot børisat] (n, exp) EN: corporate image | พจน์ | [phot] (n) EN: word ; speech ; saying ; diction ; term FR: mot [ m ] ; parole [ f ] ; terme [ m ] | พจน์ | [phot] (n) EN: number FR: nombre [ m ] | ประพจน์ | [praphot] (n) EN: proposal ; proposition ; announcement | ประพจน์ | [praphot] (n) EN: Buddha's teaching ; Buddha's word | ประพจน์เลือก | [praphot leūak] (n, exp) EN: disjunction | แสดงสุนทรพจน์ | [sadaēng suntharaphot] (v, exp) EN: make a speech FR: faire un discours | สัจพจน์ | [satjaphot] (n) EN: postulate ; axiom FR: postulat [ m ] ; axiome [ m ] | สัจพจน์ของความน่าจะเป็น | [satjaphot khøng khwām nā ja pen] (n, exp) EN: axioms of probability | สุนทรพจน์ | [suntharaphot] (n) EN: speech ; address ; harangue ; oration FR: discours [ m ] ; allocution [ f ] | สุนทรพจน์อำลา | [suntharaphot amlā] (n, exp) EN: farewell speech FR: discours d'adieu [ m ] | สุนทรพจน์ต้อนรับ | [suntharaphot tønrap] (n, exp) EN: welcome speech FR: discours de bienvenue [ m ] ; allocution de bienvenue [ f ] | ทำลายภาพพจน์ประเทศไทย | [thamlāi phāpphot prathēt Thai] (v, exp) EN: damage Thailand's image | ไวพจน์ | [waiphot] (n) EN: synonym ; homonym ; pun ; play on words FR: synonyme [ m ] |
| SONA | (n) ย่อมาจาก State of Nation Address สุนทรพจน์ที่ผู้นำกล่าวสรุปสถานการณ์ของประเทศ | passersby | (n) (พหูพจน์ของ passerby) ผู้คนผ่านไปมาตามถนน, See also: passer-by, passerby, Syn. passers-by | briefs | (n) |ใช้เป็นพหูพจน์| กางเกงใน, See also: underwear, Syn. underpants | theses | (n) |พหูพจน์ของ thesis| วิทยานิพนธ์, ข้อสรุป, ข้อวินิจฉัย เช่น Finding model theses or dissertations can help you gauge how much (or how little) you have to do. A good model can also serve as an inspiration for you. |
| accomplishment | (n) ทักษะ (ส่วนใหญ่ใช้ในรูปพหูพจน์), See also: ความสามารถพิเศษที่ฝึกฝน | adage | (n) ภาษิต, See also: คติพจน์, สุภาษิต, Syn. saying | address | (n) คำปราศรัย, See also: สุนทรพจน์, กระแสพระราชดำรัส, Syn. oration, speech | algae | (n) สาหร่าย (รูปพหูพจน์ของ alga) | am | (aux) รูปของ Verb to be ที่ใช้กับบุรุษที่ 2 เอกพจน์ | aphorise | (vi) เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์, Syn. aphorize | aphorism | (n) คำพังเพย, See also: คติพจน์, Syn. saying | aphorist | (n) ผู้ที่เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์หรือคำพังเพย | aphorize | (vi) เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์, Syn. aphorise | apophthegm | (n) คติพจน์, Syn. apothegm, saying | apothegm | (n) คติพจน์, Syn. apophthegm, saying | bacilli | (n) แบ็กทีเรียบาซิลลัส (คำพหูพจน์ของ bacillus), Syn. bacteria | barnstorm | (vi) ตระเวณไปที่ต่างๆ เพื่อแสดงละครหรือแสดงสุนทรพจน์ | barracudas | (n) คำนามพหูพจน์ของ barracuda | bases | (n) คำนามพหูพจน์ของคำว่า base และ basis | batmen | (n) ทหารรับใช้ (คำนามพหูพจน์ของ batman) | beaux | (n) คำนามพหูพจน์ของ beau | calculi | (n) นิ่ว (คำพหูพจน์ของ calculus), See also: ก้อนนิ่ว | children | (n) คำพหูพจน์ของคำว่า child | discourse on | (phrv) กล่าวสุนทรพจน์เรื่อง, See also: อภิปรายเรื่อง, ปราศรัยเรื่อง | discourse upon | (phrv) กล่าวสุนทรพจน์เรื่อง, See also: อภิปรายเรื่อง, ปราศรัยเรื่อง | dead | (n) คนตาย (พหูพจน์), See also: ผู้ตาย, Syn. dead people | deaf | (n) คนหูหนวก (พหูพจน์) | declaim | (vt) แสดงสุนทรพจน์อย่างฉะฉาน, See also: อ่านบทกวีอย่างฉะฉานจริงจัง, Syn. recite | declaim | (vi) อ่าน, See also: ท่อง บทกวี, สุนทรพจน์ ฯลฯ, อย่างมีอรรถรส, Syn. recite | declamation | (n) การแสดงสุนทรพจน์อย่างฉะฉาน, See also: การพูดหรืออ่านอย่างฉะฉาน | deliver | (vt) พูดสุนทรพจน์, See also: แสดงการบรรยาย, ปาฐกถา, Syn. tell, recite | desideratum | (n) สิ่งจำเป็น (คำนามพหูพจน์ของ desideratum), See also: สิ่งที่ต้องการ, Syn. desire, requirement | dimension | (n) ขอบเขต (ปกติใช้รูปพหูพจน์ dimensions), See also: ขนาด, ขอบข่าย, มิติ, Syn. quantity, proportions | discourse | (n) การบรรยายที่เคร่งเครียด, See also: การสนทนา, การปาฐกถา, การกล่าวสุนทรพจน์, Syn. speech, verbalization, address, monoloque | dormice | (n) หนูชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายกระรอก (พหูพจน์ของdormouse) | elves | (n) ภูติน้อย (รูปพหูพจน์ของ elf) | geese | (n) ห่าน (คำนามพหูพจน์ของ goose) | genera | (n) คำนามพหูพจน์ของ genus, Syn. breed, order, rank, caste | genera | (n) คำนามพหูพจน์ของ genus | genii | (n) ภูตในนิทานโรมัน (คำนามพหูพจน์ของ genius), Syn. genies | halves | (n) พหูพจน์ของ half | hast | (aux) กริยาช่องที่ 1 เอกพจน์ บุรุษที่ 2 ของ have (คำโบราณ) | hast | (vt) กริยาช่องที่ 1 เอกพจน์ บุรุษที่ 2 ของ have (คำโบราณ) | hath | (aux) กริยาช่องที่ 1 เอกพจน์ บุรุษที่ 3 ของ have (คำโบราณ) | hyperbole | (n) คำพูดที่พูดเกินความจริง, See also: อธิพจน์ | maiden speech | (idm) สุนทรพจน์ครั้งแรก | I | (pron) คำสรรพนามเอกพจน์บุรุษที่1, See also: ผม, ดิฉัน, ข้าพเจ้า, หน, กระหม่อม | inauguration | (n) พิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง (ทางการเมือง), See also: สุนทรพจน์ในพิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง, Syn. coronation, enthronement | indefinite article | (n) คำนำหน้านามเอกพจน์ที่ไม่ได้กล่าวถึงมาก่อน, See also: เช่น a, an | indices | (n) ดัชนี (คำนามพหูพจน์ของคำนาม index), See also: ดรรชนี, Syn. directory file, inventory, roll | inflect | (vi) ผันไปตามบุรุษและพจน์ (ทางไวยากรณ์) | is | (aux) เป็น / อยู่ / คือ (กริยาช่วยที่ใช้กับประธานเอกพจน์) | knives | (n) มีด (คำพหูพจน์ของ knife), See also: ดาบ | kronor | (n) โครนา (หน่วยเงินตราของประเทศสวีเดนและเกาะไอซ์แลนด์) (คำพหูพจน์ของ krona) |
| abaci | (แอบ' บะไซ) n. พหูพจน์ของ abacus | acronym | (แอค' โรนิม) n. คำย่อจากพยัญชนะตัวแรกหลายคำ. -acronymic adj. คำย่อรัสพจน์หมายถึง คำย่อที่เกิดจากการนำอักษรตัวแรก หรือกลุ่มอักษรบางตัวมาสร้างขึ้นเป็นคำใหม่ประกอบด้วยอักขระตั้งแต่สองตัวขึ้นไป นิยมออกเสียงเหมือนคำปกติ เช่น DOS ซึ่งเอาอักษร D มาจากคำว่า Disk อักษร O มาจาก คำ Operating และ S มาจากคำว่า System คำนี้จะอ่านออกเสียงว่า "ดอส" แทนที่จะอ่านว่า ดีโอเอส คำย่อประเภทนี้ นิยมใช้กันมากใน วงการคอมพิวเตอร์ เช่น BASIC ซึ่งย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code ก็อ่านว่า "เบสิก" | adage | (แอด' ดิจฺ) n. คติพจน์, สุภาษิต. -adagial adj., Syn. saying, proverb, precept | agenda | (อะเจน' ดะ) n., (pl. -das, -da) ระเบียบวาระการประชุม, หนังสือบันทึกเรื่องราว, พหูพจน์ของ agendum, Syn. schedule, programme, timetable | alae | (เอ' ลี) n. พหูพจน์ของ ala | allies | (แอล' ไลซ, อะไลซ') n. พหูพจน์ของ ally, พันธมิตร -Allies ชาติพันธมิตร, สมาชิกสนธิสัญญานาโต้ (NATO) | allocution | (แอลโลคิว' เชิน) n. การแสดงสุนทรพจน์ (formal speech) | aphorise | (แอฟ'ฟะไรซ) vi. เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์คำพังเพย. -aphoris (z) re n. (to utter aphorisms) | aphorism | (แอฟ'ฟะริสซึม) n. คติพจน์, คำพังเพย. -aphorismic, aphorismatic adj. | aphorist | (แอฟ'ฟะริสทฺ) n. ผู้ที่เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์หรือคำพังเพย | apices | (แอพ'พิซีซ) n. พหูพจน์ของ apex | apothegm | (แอพ'พะเธม) n. คติพจน์. apothegmatic (al) adj. | are | (อา) ใช้กับ you และเป็นพหูพจน์แทน be, หน่วยผิวหน้าที่เท่ากับ 100 ตารางเมตรหรือ 119.6 ตารางหลาหรือ 1/100 hectare | asci | (แอส'ไซ) n. พหูพจน์ของ ascus | audile | (ออ'ดิล, -ไดล์) n. ผู้มีภาพพจน์จากการฟัง, ผู้รู้สึกได้ดีจากการฟัง (auditory) | automata | (ออทอม'มาทะ) พหูพจน์ของ automation | axes | (แอค' เซซ) พหูพจน์ของ axis หรือ axe | bases | (เบส'เซซ) พหูพจน์ของ base -Conf. basus | beaux | (โบซ) n. พหูพจน์ของ beau | beeves | (บีฟซ) n. พหูพจน์ของ beef | bronchi | (บรอง'โค) n. พหูพจน์ของ bronchus | bureaux | (บิว'โรซ) n. พหูพจน์ของ bureau | calices | (แคล'ลิซีซ) พหูพจน์ของ calix | calves | (คาฟซ) n., pl. พหูพจน์ของ calf | capita | (แคพ'พิทะ) n. พหูพจน์ของ caput | cervices | n. พหูพจน์ของ cervix | children | (ชิล'เดรน) n. พหูพจน์ของ child | cocci | (คอค'ไซ) พหุพจน์ของ coccus | codices | (โค'ดิซีซ) n. พหูพจน์ของ codex | couldst | (คูดสฺทฺ) v. เอกพจน์บุรุษที่ 2 ของ could | data | (เด'ทะ, ดา'ทะ) n. พหูพจน์ของ datum | declamation | (เดคคละเม'เชิน) n. การแสดงสุนทรพจน์แบบโผงผาง, พูดชุมชน, การพูดที่ครึกโครม, การคุยโว, การท่องออกเสียง, See also: declamatory adj. ดูdeclamation | delivery | (ดิลิฟ'เวอรี) n. การส่ง, การนำส่ง, การกล่าว, การกล่าวสุนทรพจน์, การโยน (ลูกบอล) , สิ่งที่นำส่ง, การคลอดบุตร, การส่งสินค้าจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อ, Syn. transfer | dicta | (ดิค'ทะ) n. พหูพจน์ของ dictum | doeth | (ดู'อิธ) v. กริยาปัจจุบันกาลบุรุษที่ 3 และเอกพจน์ของdo | dost | (ดัสทฺ) v. กริยาบุรุษที่ 2 เอกพจน์และ ปัจจุบันกาลของ do | doth | (ดอธ) v. กริยาบุรุษที่ 3 เอกพจน์และ ปัจจุบันกาลของ do | elves | (เอล'เวส) n. พหูพจน์ของ elf | elytra | n. พหูพจน์ของ elytron | eyen | (อาย'เอิน) n. พหูพจน์ของ eye | feet | (ฟีท) n. พหูพจน์ของ foot | foci | (โฟ'ไซ) n. พหูพจน์ของ focus | fries | (ไฟรซ) n. พหูพจน์ของ fry. -v. กริยาเอกพจน์บุรุษที่ 3 ของ ry | fungi | (ฟัน'ไจ) n. พหูพจน์ของ fungus | ganglia | n. พหูพจน์ของ ganglion | geese | (กีส) n. พหูพจน์ของ goose | genera | (เจน'เนอระ) n. พหูพจน์ของ genus | genii | (จี'นิไอ) n. พหูพจน์ของ genius | gentlemen | n. พหูพจน์ของ gentleman | gnome | (โนม) n. มนุษย์แคระที่อยู่ใต้ดิน (ในนวนิยาย) , ปู่โสม, คำพังเพย, สุภาษิต, คติพจน์, See also: gnomic adj. gnomist n. gnomish adj. |
| adage | (n) สุภาษิต, ภาษิต, คติพจน์, คำกล่าว | address | (n) คำปราศรัย, สุนทรพจน์, การจ่าหน้าซอง, ที่อยู่ | aphorism | (n) คำพังเพย, คติพจน์, ภาษิต | declaim | (vi) พูดในที่ชุมนุมชน, แสดงปาฐกถา, แสดงสุนทรพจน์ | declamation | (n) การพูดในที่ชุมนุมชน, ปาฐกถา, การแสดงสุนทรพจน์ | delivery | (n) การพูดจา, การกล่าวสุนทรพจน์, การส่งมอบ, การคลอดลูก | has | (vt มี(ใช้กับบุรุษที่ 3) เอกพจน์) | iconoclast | (n) คนคัดค้านการบูชารูปปั้น, ผู้ทำลายภาพพจน์ | image | (n) รูป, เงา, รูปแบบ, ภาพ, ภาพพจน์ | inflection | (n) การเบน, การผันไปตามเพศพจน์, การเปลี่ยนแปลงคำ | maxim | (n) คติพจน์, หลัก, เกณฑ์, กฎ, ความจริง | motto | (n) คติพจน์, ภาษิต, คำคม, คำขวัญ | oration | (n) การกล่าวปราศรัย, การแสดงสุนทรพจน์, โวหาร | orator | (n) ผู้ปราศรัย, ผู้แสดงสุนทรพจน์, นักพูด, นักโต้วาที, โจทก์ | oratorical | (adj) ในเชิงโวหาร, เกี่ยวกับการแสดงสุนทรพจน์ | oratory | (n) คำปราศรัย, สุนทรพจน์, วาทศิลป์ | picture | (n) ภาพวาด, รูปภาพ, ภาพยนตร์, สถานการณ์, ภาพพจน์ | plural | (adj) มากมาย, มาก, เป็นพหูพจน์ | plural | (n) พหูพจน์ | proverb | (n) สุภาษิต, ภาษิต, คติพจน์, คำพังเพย | saying | (n) สุภาษิต, คำพูด, คติพจน์, คำกล่าว, ภาษิต | sentence | (n) คำตัดสิน, ประโยค, การพิพากษา, การลงโทษ, คติพจน์ | sententious | (adj) เล่นสำนวน, เชิงสั่งสอน, เต็มไปด้วยคติพจน์ | singular | (adj) เป็นเอกพจน์, ดีเลิศ, เป็นเอกเทศ, เฉพาะตัว | singularity | (n) เอกพจน์, ความแปลก, ความเป็นเอกเทศ, ลักษณะเฉพาะตัว | slogan | (n) คำขวัญ, เสียงสัญญาณ, คติพจน์, คำโฆษณา | speaker | (n) ผู้พูด, โฆษก, พิธีกร, ผู้บรรยาย, ลำโพงวิทยุ, ประธาน, การแสดงสุนทรพจน์ | speaking | (n) การแสดงสุนทรพจน์, การพูด, การบรรยาย, การแสดงปาฐกถา | speech | (n) สุนทรพจน์, คำพูด, คำปราศรัย, คำบรรยาย, วาทะ | watchword | (n) คำสัญญาณ, หลักสำคัญ, คำรหัส, คำขวัญ, คติพจน์ |
| Hedge | (n, vi) [ Linguistics: Pragmatics ] n. คำบ่งชี้ความไม่แน่ใจ คำบ่งชี้การพูดออกตัว การพูดออกตัว โดยใช้ คำ วลี หรือประพจน์เพื่อป้องกันตัวของผู้พูดในกรณีที่พูดผิด ไม่มั่นใจ เช่น วันนี้ฝนอาจจะตก คำว่า อาจจะ คือ hedge ชนิดหนึ่งที่บ่งชี้ว่าผู้พูดมีความไม่มั่นใจ มีความกำกวม ซึ่งฝนจะตกหรือไม่ตกผู้พูดก็ไม่ได้พูดผิด เพราะคำว่า อาจจะ มีความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้ที่จะเกิด 50/50 v. พูดออกตัว พูดกำกวม พูดป้องกันตัว, See also: softener, downtoner, understatement, weakener, tentativeness, stance m, Syn. mitigator | panegyric | (n) บทสดุดี คือสุนทรพจน์อย่างเป็นทางการหรือต่อมาเป็นบทเขียนที่ใช้ในการสรรเสริญบุคคลหรือสิ่งของ เป็นคำที่มาจากภาษากรีกที่หมายถึงสุนทรพจน์ที่เหมาะแก่ที่ประชุม (panegyris) ในเอเธนส์การกล่าวบทสดุดีจะทำกันในเทศกาลระดับชาติหรือในการแข่งขันกีฬาโดยมีจุดประสงค์ในการเร้าใจผู้ที่มาร่วมเพื่อให้ปฏิบัติตนเช่นตัวอย่างอันดีของบรรพบุรุษ (Source:wikipedia.org), See also: eulogy |
| 項 | [こう, kou] (n) พจน์, หัวข้อ | 台詞 | [せりふ, serifu] (n) (สพีชฺ) n. การพูด, วิธีการพูด, คำพูด, คำบรรยาย, คำสุนทรพจน์, วิชาเกี่ยวกับการพูด, ข่าวลือ, ภาษาชนชาติ, ภาษา., S. utterance |
| 発言 | [はつげん, hatsugen] TH: คำกล่าวสุนทรพจน์ EN: speech |
| Rede | (n) |die| คำกล่าว, สุนทรพจน์ | alle | (ind-pron) ทั้งหมด (มาจาก all ที่ถูกผันเมื่อตามด้วยคำนามพหูพจน์) เช่น alle Leute ทุกคน; all ไม่ถูกผันเมื่อตามด้วยคำนำหน้านามที่เฉพาะหรือคำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ เช่น all die/meine Sache สิ่งของของฉันทั้งหมด, See also: ganz, gesamt | den | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) 1. ที่อยู่ในรูป Akkusativ สำหรับคำนามเพศชาย der เช่น für den Mann สำหรับผู้ชายคนนั้น 2. ที่อยู่ในรูป Dativ สำหรับคำนามพหูพจน์เพศใดๆ เช่น mit den Männern กับผู้ชายเหล่านั้น | denen | (rel, pron) สรรพนามสำหรับนามพหูพจน์รูป Dativ ที่ใช้ในวลีที่เชื่อมกับประโยคหลัก เช่น Wir kümmern uns um die Personen, von denen ihr Geschäft abhängt. เราดูแลผู้คนที่มีความสำคัญต่อธุรกิจของเขาเอง | die | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจงสำหรับเพศหญิง หรือพหูพจน์ (เหมือน the ในภาษาอังกฤษ), See also: der, das | diesen | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศชายรูป Akkusativ และนามพหูพจน์รูป Dativ ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น 1. Wer hat in diesen Apfel gebissen? ใครกัดแอปเปิ้ลลูกนี้เนี่ย 2. Ich habe dir ein Geschenk mit diesen Früchten mitgebracht. ฉันเอาของขวัญพร้อมด้วยผลไม้เหล่านี้มาฝากเธอ | ein | หนึ่งชิ้น หนึ่งคนหรืออื่นๆ เป็นคำนำหน้านามเอกพจน์ของเพศชายและเพศกลางที่ไม่เฉพาะเจาะจงในรูปประธาน เช่น ein Hund (m)สุนัขตัวหนึ่ง, ein Haus (n) บ้านหนึ่งหลัง, See also: eins | eine | หนึ่งชิ้น หนึ่งคนหรืออื่นๆ เป็นคำนำหน้านามเอกพจน์ของเพศหญิงที่ไม่เฉพาะเจาะจงในรูปประธาน เช่น eine Schule โรงเรียนแห่งหนึ่ง, See also: ein | einem | หนึ่งชิ้น หนึ่งคนหรืออื่นๆ เป็นคำนำหน้านามเอกพจน์ของเพศชายและเพศกลางที่ไม่เฉพาะเจาะจงในรูปกรรมรอง Dativ, See also: ein | einen | หนึ่งชิ้น หนึ่งคนหรืออื่นๆ เป็นคำนำหน้านามเอกพจน์ของเพศชายและเพศกลางที่ไม่เฉพาะเจาะจงในรูปกรรมตรง Akkusativ, See also: ein | Personal | (n) |das, nur Sing.| ลูกจ้าง, พนักงาน, กำลังคน (มีความหมายเป็นพหูพจน์), See also: der Mitarbeiter | Elf | (n) |die, pl. Elfen| หมายเลขสิบเอ็ด หรือถ้าเป็นเอกพจน์หมายถึงทีมฟุตบอล หรือนักฟุตบอลหมายเลขสิบเอ็ด | wir | (pron) พวกเรา (คำสรรพนามบุรุษที่ 1 รูปประธานพหูพจน์) เช่น Wir sind groß. | sie | (pron) พวกเขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานพหูพจน์) เช่น Sie sind groß. | Sie | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Sie sind groß. | ihr | (pron) พวกเธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ) เช่น Ihr seid groß. | uns | (pron) พวกเรา (คำสรรพนามบุรุษที่ 1 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์) เช่น Wer liebt uns? | euch | (pron) พวกเธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์ ) เช่น Wer liebt euch? | Sie | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie? | uns | (pron) พวกเรา (คำสรรพนามบุรุษที่ 1 รูปกรรมรอง Dat. พหูพจน์) เช่น Die Farbe gefällt uns. | euch | (pron) พวกเธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. พหูพจน์ ) เช่น Die Farbe gefällt euch. | Ihnen | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Die Farbe gefällt Ihnen. | ihnen | (pron) พวกเขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมรอง Dat. พหูพจน์) เช่น Die Farbe gefällt ihnen. | sie | (pron) พวกเขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์) เช่น Wer liebt sie? | eine Menge | |+ กริยาเอกพจน์ ไม่ว่าจะตามด้วยคำนามเอกพจน์หรือพหูพจน์| จำนวนมาก เช่น Herr Müller hat eine Menge Geld., Eine Menge Leute haben die Ausstellung besucht. | Mühe | (n) |die, pl. Mühen, ส่วนใหญ่เป็นเอกพจน์| ความอุตสาหะ ความพยายาม เช่น Er hat das Diplom mit viel Mühe erreicht. เขาสำเร็จดิโพลม(ปริญญาโทในเยอรมนี)ด้วยความพากเพียร | mein | 1) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Nominativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและกลางเอกพจน์| เช่น mein alter Tisch, mein altes Haus | meine | 1) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น meine alte Hose | mein | 2) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น mein altes Haus | meine | 2) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น meine alten Tische, meine alten Häuser, meine alten Hosen | meinen | 1) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายเอกพจน์| เช่น meinen alten Tisch | euren | 1) ของพวกเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองพหูพจน์รูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายเอกพจน์| เช่น euren alten Tisch | meinem | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น meinem alten Haus, meinem alten Tisch | meiner | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น meiner alten Hose | meinen | 2) ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น meinen alten Tische, meinen alten Häuser, meinen alten Hosen | meines | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น meines alten Hauses, meines alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม) | meiner | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น meiner alten Hose | meiner | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น meiner alten Hosen, meiner alten Häuser, meiner alten Tische | dein | ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและกลางเอกพจน์| เช่น dein alter Tisch, dein altes Haus | deine | 1) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น deine alte Hose | dein | ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น dein altes Haus | deine | 2) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น deine alten Tische, deine alten Häuser, deine alten Hosen | deinen | 1) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายเอกพจน์| เช่น deinen alten Tisch | eure | 1) ของพวกเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองพหูพจน์รูป Nominativ และ Akkusativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น eure alten Tische, eure alten Häuser, eure alten Schulen | deinem | ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น deinem alten Haus, deinem alten Tisch | deiner | 1) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศกลางเอกพจน์| เช่น deiner alten Hose | deinen | 2) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Dativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศใดๆ พหูพจน์| เช่น deinen alten Tische, deinen alten Häuser, deinen alten Hosen | deines | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น deines alten Hauses, deines alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม) | deiner | 2) ของเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศหญิงเอกพจน์| เช่น deiner alten Hose | Ihr | ของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Nominativ ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและกลางเอกพจน์| เช่น Ihr alter Tisch, Ihr altes Haus |
| je | (n) ประธานบุรุษที่ 1 เอกพจน์, ฉัน, ผม | vous | (n) ประธานบุรุษที่สอง หมายถึง 1. ท่าน (คนเดียวหรือเอกพจน์) 2. ท่านทั้งหลาย (พหูพจน์) หรือ 3. พวกเธอทั้งหลาย | tu | (n) ประธานบุรุษที่ 2 เอกพจน์, เธอ | nous | (n) ประธาน และ กรรม บุรุษที่ 1 พหูพจน์, พวกเรา | il | (n) ประธานบุรุษที่ 3 เอกพจน์ เพศชาย, เขา, มัน | elle | (n) ประธานบุรุษที่ 3 เอกพจน์เพศหญิง, เธอ(ผู้หญิง), มัน(ผู้หญิง) | ils | (n) ประธานบุรุษที่ 3 พหูพจน์ที่มีเพศชายอย่างน้อย 1 คนในนั้น, พวกเขา, พวกมัน | elles | (n) ประธานบุรุษที่ 3 พหูพจน์ที่เป็นเพศหญิงทั้งหมด, พวกหล่อน, พวกมัน(ผู้หญิง) | vais | ((présent)) je vais = ฉันไป ( กริยาผันรูปปัจจุบัน ของ aller กับประธานบุรุษที่ 1 เอกพจน์ je = ผม, ฉัน )เช่น je vais partir. = ผมจะไปแล้วหละ | tout le monde | (n) ทุกคน (ใช้กิริยารูปเอกพจน์เสมอ, monde เป็นคำนามเพศชาย) เช่น (1) Tout le monde aime mon amie. ทุกคนชอบเพื่อนผู้หญิงของฉัน (2) Bonjour, tout le monde! สวัสดีจ้าทุกคน | des | คำนำหน้านามพหูพจน์ที่ไม่เฉพาะเจาะจง (ทั้งนามเพศชายและหญิงเหมือนกัน) เช่น des bonbons ลูกอม, des personnes ผู้คน | les | คำนำหน้านามพหูพจน์ที่เฉพาะเจาะจง (ทั้งนามเพศชายและหญิงเหมือนกัน) เช่น les salles, les boissons | jaune | (adj) |ไม่ผันรูปทั้งขยายนามเอกพจน์เพศชายและหญิง| ที่มีสีเหลือง | marron | (adj) |ไม่ผันรูปทั้งขยายนามเอกพจน์เพศชายและหญิง| ที่มีสีน้ำตาลเข้ม | mauve | (adj) |ไม่ผันรูปทั้งขยายนามเอกพจน์เพศชายและหญิง| ที่มีสีม่วงสด | orange | (adj) |ไม่ผันรูปทั้งขยายนามเอกพจน์เพศชายและหญิง| ที่มีสีส้ม | rose | (adj) |ไม่ผันรูปทั้งขยายนามเอกพจน์เพศชายและหญิง| ที่มีสีชมพู | rouge | (adj) |ไม่ผันรูปทั้งขยายนามเอกพจน์เพศชายและหญิง| ที่มีสีแดง | turquoise | (adj) |ไม่ผันรูปทั้งขยายนามเอกพจน์เพศชายและหญิง| ที่มีสีเขียวอมฟ้า (สีของหินพลอยประเภทหนึ่ง) | nous | สรรพนามบุรุษที่หนึ่งพหูพจน์ในรูปกรรมตรง เช่น Tu nous accompagnes? เธอติดตามพวกเราไปไหม | nous | สรรพนามบุรุษที่หนึ่งพหูพจน์ในรูปกรรมรอง เช่น Tu nous offres l'entrée? เธออนุญาตให้พวกเราเข้าไปไหม | russe | (n) |m, เฉพาะเอกพจน์| ภาษารัสเซีย, See also: Russe | yeux (s. oeil) | (n) ดวงตา เป็นพหูพจน์ของ l'oeil. | nouveau | (adj) |f. nouvelle| ใหม่ เช่น Ce livre est nouveau. -หากใช้ติดกับคำนามให้วางไว้หน้าคำนามเพศชายเอกพจน์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ เช่น C'est un nouveau livre. -หากคำนามเป็นเพศชายเอกพจน์ขึ้นต้นด้วยสระใช้ nouvel เช่น C'est mon nouvel ami. -หากเป็นคำนามเพศชายพหูพจน์ ให้ใช้ nouveaux เช่น Ce sont les nouveaux livres. |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |