มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ผู้เรียน | (n) student, See also: learner, pupil, trainee, Syn. นักเรียน, นักศึกษา, Ant. ผู้สอน, ครู, Example: ผู้สอนควรเตรียมบทเรียนและวิธีการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ศึกษาเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจหรือความชำนาญ | ผู้เรียนรู้ | (n) learner, See also: student, Syn. ผู้เรียน, Ant. ผู้สอน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ศึกษาเพื่อให้จำได้ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจหรือความชำนาญ |
|
| กิจกรรม | น. การที่ผู้เรียนปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อการเรียนรู้ | ขัณฑสกร | (ขันทดสะกอน) น. นํ้าตาลกรวด, เครื่องยาไทยอย่างหนึ่งคล้ายนํ้าตาลกรวด, นํ้าตาลชนิดหนึ่งเชื่อกันว่าเกิดที่ใบบัว, เช่น เมื่อเวลาพุ่มไม้มีดอกออกตระการบานเต็มที่พร้อมฤดู เสาวคนธ-รสเรณูโรยร่วงลงบนใบอุบล ซึ่งลอยลาดดาดาษอยู่บนหลังน้ำ เมื่อล่วงเวลากาลก็ก่อเกิดโอชะวิเศษหวานเป็นมธุรส มีนามกำหนดเรียกว่า โบกขรมธุ ผู้เรียนรู้ลุในตำราแพทยศาสตร์ ย่อมสืบเสาะแสวงหามาประกอบใช้ในการโอสถ มีนามปรากฏเรียกว่า ขัณฑสกร (ม. ร่ายยาว จุลพน). | ธรรมันเตวาสิก | (ทำมัน-) น. อันเตวาสิก (ศิษย์) ผู้เรียนธรรมวินัย. | ปารคู | น. ผู้ถึงฝั่ง คือผู้เรียนวิชาจบ ได้แก่ พราหมณ์ผู้เรียนจบไตรเพท หรือพระขีณาสพผู้อยู่จบพรหมจรรย์. | เป้าประสงค์ | น. วัตถุประสงค์หรือจุดหมายปลายทางที่บุคคลพยายามบรรลุถึง เช่น เป้าประสงค์ของวิชานี้เพื่อฝึกทักษะของผู้เรียน. | พยัต | (พะยัด) น. ผู้เรียน, ผู้รู้. | โยคาพจร, โยคาวจร | (โยคาพะจอน, -วะจอน) น. ผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ผู้มีความเพียร, (มักใช้เรียกพระภิกษุผู้เรียนสมถะและวิปัสสนา). | วิชาแกน | น. รายวิชาที่อยู่ในหลักสูตรร่วมกันของหลายคณะหรือหลายสาขาของปริญญาเดียวกัน ที่ผู้เรียนในคณะหรือสาขาเหล่านั้นจะต้องเรียน. | วิชาโท | น. รายวิชาที่ผู้เรียนเลือกเรียนให้ลึกซึ้งรองลงมาจากวิชาเอก. | วิชาบังคับ | น. รายวิชาที่กำหนดให้ผู้เรียนทุกคนในหลักสูตรนั้นจะต้องเรียน. | วิชาเลือก | น. รายวิชาที่กำหนดให้ผู้เรียนเลือกเรียนได้. | วิชาเลือกเสรี | น. รายวิชาที่เลือกเรียนได้อย่างเสรี โดยผู้เรียนไม่ต้องถามอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน. | วิชาเอก | น. รายวิชาที่ผู้เรียนเลือกเรียนให้ลึกซึ้งเป็นวิชาหลัก ตามหลักสูตรปริญญาหรืออนุปริญญา. | อุตสาหกรรมศิลป์ | (อุดสาหะกำสิน) น. วิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนเกิดความชำนาญในการประดิษฐ์และเกิดความคุ้นเคยกับการใช้เครื่องมือและเครื่องกล. |
| Instructional Media | สื่อการเรียนการสอน, คำนี้นักการศึกษาบางท่านใช้คำว่า "สื่อการเรียน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ ที่เรานำมาใช้นั้นเพื่อการศึกษา หรือเพื่อช่วยในการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่วนนักการศึกษาบางท่านจะใช้คำ "สื่อการสอน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ นั้น เป็นตัวถ่ายทอดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน<br />สื่อการเรียนการสอนนี้ ได้มีนักการศึกษาได้ให้ความหมาย หรือคำจำกัดความไว้หลายท่านด้วยกัน แต่พอจะสรุปความได้คือ "สื่อการเรียนการสอน" หมายถึง วัสดุ เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการต่างๆ ที่จะเป็นตัวช่วยถ่ายทอดความรู้ จากแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน [เทคโนโลยีการศึกษา] | Computer Aided Instruction | สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน, โปรแกรมบทเรียน ประกอบด้วย เนื้อหา แบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบ ที่ช่วยให้ ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเองเมื่อนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ จัดว่าเป็นอุปกรณ์การสอนชนิดหนึ่ง [Assistive Technology] | Edutainment | โปรแกรมการเรียนรู้เชิงบันเทิง, การจัดการเรียนรู้ผ่านสื่อที่ให้ผู้เรียนได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน อาจเป็น รูปแบบของเกมเพื่อความบันเทิงผ่านมัลติมีเดีย แต่มีเนื้อหาเป็นความรู้ที่เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์ [Assistive Technology] | interactive learning | การเรียนแบบโต้ตอบสองทาง, การเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ ผู้เรียนสามารถควบคุมสิ่งที่จะเกิดขึ้นในการเรียนการสอนตามความต้องการของตนเอง ตรงข้ามกับการสอนในชั้นเรียนซึ่งมักจะเป็นการสื่อสารข้างเดียว [Assistive Technology] | Student-centered learning | การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง [TU Subject Heading] | Ability Levels, Class | ระดับความสามารถของกลุ่มผู้เรียน [การแพทย์] | Grade System, Letter | ระบบกำหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็นตัวอักษร [การแพทย์] | Learning, Project Oriented | ผู้เรียนทำโครงการอิสระ [การแพทย์] |
| | | apprentice | (อะเพรน'ทิส) n. ผู้ฝึกงาน, เด็กฝึกงาน, ผู้เรียนรู้, ผู้กำลังได้รับการฝึกอย่างพิเศษ. -vt. ทำให้เป็นผู้ฝึกงาน. -apprenticeship n. | cai | (ซีเอไอ) ย่อมาจาก computer-aided instruction หรือ computer assissted instruction (การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน | computer aided instructio | การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อมผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน | computer-aided instructio | ใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer assissted instruction | computer-assissted instru | ใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer aided instruction | interpreter | ตัวแปลภาษาเป็นโปรแกรมตัวแปลที่อ่านคำสั่งในโปรแกรมทีละคำสั่ง (ไม่รอจนจบโปรแกรมเหมือนตัวแปลอื่น) แปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้วปฏิบัติตามคำสั่งนั้นเลย เช่น ตัวแปลที่ใช้แปลโปรแกรมภาษาเบสิก (BASIC) การเรียนวิธีเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตัวแปลประเภทนี้ ผู้เรียนจะรู้สึกว่าง่ายและทันใจ เพราะพอใส่คำสั่งเข้าไป เครื่องก็จะรายงานได้ทันทีว่า คำสั่งนั้นถูกหรือผิด ถ้าสั่งให้ทำอะไร ก็จะทำให้เลย ข้อเสียของตัวแปลประเภทนี้ ก็คือ คอมพิวเตอร์จะไม่เก็บคำแปลไว้ หากจะต้องย้อนกลับไปทำคำสั่งนั้นอีก ก็จะต้องแปลใหม่อีกทุกครั้ง ดู compiler ประกอบ | tele-education | การศึกษาทางไกลหมายถึง การศึกษาทางไกลผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้เรียนสามารถมองเห็นอาจารย์ผู้สอนได้ทั้งที่ผู้สอนอยู่ไกลออกไปโดยมองเห็นผ่านทางจอภาพของคอมพิวเตอร์ และใช้เทคโนโลยีที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเหมือนมีครูอยู่ในห้องเรียน สามารถโต้ตอบไต่ถามครูได้เหมือนอยู่ในห้องเรียนธรรมดา |
| learner | (n) ผู้เรียน, ผู้ศึกษาเล่าเรียน |
| constructionism | [คันสทรัค'เชินนิซึม] (n) ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอ "ความรู้ไม่ ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing) นอกจากนั้นมองลึกลงไปถึงการพัฒนาการของผู้เรียนในการเรียนรู้ซึ่งจะมี มากกว่าการได้ลงมือปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น " | Inclusive Education | (n) การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น คนพิการ คนด้อยโอกาส คนไร้สัญชาติ คนอพยพ โดยคำนึงถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือระบบการศึกษาแบบปกติ มีจุดมุงหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับความแตกต่าง ความสามารถระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |