ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ผู้รับ, -ผู้รับ- |
受信者 | [じゅしんしゃ, ˙, 受 信 者] (n) ผู้รับ |
|
| ผู้รับ | (n) receiver, See also: recipient, Syn. คนรับ, Ant. ผู้ให้, คนให้, Example: เราควรจะเป็นผู้ให้มากกว่าผู้รับ, Count Unit: คน | ผู้รับบาป | (n) scapegoat, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่รับเอาความผิด หรือรับเอาเคราะห์กรรมแทนผู้อื่น หรือผู้ที่ต้องได้รับความลำบากเพราะการกระทำของผู้อื่น | ผู้รับรอง | (n) surety, See also: acceptor, guarantor, Syn. ผู้ค้ำประกัน, ผู้รับผิดชอบ, Example: บริษัทให้เขาหาผู้รับรองเพื่อตรวจสอบความประพฤติก่อนรับเข้าทำงาน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่รับประกันว่าจะรับผิดชอบต่อผลที่จะเกิดขึ้น | ผู้รับรอง | (n) receptionist, See also: hostess, Example: เขาได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับรองชาวต่างชาติอยู่เสมอ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ให้การต้อนรับ | ผู้รับใช้ | (n) servant, See also: domestic helper, Syn. คนรับใช้, คนใช้, Ant. เจ้านาย, Example: เขาให้แม่อยู่บ้านหลังเดิม จัดหาลูกจ้าง ผู้รับใช้ให้พร้อมสรรพ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีหน้าที่รับใช้และอาศัยอยู่ในบ้านเจ้านาย | ผู้รับจำนำ | (n) pledgee, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่รับมอบสังหาริมทรัพย์จากผู้จำนำเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ | ผู้รับจ้าง | (n) employee, See also: hireling, Syn. ลูกจ้าง, Ant. ผู้จ้าง, Example: ภาคเอกชนเป็นผู้รับจ้างทำการสำรวจให้แก่ภาครัฐ | ผู้รับช่วง | (n) heir, See also: inheritor, inheritress, successor, Syn. ผู้รับช่วงต่อ, Count Unit: คน | ผู้รับภาระ | (n) one carrying a burden, See also: one who shoulders a burden, responsibility, burden bearer, Syn. คนรับภาระ, ผู้แบกภาระ, คนแบกภาระ, Ant. ผู้โยนภาระ, Example: รัฐบาลเป็นผู้รับภาระในเรื่องอาหาร เรื่องเครื่องนุ่งห่มแก่นักโทษที่อยู่ในความคุ้มครองดูแล, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่รับงานหนักตามหน้าที่ที่ผู้อื่นมอบให้ | ผู้รับมรดก | (n) inheritor, Syn. ผู้รับพินัยกรรม, Example: ญาติๆ ต่างก็ยืนยันว่าเป็นผู้รับมรดกที่ถูกต้องตามกฎหมายกันทุกคน, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่ได้รับทรัพย์สินทุกชนิดตลอดทั้งสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดต่างๆ ของผู้ตาย ตามที่ผู้ตายกำหนดไว้ในพินัยกรรม | ผู้รับเหมา | (n) contractor, Syn. ผู้รับเหมาก่อสร้าง, Example: ศรีมูลเป็นผู้รับเหมาในโครงการนี้, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่รับจ้างก่อสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างต่างๆ โดยวิธีเหมา | ผู้รับจำนอง | (n) mortgagee, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้รับทรัพย์สินของผู้จำนองเอาไว้ เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ โดยไม่ได้รับทรัพย์สินนั้นจากผู้จำนอง | ผู้รับประกัน | (n) guarantor, See also: surety, Example: ทางบริษัทจะเป็นผู้รับประกัน หากความเสียหายที่เกิดขึ้นเป็นความผิดพลาดของบริษัท, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่ยืนยันหรือรับรองค่าเสียหาย | ผู้รับประกัน | (n) insurer, Syn. ผู้รับประกันภัย, Example: บริษัทจะจ่ายเงินให้ผู้รับประกันตามอัตราที่กำหนดไว้ในสัญญา, Count Unit: คน, Thai Definition: คู่สัญญาฝ่ายซึ่งตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือใช้เงินจํานวนหนึ่งให้ตามสัญญาประกันภัย | ผู้รับผิดชอบ | (n) responsible man, See also: person in charge of, Example: รัฐบาลเป็นผู้รับผิดชอบในโครงการรถไฟฟ้ามหานคร, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ยอมตามผลที่ดีหรือไม่ดีในกิจการที่ได้กระทำไป | ผู้รับสัมปทาน | (n) concessionaire, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้จัดทำบริการสาธารณะหรือจัดทำประโยชน์เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ ภายในระยะเวลาและตามเงื่อนไขที่รัฐกำหนด | ผู้รับเคราะห์ | (n) victim, See also: casualty, Example: ถ้ารัฐบาลทำอะไรแล้วขาดทุน ประชาชนก็จะเป็นผู้รับเคราะห์แทนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่ได้รับผลร้ายหรือเรื่องไม่ดีโดยไม่ได้คาดหมายหรือไม่ได้เป็นผู้ก่อเรื่องนั้นขึ้น | ผู้รับประโยชน์ | (n) beneficiary, Example: ผุดผ่องจะเป็นผู้รับประโยชน์ทันที หากมีอะไรเกิดขึ้นกับเขา, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลผู้จะพึงได้รับค่าสินไหมทดแทน หรือรับจํานวนเงินใช้ให้ตามสัญญาประกันภัย, Notes: (กฎหมาย) | ผู้รับมอบอำนาจ | (n) attorney, Ant. ผู้มอบอำนาจ, Example: ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัดได้เป็นผู้รับมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการภายในเขตจังหวัดแทนนายกรัฐมนตรีได้, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้มีอำนาจจัดการหรือทำการแทน | ผู้รับประกันภัย | (n) insurer, Example: เธอเป็นผู้รับประกันภัยในสัญญาครั้งนี้, Thai Definition: คู่สัญญาฝ่ายซึ่งตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือใช้เงินจํานวนหนึ่งให้ตามสัญญาประกันภัย, Notes: (กฎหมาย) | ผู้รับพินัยกรรม | (n) heir, See also: heiress, Syn. ผู้รับมรดก, Example: ผู้รับพินัยกรรมต้องเตรียมเอกสารให้พร้อมในวันรับมรดก, Count Unit: คน, Thai Definition: ทายาทที่มีสิทธิตามพินัยกรรม, Notes: (กฎหมาย) | ผู้รับเหมาก่อสร้าง | (n) contractor, See also: undertaker of a package deal, Syn. ผู้รับเหมา, Example: ผู้รับเหมาก่อสร้างต้องเร่งงานให้เสร็จทันเวลา, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่รับจ้างก่อสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างต่างๆ โดยวิธีเหมา |
| ผู้รับจำนำ | น. ผู้รับมอบสังหาริมทรัพย์จากผู้จำนำเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้. | ผู้รับตราส่ง | น. บุคคลผู้ซึ่งผู้ตราส่งส่งของไปถึง. | ผู้รับบุตรบุญธรรม | น. ผู้ที่ได้จดทะเบียนบุคคลอื่นมาเป็นบุตรของตน. | ผู้รับประกันภัย | น. คู่สัญญาฝ่ายซึ่งตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือใช้เงินจำนวนหนึ่งให้ตามสัญญาประกันภัย. | ผู้รับประโยชน์ | น. บุคคลผู้จะพึงได้รับค่าสินไหมทดแทน หรือรับจำนวนเงินใช้ให้ตามสัญญาประกันภัย. | ผู้รับพินัยกรรม | น. ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกโดยพินัยกรรม. | ผู้รับรอง | น. ผู้รับประกัน | ผู้รับรอง | ผู้ต้อนรับ. | ผู้รับเรือน | น. บุคคลที่เข้าทำสัญญาคํ้าประกันผู้คํ้าประกันอีกชั้นหนึ่ง. | ผู้รับเหมาก่อสร้าง | น. บุคคลที่รับจ้างก่อสร้างอาคารหรือสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ โดยวิธีเหมา. | กรมธรรม์ประกันภัย | น. ตราสารที่ผู้รับประกันภัยออกให้แก่ผู้เอาประกันภัยเป็นหลักฐานการรับประกันภัย. | กรรมการ ๒ | น. ผู้รับใช้ เช่น ข้าขอภักดีภูบาล เป็นทาสกรรมการ ไปกว่าจะสิ้นสุดสกนธ์ (เสือโค). | การประกันภัยต่อ | น. การที่ผู้รับประกันภัยเอาการเสี่ยงภัยทั้งหมดหรือบางส่วนของความรับผิดตามสัญญาประกันภัยที่ตนรับไว้ ไปเอาประกันภัยไว้กับผู้รับประกันภัยอีกรายหนึ่งหรือหลายราย ซึ่งเรียกว่า ผู้รับประกันภัยต่อ. | การิตวาจก | (การิดตะ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก-ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้าง<u>ถูก</u>นายจ้าง<u>ให้</u>ทำงาน. | ขาย | ก. เอาของแลกเงินตรา, โอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่กันโดยตกลงกันว่าผู้รับโอนจะใช้ราคาแห่งทรัพย์สินนั้น มีหลายลักษณะ คือ ชำระเงินในขณะที่ซื้อขายกัน เรียกว่า ขายเงินสด, ขายโดยยอมเก็บเงินอันเป็นราคาของในวันหลัง เรียกว่า ขายเชื่อ, (เลิก) เอาเงินเขามาโดยยอมตนเข้ารับใช้การงานของเจ้าเงิน เรียกว่า ขายตัวลงเป็นทาส. | คำขึ้นต้น | น. คำใช้เขียนขึ้นต้นจดหมายถึงผู้รับตามฐานะของผู้รับแต่ละคน เช่น นมัสการ ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงพระภิกษุ เรียน ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงบุคคลธรรมดา | เงินรายปี | น. จำนวนเงินที่บริษัทประกันชีวิตจ่ายให้แก่ผู้รับเงินรายปีตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบเงินรายปี ซึ่งผู้รับประกันภัยสัญญาว่า ตราบใดที่ผู้เอาประกันชีวิตยังทรงชีพอยู่ บริษัทจะจ่ายเงินให้ตลอดไปจนกว่าจะเสียชีวิต หรือจะจ่ายให้ชั่วระยะเวลาหนึ่งตามที่ตกลงไว้ เงินรายปีนี้อาจจะจ่ายเป็นงวด รายปี รายครึ่งปี หรือรายเดือนก็ได้ จำนวนเงินที่จ่ายอาจจะคงที่ เพิ่มขึ้น หรือเปลี่ยนแปลงก็ได้. | จับกัง | น. กรรมกร, ผู้ใช้แรงงาน, ใช้เรียกผู้รับจ้างทำงานต่าง ๆ. | จ้าง ๒ | ก. ให้ทำงานหรือทำของโดยให้ค่าตอบแทน, ผู้ให้ทำงานเรียก นายจ้าง หรือ ผู้ว่าจ้าง, ผู้รับทำงานเรียก ลูกจ้าง หรือ ผู้รับจ้าง, ผู้ให้ทำของเรียก ผู้ว่าจ้าง, ผู้รับทำของเรียก ผู้รับจ้าง. | จ้างทำของ | น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับจ้าง ตกลงรับจะทำการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสำเร็จให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้ว่าจ้าง และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สินจ้างเพื่อผลสำเร็จแห่งการที่ทำนั้น. | จำนอง | น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้จำนอง เอาทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับจำนอง เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ โดยไม่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง. | จำนำ | น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้จำนำ ส่งมอบสังหาริมทรัพย์สิ่งหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับจำนำ เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้. | เจ้าไข้ | น. เจ้าของคนไข้, ผู้รับผิดชอบในตัวคนไข้. | เจ้าภาพ | น. เจ้าของงานพิธีหรือผู้รับเป็นเจ้าของงานพิธี เช่น เจ้าภาพงานแต่งงาน เจ้าภาพสวดพระอภิธรรม | เจ้ามือ | น. ผู้ตั้งต้นในวงการพนันเช่นวงไพ่, ผู้รับกินรับใช้ในการเล่นการพนันเช่นถั่ว โป หวย | เจ้ามือ | ผู้รับออกเงินในการเลี้ยง, เจ้าภาพ ก็ว่า. | เจ้าหนี้มีประกัน | น. เจ้าหนี้ผู้มีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ในทางจำนอง จำนำ หรือสิทธิยึดหน่วง หรือเจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิที่บังคับได้ทำนองเดียวกับผู้รับจำนำ. | ช่วงบาท | น. ผู้อยู่ในระยะเท้า “คือ ใกล้เท้า หมายความว่า ผู้รับใช้”. | เช็ค | น. หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจำนวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งหรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับเงิน. | ดราฟต์ ๑ | น. ตราสารซึ่งธนาคารเป็นผู้ออก สั่งธนาคารตัวแทนของตนให้จ่ายเงินจำนวนหนึ่งแก่ผู้รับตามที่ได้ระบุชื่อไว้หรือตามคำสั่งของผู้รับ. | ตกทอด | เรียกบำเหน็จหรือบำนาญที่ตกแก่ทายาทของผู้รับบำเหน็จหรือบำนาญ ว่า บำเหน็จตกทอด หรือ บำนาญตกทอด. | ตราจอง | น. ใบอนุญาตให้จับจองที่ดิน ซึ่งกำหนดให้ผู้รับอนุญาตต้องทำประโยชน์ในที่ดินให้แล้วภายในเวลาที่กำหนด. | ตั๋วแลกเงิน | น. หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้จ่าย ให้ใช้เงินจำนวนหนึ่งแก่บุคคลคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน. | ตั๋วสัญญาใช้เงิน | น. หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้ออกตั๋ว ให้คำมั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจำนวนหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือใช้ให้ตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับเงิน. | ตีกลับ | ก. ย้อนกลับคืนผู้ส่ง (ใช้แก่หนังสือหรือจดหมาย) เช่น หนังสือถูกตีกลับ จดหมายถูกตีกลับเพราะหาผู้รับไม่ได้. | ตู้ไปรษณีย์ | น. ตู้ที่ตั้งในที่สาธารณะเพื่อรับจดหมายและไปรษณียบัตร แล้วไขออกตามกำหนดเวลาเพื่อนำไปส่งผู้รับ. | ถึง ๑ | ใช้เป็นคำจ่าหน้าในจดหมายระบุตัวผู้รับ. สัน. แม้ เช่น ถึงเขาจะเป็นเด็ก เขาก็มีความคิด | ทนาย | (ทะ-) น. ผู้รับใช้, ผู้แทนนาย, (ใช้แก่ผู้มีอำนาจ) | ทนายหน้าหอ | น. หัวหน้าคนรับใช้ที่ใช้ออกหน้าออกตา, ผู้รับหน้าแทนนาย. | ทายาท | น. ผู้สืบสันดาน, ผู้สืบสกุล, โดยปริยายหมายถึงผู้รับหรือผู้อยู่ในฐานะที่จะรับตำแหน่งหน้าที่ต่อจากบุคคลอื่น เช่น ทายาททางการเมือง | ทายาท | บุคคลรวมทั้งทารกในครรภ์มารดาซึ่งมีสิทธิได้รับมรดกของผู้ตาย ถ้าสิทธินั้นเกิดขึ้นตามกฎหมาย เรียกว่า ทายาทโดยธรรม ถ้าสิทธินั้นเกิดขึ้นตามพินัยกรรม เรียกว่า ผู้รับพินัยกรรม. | ทูต | น. ผู้นำข้อความไปแจ้งทั้ง ๒ ฝ่าย, ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน, ผู้สื่อสาร, ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทนไปยังต่างประเทศ เพื่อเจรจาหรือเจริญสัมพันธไมตรีเป็นทางราชการ. | ธนาณัติ | น. การส่งเงินทางไปรษณีย์ โดยผู้ส่งมอบเงินไว้ ณ ที่ทำการไปรษณีย์แห่งหนึ่งแล้วเจ้าหน้าที่ไปรษณีย์ออกตราสารสั่งให้ที่ทำการไปรษณีย์อีกแห่งหนึ่งจ่ายเงินให้แก่ผู้รับ | นักเรียน | น. ผู้ศึกษาเล่าเรียน, ผู้รับการศึกษาจากโรงเรียน. | นายคลังสินค้า | น. บุคคลผู้รับทำการเก็บรักษาสินค้าเพื่อบำเหน็จเป็นทางค้าปรกติของตน. | นายด้าน | น. ผู้รับผิดชอบในการปลูกสร้างหรือปฏิสังขรณ์สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น นายด้านปฏิสังขรณ์ศาลาราย. | นายประกัน | น. ผู้รับประกันหรือคํ้าประกัน, ผู้รับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายแทน. | นายอากร | น. ผู้รับผูกขาดภาษีอากร. | นายกเทศมนตรี | น. ตำแหน่งผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบเทศบาล. | นายกเมืองพัทยา | น. ตำแหน่งผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบพิเศษ เมืองพัทยา. |
| patient | ผู้ป่วย, ผู้รับการรักษา, คนไข้ [ มีความหมายเหมือนกับ case ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | professional reinsurer | ผู้รับประกันภัยต่ออาชีพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | proxy | ผู้รับมอบฉันทะ, ผู้รับมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pledgee | ผู้รับจำนำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | proportion of new acceptor | สัดส่วนของผู้รับบริการรายใหม่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | person receiving public assistance | ผู้รับสวัสดิการจากรัฐ [ ดู public welfare recipient ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | pensioner | ผู้รับบำนาญ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | pensioner | ผู้รับบำนาญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | public welfare recipient | ผู้รับสวัสดิการจากรัฐ [ ดู person receiving public assistance ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | payee | ผู้รับเงิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lead | ผู้รับประกันภัยนำ มีความหมายเหมือนกับ leading underwriter [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | legatee | ผู้รับพินัยกรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legatee under a general title | ผู้รับพินัยกรรมลักษณะทั่วไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legatee under a particular title | ผู้รับพินัยกรรมลักษณะเฉพาะ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | licensee | ผู้รับใบอนุญาต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Lloyd's Association | สมาคมผู้รับประกันภัยแบบสถาบันลอยด์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | later mortgagee | ผู้รับจำนองรายหลัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Lloyd's Underwriter Agent | ตัวแทนผู้รับประกันภัยของสถาบันลอยด์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | leading underwriter | ผู้รับประกันภัยนำ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | Leading Underwriter's Agreement | ข้อตกลงผู้รับประกันภัยนำ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | reassurer | ผู้รับประกันภัยต่อ มีความหมายเหมือนกับ reinsurer [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | recipient | ผู้รับ (เลือด, เนื้อเยื่อ, อวัยวะ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | recipient | ผู้รับ, ผู้รับประโยชน์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | revocable beneficiary | ผู้รับประโยชน์เปลี่ยนได้ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | reinsurer | ผู้รับประกันภัยต่อ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | receiver | ๑. เครื่องรับ๒. ผู้รับ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | subrogee | ผู้รับช่วงสิทธิ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | signing table | ตารางผู้รับประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | scholarship holder | ผู้รับทุนการศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | subject | ๑. ผู้รับการทดลอง, สัตว์ทดลอง๒. เรื่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | suraty; surety | ผู้รับประกันภัยค้ำประกัน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | subscriber | ผู้เช่า, ผู้รับบริการ, สมาชิก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | subcontractor | ผู้รับจ้างช่วง, ผู้ทำสัญญาช่วง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | obligee | ผู้รับการค้ำประกัน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | assignee | ผู้รับโอนสิทธิ์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | assignee | ผู้รับโอน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | attorney in fact | ผู้รับมอบอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | abatement amongst legatees | การลดส่วนแบ่งมรดกระหว่างผู้รับพินัยกรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | abeyance | ภาวะที่ทรัพย์มรดกยังไม่ปรากฏผู้รับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | annuitant | ผู้รับเงินรายปี [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | assurer | ผู้รับประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | assurer | ผู้รับประกันภัย [ ดู insurer ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | adopter | ผู้รับบุตรบุญธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | attorney | ผู้รับมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | acceptor | ผู้รับรองตั๋วแลกเงิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | binder | ๑. หนังสือคุ้มครองชั่วคราว๒. หนังสือมอบอำนาจผู้รับประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | blank bill | ๑. ตั๋วแลกเงินที่ไม่ระบุชื่อผู้รับเงิน๒. ตั๋วแลกเงินที่ไม่กรอกจำนวนเงิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | bailee | ผู้รับมอบการครอบครองทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | bailee clause | ข้อกำหนดผู้รับฝากทรัพย์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | beneficiary | ผู้รับประโยชน์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| client | ไคลเอนต์, ลูกค้า (เครื่อง) ผู้รับบริการ [คอมพิวเตอร์] | Radiation safety officer | เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี, เจ้าหน้าที่ผู้มีความรู้ความสามารถด้านการป้องกันรังสีที่เกี่ยวข้องกับงานที่ได้รับมอบหมาย และได้รับการแต่งตั้งจากผู้รับใบอนุญาตให้ดูแลด้านความปลอดภัยทางรังสีตามข้อกำหนด [นิวเคลียร์] | Radiation protection officer | เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี, เจ้าหน้าที่ผู้มีความรู้ความสามารถด้านการป้องกันรังสีที่เกี่ยวข้องกับงานที่ได้รับมอบหมาย และได้รับการแต่งตั้งจากผู้รับใบอนุญาตให้ดูแลด้านความปลอดภัยทางรังสีตามข้อกำหนด [นิวเคลียร์] | Exclusive Licence | การที่เจ้าของสิทธิบัตรอนุญาตให้สิทธิแต่เพียงผู้เดียวแก่ผู้รับสิทธิที่จะสามารถใช้ได้ ด้วยการที่เจ้าของเรียกเก็บค่าตอบแทน [ทรัพย์สินทางปัญญา] | interactive media | สื่อเชิงโต้ตอบ, สื่อที่ผู้ใช้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบได้ เช่น หยุด เล่นซ้ำ หาหัวเรื่องใหม่ ตอบคำถามเพื่อเดินเรื่องไปตามจังหวะที่ผู้รับต้องการ เหมาะสำหรับการเรียนรู้ และการศึกษารายบุคคลตามความถนัดและความสนใจ [Assistive Technology] | Custodian | ผู้รับฝากทรัพย์สิน, Example: ธนาคารหรือสถาบันการเงินที่ทำหน้าที่ดูแลและเก็บรักษาใบหุ้นและสินทรัพย์อื่น ๆ ให้แก่กองทุนส่วนบุคคล กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บุคคลธรรมดา หรือบริษัทที่เป็นลูกค้า [ตลาดทุน] | Audiences | ผู้รับสาร [TU Subject Heading] | Contractors | ผู้รับเหมา [TU Subject Heading] | Freight forwarders | ผู้รับขนของ [TU Subject Heading] | Home labor | ผู้รับงานไปทำที่บ้าน [TU Subject Heading] | News audiences | ผู้รับสารด้านข่าว [TU Subject Heading] | Ocean freight forwarders | ผู้รับขนของทางทะเล [TU Subject Heading] | Proxy | ผู้รับฉันทะ [TU Subject Heading] | Social security beneficiaries | ผู้รับประโยชน์จากประกันสังคม [TU Subject Heading] | Spectators | ผู้รับสารจากประสบการณ์ตรง [TU Subject Heading] | Subcontractors | ผู้รับจ้างช่วง [TU Subject Heading] | Consultant | ผู้รับจ้างให้บริการ, Example: ผู้ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้รับจ้างทำการบำบัด น้ำเสีย หรือกำจัดของเสีย หรือตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม [สิ่งแวดล้อม] | Agrément | ความเห็นชอบ ในการแต่งตั้งเอกอัครราชทูตไปประจำในประเทศใด กำหนดให้ประเทศผู้ส่งขอความเห็นชอบจากประเทศผู้รับก่อน [การทูต] | Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] | Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] | Ambassador | เอกอัครราชทูต - Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary : เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม หมายถึง เอกอัครราชทูตที่รัฐผู้ส่งแต่งตั้งไปยังรัฐผู้รับ โดยมอบหมายอำนาจให้ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนของรัฐผู้ส่ง ในกรณีที่เอกอัครราชทูตมิได้มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ เรียกว่า Non-resident Ambassador - Ambassador-Designate : ว่าที่เอกอัครราชทูตประจำรัฐผู้รับ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต แต่ยังมิได้ยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ - Ambassador-at-Large : เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ หมายถึง ผู้แทนพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศที่มีสิทธิและสถานะเทียบเท่าเอกอัคร ราชทูตผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลงานและกิจการเฉพาะกิจ หรือเฉพาะเรื่องในต่างประเทศเป็นครั้งคราว - Ambassador attached to the Ministry of Foreign Affairs : เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง บุคคล ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต มีภารกิจดูแลกิจการภายในของกระทรวงการต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - Resident Ambassador : เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย หมายถึง เอกอัครราชทูตของไทยที่ได้รับการแต่งตั้งให้ประจำต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ แต่ยังคงมีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้ส่ง เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทยนี้ จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในรัฐผู้รับเป็นครั้งคราว [การทูต] | Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] | Chargé d' Affaires | อุปทูต เดิมเรียกว่า อุปทูตประจำ ซึ่งในสมัยก่อนเรียกว่า Chargé d' Affaires ad hoc บ้าง Chargé d' Affaires en pied หรือ Chargé d' Affaires avec lettres บ้าง ปัจจุบันเรียกเพียง อุปทูต (Chargé d' Affaires) เท่านั้น รัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับอาจจะตกลงกันให้มีหัวหน้าคณะผู้แทนเพียงระดับอุปทูตก็ ได้ (ต่างกันกับตำแหน่งอุปทูตชั่วคราว) [การทูต] | Chargé d' Affaires ad interim | อุปทูตรักษาราชการสถานเอกอัครราชทูต หรือ อุปทูตชั่วคราว " ในกรณีที่ตำแหน่งของหัวหน้าคณะผู้แทนว่างลง หรือหัวหน้าคณะ ผู้แทนไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ของตนได้ อุปทูตชั่วคราวจะปฏิบัติหน้าที่ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นการชั่วคราวได้ โดยหัวหน้าคณะผู้แทนจะแจ้งนามอุปทูตชั่วคราวให้กระทรวงการต่างประเทศของรัฐ ผู้รับทราบ หรือหากหัวหน้าคณะผู้แทนไม่สามารถแจ้งได้ กระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้ส่งจะแจ้งนามอุปทูตชั่วคราวไปยังกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ " [การทูต] | Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Mission | การเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต] | Condolences | เมื่อใดที่ประมุขของรัฐผู้รับ หรือบุคคลในครอบครัวของประมุขนั้นถึงแก่กรรม เป็นธรรมเนียมที่ผู้แทนทางการทูตซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ ประจำอยู่ในรัฐนั้น หลังจากที่ได้รายงานให้กระทรวงการต่างประเทศของผู้แทนทางการทูตนั้นก่อนทาง โทรเลขหรือโทรสารจะไปเยี่ยมหรือพบกับเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสมของรัฐนั้นเพื่อ แสดงความเสียใจในนามของประมุขของรัฐของตน โดยมิต้องรอรับคำสั่งเป็นพิเศษจากกระทรวงการต่างประเทศก่อนตามปกติ โทรเลขหรือโทรสารแสดงความเสียใจนั้นจะส่งจากประมุขของรัฐ ไปยังบุคคลที่เหมาะสมในครอบครัวที่ประสบความทุกข์โศกนั้นโดยตรง [การทูต] | Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Consular Fees and Charges | ค่าธรรมเนียมและค่าภาระทางกงสุล ตามข้อ 39 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ได้กำหนดไว้ว่า1. สถานที่ทำการทางกงสุล อาจเรียกเก็บในอาณาเขตของรัฐผู้รับ สำหรับการปฏิบัติงานทางกงสุลซึ่งค่าธรรมเนียม ค่าภาระตามที่ได้บัญญัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง2. จำนวนเงินที่เก็บได้ในรูปค่าธรรมเนียมและค่าภาระตามที่อ้างถึงในวรรค 1 ของข้อนี้ ใบรับสำหรับค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระเช่นว่านั้น จะได้รับยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีทั้งปวงในรัฐผู้รับ [การทูต] | Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] | Credential หรือ Letter of Credence | เอกสารทางราชการที่ประมุขของประเทศเป็นผู้ลงนาม ในเอกสารนั้น ประมุขของประเทศจะกล่าวยกย่องตัวทูตต่อประมุขของรัฐที่ผู้ที่เป็นทูตไปประจำ อยู่ (รัฐผู้รับ) ภาษาที่ใช้ในเอกสารจะเขียนด้วยถ้อยคำสำนวนหรูหรา และกล่าวถึงคุณสมบัติของทูตอย่างสูงส่ง แล้วลงท้ายด้วยการขอให้ความเชื่อถือแก่ทุกสิ่งทุกอย่างที่ทูตอาจจะกล่าวใน นามของรัฐบาลของตน [การทูต] | credentials, letters of credence | " 1. อักษรสาส์นตราตั้ง พระราชสาส์นตราตั้ง (การทูต) หมายถึง หนังสือแต่งตั้งเอกอัครราชทูตจากประมุขของรัฐผู้ส่ง ถึงประมุขของรัฐผู้รับ 2. ตราสารแต่งตั้ง (ผู้แทนในการประชุมระหว่างประเทศ) " [การทูต] | Dean (of the Diplomatic Corps) | คณบดีคณะทูต เอกอัครราชทูตที่อาวุโสที่สุด (ยื่นสาส์นตราตั้งก่อนผู้อื่น) ในประเทศนั้น ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหรือผู้แทนของคณะทูตานุทูต (ในกรณีที่รัฐผู้รับนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาธอลิก สมณทูตวาติกันจะดำรงตำแหน่งคณบดีทูต) [การทูต] | Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] | Departure of Diplomatic Agents | การออกไปจากรัฐผู้รับของเจ้าหน้าที่ทางการทูต ข้อ 44 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติได้ว่า ?แม้ในกรณีการขัดกันด้วยอากร รัฐผู้รับต้องอำนวยความสะดวก เพื่อให้บุคคลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน นอกจากคนชาติของรัฐผู้รับและคนในครอบครัวของบุคคลเช่นว่านี้ โดยไม่คำนึงถึงสัญชาติของบุคคลเหล่านั้น ออกไปในขณะที่เร็วที่สุดที่จะเป็นไปได้ ในกรณีที่จำเป็นโดยเฉพาะ รัฐผู้รับต้องจัดพาหนะเดินทางในการขนส่งสำหรับตัวบุคคลเหล่านั้น และทรัพย์สินของบุคคลเหล่านั้นให้ด้วย? [การทูต] | Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] | Diplomatic Privilege of Accommodation | มาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว [การทูต] | Diplomatic Privileges and Immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตที่ได้ให้แก่เจ้า หน้าที่ทางการทูต โดยถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้แทนส่วนตัวของประมุขของรัฐ เหตุผลที่ให้มีการคุ้มกันทางการทูต ก็เพราะถือว่ารัฐบาลหนึ่งใดก็ตามจะถูกกีดกันขัดขวางด้วยการจับกุม หรือกีดกันมิให้ผู้แทนของรัฐบาลนั้นปฏิบัติหน้าที่ในความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นมิได้ ถ้าหากเห็นว่าผู้แทนนั้นมีพฤติกรรมหรือพฤติการณ์ที่ก้าวร้าวซึ่งรัฐผู้รับ ไม่อาจรับได้ก็ชอบที่รัฐผู้รับจะขอร้องให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวผู้แทนของตนกลับ ประเทศได้ อนึ่ง การที่สถานเอกอัครราชทูตได้รับความคุ้มกันจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ เพราะต้องการให้บรรดาผู้แทนทางการทูตเหล่านั้น รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาได้มีโอกาสมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศของเขาอนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตมีบทบัญญัตินิยามคำว่า เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตในเรื่องต่างๆ ไว้มากพอสมควร เช่น เรื่องสถานที่ของคณะผู้แทนทางการทูต รวมทั้งบรรณสารและเอกสาร เรื่องการอำนวยความสะดวกให้แก่การปฏิบัติงานของคณะผู้แทน และเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายรวมทั้งการคมนาคมติดต่อ เป็นต้น [การทูต] | Duration of Diplomatic Privileges and Immunities | ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] | Establishment of Diplomatic Relations and Missions | การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตและคณะผู้แทนถาวร ทางการทูต ข้อนี้มีบทบัญญัติไว้ในมาตรา 2 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตว่าการสถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างรัฐ และคณะผู้แทนถาวรทางการทูตมีขึ้นได้ด้วยความยินยอมของกันและกันในเรื่องนี้ รัฐที่มีอธิปไตยโดยสมบูรณ์ทุกรัฐ มีสิทธที่จะส่งตัวแทนทางการทูตไปทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนยังรัฐ อื่นๆ ซึ่งถือกันว่ามี Active right of legation แต่การใช้สิทธิดังกล่าว เป็นเรื่องดุลยพินิจของแต่ละรัฐ เพราะจะบังคับให้รัฐหนึ่งส่งคณะผู้แทนทางทูตประจำ ณ ที่ใดหาได้ไม่ ถ้าหากรัฐนั้นไม่ปรารถนาจะปฏิบัติเช่นนั้น ในทำนองเดียวกันจะมีการบังคับให้รัฐผู้รับต้องรับคณะผู้แทนทางการทูตจากรัฐ ใดหาได้ไม่ ทั้งนี้เพราะเป็นเรื่องดุลยพินิจของรัฐผู้รับเช่นกัน [การทูต] | Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] | Exemption from Taxation of Diplomatic Agent | การยกเว้นภาษีอากรให้แก่ตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ข้อ 34 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ให้ตัวแทนทางการทูตได้รับยกเว้นจากภาระผูกพันและภาษีทั้ง ปวงของชาติท้องถิ่นหรือเทศบาล ในส่วนบุคคลหรือในทรัพย์สิน เว้นแต่ก. ภาษีทางอ้อม ชนิดที่ตามปกติรวมอยู่ในราคาของสินค้าหรือบริการแล้วข. ภาระผูกพันและภาษีจากอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับ นอกจากว่า ตัวแทนทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นไว้ในนามของรัฐผู้ส่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนค. อากรกองมรดก การสืบมรดก หรือการรับมรดก ซึ่งรัฐผู้รับเรียกเก็บภายในบังคับแห่งบทของวรรค 4 ข้อ 39 ง. ภาระผูกพันและภาษีจากเงินได้ส่วนตัว ซึ่งมีแหล่งกำเนิดในรัฐผู้รับ และภาษีเก็บจากเงินทุนซึ่งได้ลงทุนในการประกอบการพาณิชย์ในรัฐผู้รับจ. ค่าภาระซึ่งเรียกเก็บสำหรับบริการจำเพาะที่ได้ให้ฉ. ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล หรือสำนวนความ ภาระผูกพันในการจำนอง และอากรแสตมป์ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ภายในบังคับแห่งบทของข้อ 23?นอกจากนี้ ข้อ 35 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติไว้ด้วยว่า ?ให้รัฐผู้รับให้ตัวแทนทางการทูตได้รับการยกเว้นจากการบริการส่วนบุคคลทั้ง มวล จากบริการส่วนสาธารณะทั้งมวล และจากข้อผูกพันทางทหาร เช่น ส่วนที่เกี่ยวกับการเรียกเกณฑ์ ส่วนบำรุง หรือเรียกคืนที่พักอาศัยเพื่อปฏิบัติการทางทหาร? [การทูต] | Exercise of Consular Functions in a Third State | การปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐที่สาม (A Third State) ในเรื่องนี้ข้อ 7 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้ระบุว่า?เมื่อได้บอกกล่าวให้รัฐที่เกี่ยวข้องทราบ แล้ว รัฐูผู้ส่งอาจมอบหมายให้สถานีที่ทำการทางกงสุลที่ได้ตั้งอยู่ในรัฐหนึ่งโดย เฉพาะปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในอีกรัฐหนึ่งได้ นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดเจนโดยรัฐหนึ่งในบรรดารัฐที่เกี่ยวข้อง?นอกจาก นี้ สถานที่ทำการทางกงสุลยังอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลแทนรัฐที่สามได้ เรื่องนี้ข้อ 8 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้กำหนดว่า เมื่อบอกกล่าวอย่างเหมาะสมแก่รัฐผู้รับแล้ว สถานที่ทำการทางกงสุลของรัฐผู้ส่งอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐผู้รับ แทนรัฐที่สามได้ นอกจากรัฐผู้รับนั้นจะคัดค้าน และพนักงานฝ่ายกงสุลอาจปฏิบัติการหน้าที่ของตนนอกเขตกงสุลได้ในพฤติการณ์ พิเศษ และด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ ทั้งนี้เป็นไปตามข้อ 6 แห่งอนุสัญญากรุงเวียนนา อย่างไรก็ดี ยังไม่มีความเห็นเป็นเอกฉันท์ที่จะให้พนักงานฝ่ายกงสุลปฏิบัติการหน้าที่ทาง กงสุลนอกเขตกงสุล ฝ่ายที่เห็นด้วยว่าควรปฏิบัติการนอกเขตกงสุลได้ อ้างว่า การใช้เอกสิทธิ์เช่นนั้นเป็นการชอบแล้ว ด้วยเหตุผลที่ว่า อาจจะมีภาวะฉุกเฉินเกิดขึ้นในสถานที่นอกเขตกงสุล ซึ่งเป็นความจำเป็นที่พนักงานฝ่ายกงสุลจะได้ให้บริการในทันที่ที่มีการแจ้ง โดยกะทันหัน [การทูต] | exequatur | อนุมัติบัตร หมายถึง การอนุมัติจากรัฐผู้รับไม่ว่าจะเป็นในรูปใดก็ตาม ยอมรับให้หัวหน้าสถานทำการทางกงสุลของรัฐผู้ส่งเข้าปฏิบัติหน้าที่ได้ (อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล พ.ศ. 2506) [การทูต] | Exequatur | คำนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า ?let him perform? เป็นหนังสือหรืออนุมัติบัตรแสดงการรับรองผู้ที่ดำรงตำแหน่งกงสุลโดยประมุข หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐซึ่งกงสุลผู้นั้นได้ถูกส่งไป ประจำ Exequatur เป็นอนุมัติบัตรที่มอบให้กงสุล แสดงว่ามีอำนาจที่จะปฏิบัติตามหน้าที่ของกงสุลทั้งหมด สามารถเป็นหลักฐานที่ใช้แสดงต่อเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นภายในเขตอาณัติของกงสุล ด้วย รัฐที่ปฏิเสธไม่ออก Exequatur ให้นั้น ไม่จำเป็นต้องบอกเหตุผลแก่รัฐผู้ส่งว่าเพราะเหตุผลใดจึงปฏิเสธ ในเรื่องนี้ข้อ 12 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ว่า?1. หัวหน้า สถานที่ทำการทางกงสุล จะเข้าปฏิบัติการหน้าที่ของตนได้ โดยอนุมัติจากรัฐผู้รับเรียกว่า อนุมัติบัตรไม่ว่าการให้อนุมัติจะเป็นไปในรูปใดก็ตาม 2. รัฐซึ่งปฏิเสธไม่ให้อนุมัติบัตรไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการปฏิเสธ เช่นว่านั้นแก่รัฐผู้ส่ง 3. ภายในข้อบังคับแห่งบทของข้อ 13 และ 15 หัวหน้าสถานที่ทำการทางกงสุลจะไม่เข้ารับหน้าที่ของตนจนกว่าจะได้รับอนุมัติ บัตรแล้ว? [การทูต] | Exercise by Diplomatic Missions of Consular functions | การปฏิบัติหน้าที่กงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูต ตามข้อ 70 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ว่า1. บทของอนุสัญญานี้ใช้แก่ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูตด้วย เท่าที่บริบทจะอำนวยให้2. ชื่อของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานในแผนกกงสุล หรือมิฉะนั้นได้รับภาระให้ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลของคณะผู้แทนนั้น จะต้องแจ้งไปยังกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่กระทรวงนั้นที่แต่งตั้งไว้3. ในการปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุล คณะผู้แทนทางการทูตอาจติดต่อกับก. เจ้าหน้าที่ท้องที่ของเขตกงสุลนั้นข. เจ้าหน้าที่ส่วนกลางของรัฐผู้รับ ถ้าหากกระทำได้ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และจารีตประเพณีของรัฐผู้รับ หรือตามความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง4. เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูตที่อ้างถึงในวรรค 2 ของข้อนี้ จะยังคงอยู่ในบังคับแห่งกฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ทางการทูต [การทูต] | Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] | Freedom of Movement of Diplomatic Agents | เสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและการเดินทางของผู้แทน ทางการทูต โดยปกติ รัฐผู้รับย่อมอนุญาตโดยเสรีแก่ผู้แทนทางการทูต ที่จะเคลื่อนย้ายและเดินทางไปไหนมาไหนได้ทั่วประเทศ แต่ระหว่างสงครามเย็นที่ผ่านมา ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการทูตของกลุ่ม ประเทศคอมมิวนิสต์บางแห่ง ได้แก่ สหภาพโซเวียต บัลแกเรีย เชคโกสโลวาเกีย ฮังการี รูเมเนีย และโปแลนด์ นัยว่าสหรัฐฯ ได้กำหนดเขตแขวงในดินแดนของตน 355 แห่ง หรือประมาณร้อยละ 11 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นเขตห้ามเข้าสำหรับผู้แทนทางการทูตของประเทศเหล่านั้นในทำนองเดียวกัน กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ดังกล่าวก็ได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการ ทูตของสหรัฐฯ เช่นกัน สำหรับเสรีภาพการเคลื่อนย้ายนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในข้อ 26 ว่า?ภายในบังคับของกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตหวงห้ามหรือวางระเบียบไว้ โดยเหตุผลของความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันแก่สมาชิกทั้งมวลของคณะเกี่ยวกับเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน? [การทูต] | Freedom of Movement of Member of Consular Post | เสรีภาพในการเคลื่อนไหวของบุคคลในสถานที่ทำการทาง กงสุล เรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ในข้อ 34 ว่า?ภายในบังคับแห่งกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตซึ่งเป็นที่หวงห้าม หรือที่ได้กำหนดระเบียบไว้ เพราะเหตุผลในทางความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน แก่บุคคลทั้งปวงในสถานที่ทำการทางกงสุล? [การทูต] | Functions of Diplomatic Mission | ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต] |
| The people looked to you, Inspector, to find those responsible. | คนมองให้คุณ ตรวจสอบเพื่อหาผู้รับผิดชอบ In the Name of the Father (1993) | After six long years of murder, victims are being mourned throughout the world. | โลกเศร้าสลดไปกับผู้รับเคราะห์ พวกเรารอดตาย... Schindler's List (1993) | - This pool of slave labor you've got, you can underbid any contractor in town. | - สระว่ายน้ำของแรงงานทาสนี้ที่คุณมี คุณสามารถตัดราคาผู้รับเหมาใด ๆ ที่อยู่ในเมือง The Shawshank Redemption (1994) | Might have got gangrene from that. | ฉันจะต้องออกกับผู้รับใช้ของ เรา How I Won the War (1967) | Who is responsible for this? | ใครคือผู้รับผิดชอบในเรื่องนี้? Yellow Submarine (1968) | We must have the recipient on the operating table within six hours. | ผู้รับการผ่าตัดต้อง อยู่บนเตียงผ่าตัดใน 6 ชั่วโมง Airplane! (1980) | - You'll give mercenaries a bad name. | - คุณจะทำให้ผู้รับจ้างเสียชื่อ Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | Yeah! | เขามองไปที่ถุงมือผู้รับลูก Big (1988) | This isn't a cause. I don't need money or an endorsement. | มันไม่ใช่เรื่องนั้น ผมไม่อยากได้เงินหรือมีผู้รับรอง Field of Dreams (1989) | Pretty tough for a valet, this fella. | ดูไม่น่าเป็นผู้รับใช้ Titanic (1997) | Kenji Shindo as my successor..." | เคนจิ ชินโด เป็นทายาทผู้รับมอบอำนาจต่อจากฉัน..." Blues Harp (1998) | Multiply the result by the average out-of-court settlement. | --ชายผู้รับผิดชอบอย่างนั้น Fight Club (1999) | Only by taking full responsibility... for your actions and their solutions... will you ever break free from the constant cycle of victimhood. | เพียงแสดงความรับผิดชอบ ต่อการกระทำของเรา และต่อทางแก้ปัญหาของผู้อื่น คุณต้องแหกวงจรของการเป็นผู้รับเคราะห์ American Beauty (1999) | You are only a victim if you choose to be a victim. We all have the power... | คุณจะไม่เป็นผู้รับเคราะห์ถ้าคุณไม่เลือกจะเป็น เราทุกคนมีพลัง American Beauty (1999) | "I refuse to be a victim." | "ฉันจะไม่ยอมเป็นผู้รับเคราะห์" American Beauty (1999) | I refuse to be a victim! I hope you don't mind if I play the stereo. | ฉันจะไม่ยอมเป็นผู้รับเคราะห์ # ชายแก่นอนอยู่ข้างถนน # American Beauty (1999) | Thank you. I don't think there's anything worse than being ordinary. I refuse to be a victim. | หนูว่าไม่มีอะไรเลวร้ายกว่าการเป็นคนธรรมดา ฉันจะไม่ยอมเป็นผู้รับเคราะห์ American Beauty (1999) | I refuse to be a victim. I refuse to be a victim. | ฉันจะไม่ยอมเป็นผู้รับเคราะห์ American Beauty (1999) | I am a servant of the Secret Fire, wielder of the flame of Anor. | ข้าคือผู้รับใช้แห่งไฟลึกลับ ผู้ถือเปลวไฟแห่งอานอร์ The Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring (2001) | The consequences for the one responsible would be severe. | ผลร้ายที่ตามมา ต่อผู้รับผิดชอบ มันหนักหนาสาหัส Harry Potter and the Chamber of Secrets (2002) | Judging by this, you guys are prime Minion material. | ประเมิณแล้ว พวกคุณเป็นผู้รับใช้ที่ดี Inspector Gadget 2 (2003) | If the dominant institution of our time has been created in the image of a psychopath who bears moral responsibility for its actions? | ถ้าสถาบันสำคัญในยุคของเราถูกสร้างขึ้น ให้มีอาการของคนไข้โรคจิต ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบทางจริยธรรมต่อการกระทำของมัน? The Corporation (2003) | I said I will go to the Federal Communications Commissions and I will report that I was fired from my job by you the licensee of these public airwaves because I refused to lie to people on the air. | ผมบอกว่า ถ้าอย่างนั้นผมจะไปหาคณะกรรมการการสื่อสารของรัฐบาลกลาง และจะรายงานว่าทั้ง ๆ ที่คุณเป็นผู้รับใบอนุญาตคลื่นวิทยุโทรทัศน์สาธารณะ ผมกลับถูกคุณไล่ออกจากงาน The Corporation (2003) | It is written, once a woman marries, her husband's ancestors take over the duty of guardianship. | มันเขียนไว้ว่า, ในการแต่งงานนั้น เหล่าบรรพชนของผู้เป็นสามี ซึ่งทำหน้าที่เทพพิทักษ์ จะเป็นผู้รับผิดชอบภาระนี้ Mulan 2: The Final War (2004) | Whoever's responsible, | ไม่มีข้อแก้ตัว ผู้ใดเป็นผู้รับผิดชอบ Contact (1997) | Isn't it true that contractors, like Hadden Industries are making contributions in exchange for technology rights? | มันไม่ได้เป็นความจริงที่ว่าผู้รับ เหมาเช่นฮาร์ดเดนอุตสาหกรรม จะทำให้มีส่วนร่วมในการแลก เปลี่ยนสำหรับสิทธิเทคโนโลยี? Contact (1997) | ...the apparent suicide note of the terrorist now believed responsible for the explosion in Florida this week. | จดหมายลาตายที่ชัดเจนของ การก่อการร้ายที่เชื่อว่า ขณะนี้ผู้รับผิดชอบ สำหรับการระเบิดใน ฟลอริด้าในสัปดาห์นี้ Contact (1997) | Controlled by Americans built by Japanese subcontractors who also happen to be recently acquired wholly-owned subsidiaries of Hadden Industries. | ควบคุมโดยชาวอเมริกัน สร้างโดยผู้รับเหมาญี่ปุ่น ที่ยังเกิดขึ้นเป็น Contact (1997) | Be responsible. We'll be back soon! | เป็นผู้รับผิดชอบ เราจะกลับมาเร็ว ๆ นี้! Dante's Peak (1997) | Your company had one responsibility: Get a boat. | บริษัทของคุณเป็นผู้รับผิดชอบ ที่จะนำเรือมาให้เรา Anacondas: The Hunt for the Blood Orchid (2004) | "Your humble servant, Silence Dogood." | "ผู้รับใช้ที่ต่ำต้อย, ไซเรนท์ ดูกู๊ด." National Treasure (2004) | Sulttaani vaatii siskonsa ruumiin luovuttamista, - vastuullisten päitä ja Jerusalemin antautumista. | สุลต่านขอให้คืนศพพี่สาวของพระองค์. หัวของผู้รับผิดชอบเรื่องนี้. Kingdom of Heaven (2005) | - Palvelen patriarkkaa. | - ข้าคือผู้รับใช้ของเพเทรีย. Kingdom of Heaven (2005) | He supposed to doing this these days | โดยจะเป็นผู้รับผิดชอบการแข่งขันในครั้งนี้ Harry Potter and the Goblet of Fire (2005) | It's gotta be a misprint. | คงจะพิมพ์ผิดแน่ๆ / ผมเป็นผู้รับเหมา... The Amityville Horror (2005) | I can meet you at pine creek. Ennis Del Mar (DECEASED) | เราไปเจอนายที่ห้วยสนได้นะ ลงชื่อ เอ็นนิส เดล มาร์ (ตีกลับ ผู้รับเสียชีวิต) Brokeback Mountain (2005) | One daughter, the heiress of Rosings and very extensive property. | มีลูกสาวคนหนึ่งครับ ผู้รับมรดกโรสซี่ง และที่ดินอีกมาก Pride & Prejudice (2005) | My object in coming to Longbourn was to choose such a one from among Mr Bennet's daughters, for I am to inherit the estate and such an alliance will surely suit everyone. | จุดประสงค์ที่ผมมาลองบอร์น คือมาเลือกภรรยา จากบรรดาลูกสาวของคุณเบนเน็ต เพราะผมจะเป็นผู้รับมรดก Pride & Prejudice (2005) | I wanna know who's responsible for wrecking' my town, Sheriff. | ฉันอยากรู้ว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบในการ การทำลาย 'เมืองของฉันนายอำเภอ Cars (2006) | and yet you serve them: the Priory. | และเป็นผู้รับใช้พวกเขาเหล่าไพเออรี่ The Da Vinci Code (2006) | Since both your parents are dead, who's your next of kin? | ในเมื่อพ่อแม่เสียชีวิตไปแล้ว ใครเป็นญาติผู้รับแจ้ง Flyboys (2006) | A servant of the people, talking back like that? | พูดอย่างนี้, เนี่ยะเหรอผู้รับใช้ประชาชน? The Host (2006) | I'm a man of God. | พ่อเป็นผู้รับใช้พระเจ้า พ่อสมควรจะทำเช่นไรล่ะ? Pilot (2005) | My Father told the court that Ju-Mong is responsible for starting the war. | พ่อของหม่อมฉัน บอกกับราชสำนักว่าจูมงเป็นผู้รับผิดชอบการก่อสงคราม Episode #1.41 (2006) | I'm sorry to tell you this, but Ju-Mong will be in charge of picking out the refugees. | ข้าเสียใจที่ต้องบอกเรื่องนี้กับท่าน แต่องค์ชายจูมงจะเป็นผู้รับผิดชอบการแยกพวกอพยพออกจากราษฎร Episode #1.43 (2006) | No one ever found out who was responsible... ew. | ไม่เคยมีใครหาจนเจอ คนที่จะเป็นผู้รับผิดชอบ Smiles of a Summer Night (2007) | You and Lila went away together as sponsor and sponsee. | คุณกับไลล่า ไปด้วยกันในฐานะ ผู้สนับสนุนกับผู้รับการสนับสนุน Dex, Lies, and Videotape (2007) | AND RESPONSIBLE MOTHER. | และหน้าที่ของแม่ผู้รับผิดชอบ Poison Ivy (2007) | Can you or can you not tell us who's responsible for this man's death? | คุณบอกเราได้หรือไม่ได้ว่าใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ ต่อการตายของผู้ชายคนนี้ 65 Million Years Off (2007) | Peter, you're not responsible for something that might have happened. | ปีเตอร์ นายไม่ใช่ผู้รับผิดชอบ ต่อสิ่งที่อาจเกิดขึ้น Chapter Eleven 'Powerless' (2007) |
| ผู้รับ | [phūrap] (n) EN: receiver ; recipient ; addressee ; grantee FR: destinataire [ m ] ; bénéficiaire [ m ] ; accepteur [ m ] | ผู้รับ- | [phūrap-] (pref) EN: -ee (suff.) ; -er (suff.) FR: -aire (suff.) | ผู้รับอนุญาต | [phūrap anuyāt] (n) EN: license holder ; permit holder ; licensee ; authorized person | ผู้รับบำนาญ | [phūrapbamnān] (n) EN: pensioner FR: pensionné [ m ] ; pensionnée [ f ] | ผู้รับบาป | [phūrapbāp] (n) EN: scapegoat FR: bouc émissaire [ m ] | ผู้รับใช้ | [phūrapchai] (n) EN: servant ; domestic helper FR: serviteur [ m ] ; domestique [ m ] | ผู้รับช่วง | [phūrapchūang] (n) EN: heir ; inheritor ; inheritress ; successor | ผู้รับฝาก | [phūrap fāk] (n, exp) EN: depositary | ผู้รับฝากขาย | [phūrap fāk-khāi] (n, exp) EN: consignee | ผู้รับฝากทรัพย์สิน | [phūrap fāk sapsin] (n, exp) EN: custodian | ผู้รับจำนำ | [phūrap jamnam] (n, exp) EN: pledgee ; pawnbroker | ผู้รับจำนอง | [phūrap jamnøng] (n, exp) EN: mortgagee | ผู้รับจ้าง | [phūrapjāng] (n) EN: employee ; hireling ; hired person ; jobber FR: employé [ m ] ; salarié [ m ] | ผู้รับจ้างช่วง | [phūrapjāng chūang] (n, exp) EN: subcontractor | ผู้รับจ้างก่อสร้าง | [phūrapjāng køsāng] (n, exp) EN: contractor | ผู้รับจดหมาย | [phūrap jotmāi] (n) EN: addressee FR: destinataire [ m ] | ผู้รับคำมั่น | [phūrap khamman] (n, exp) EN: promisee | ผู้รับของ | [phūrapkhøng] (n) EN: consignee | ผู้รับของโจร | [phūrap khøng jōn] (n, exp) EN: receiver of stolen goods FR: receleur [ m ] ; receleuse [ f ] ; recéleur [ m ] ; recéleuse [ f ] | ผู้รับขนส่ง | [phūrap khonsong] (n, exp) EN: carrier | ผู้รับเคราะห์ | [phūrapkhrǿ] (n) EN: victim ; casualty FR: victime [ f ] | ผู้รับเหมา | [phūrapmao] (n) EN: contractor | ผู้รับเหมาก่อสร้าง | [phrapmao køsāng] (n) EN: contractor ; undertaker of a package deal FR: soumissionnaire [ m ] | ผู้รับมอบ | [phūrapmøp] (n) EN: consignee | ผู้รับมอบอำนาจ | [phūrapmøp-amnāt] (n) EN: attorney | ผู้รับมอบฉันทะ | [phūrap møpchantha] (n, exp) EN: proxy | ผู้รับมอบที่ดิน | [phūrapmøp thīdin] (n, exp) EN: feoffee ; grantee ] | ผู้รับมรดก | [phūrapmøradok] (n) EN: heir ; heiress ; inheritor FR: héritier [ m ] ; légataire [ m ] | ผู้รับเงิน | [phūrapngoēn] (n) EN: cashier FR: caissier [ m ] ; caissière [ f ] | ผู้รับเงิน | [phūrapngoēn] (n) EN: payee ; earner ; recipient | ผู้รับโอน | [phū rap ōn] (n, exp) EN: transferee | ผู้รับโอนสิทธิ์ | [phū rap ōn sit] (n, exp) EN: assignee | ผู้รับภาระ | [phūrapphāra] (n) EN: one carrying a burden ; one who shoulders a burden ; responsibility ; burden bearer | ผู้รับพินัยกรรม | [phūrapphinaikam] (n) EN: heir ; heiress ; legatee FR: héritier [ m ] ; légataire [ m ] | ผู้รับผิดชอบ | [phūrapphitchøp] (n) EN: person responsible ; responsible man ; person in charge of FR: responsable [ m ] ; personne responsable [ f ] | ผู้รับประกัน | [phūrapprakan] (n) EN: guarantor ; surety FR: garant [ m ] ; garante [ f ] | ผู้รับประกันภัย | [phūrapprakanphai] (n, exp) EN: insurer FR: assureur [ m ] | ผู้รับประทาน | [phūrapprathān] (n) FR: mangeur [ m ] ; mangeuse [ f ] | ผู้รับประโยชน์ | [phūrapprayōt] (n) EN: beneficiary FR: bénéficiaire [ m ] | ผู้รับเรือน | [phūrapreūoen] (n) EN: collateral surety | ผู้รับรอง | [phūraprøng] (n) EN: surety ; acceptor ; guarantor ; sponsor ; certifier FR: garant [ m ] ; garante [ f ] | ผู้รับรอง | [phūraprøng] (n) EN: receptionist ; hostess | ผู้รับสลักหลัง | [phūrap salaklang] (n, exp) EN: endorsee FR: endossataire [ m ] | ผู้รับสัมปทาน | [phūrapsampathān] (n) EN: concessionaire ; licensee FR: concessionnaire [ m ] | ผู้รับสินค้า | [phūrap sinkhā] (n, exp) EN: consignee | ผู้รับตราส่ง | [phū rap trā song] (n, exp) EN: consignee | ธนาคารผู้รับซื้อตั๋ว | [thanākhān phū rap seū tūa] (n, exp) EN: correspondent bank | ตัวแทนผู้รับขนส่งสินค้า | [tūathaēn phūrap khonsong sinkhā] (n, exp) EN: freight forwarder |
| nominee | (n) ตัวแทน เช่น ตัวแทนหุ้น เป็นผู้รับถือหุ้นให้บุคคลอื่นที่ไม่ต้องการจะเปิดเผยตัวตน | withholding tax | (n) ภาษีหัก ณ ที่จ่าย; เป็นภาษีที่ผู้จ่ายต้องหักไว้จากยอดเงินที่เรียกเก็บ แล้วนำส่งให้กับกรมสรรพากร โดยต้องหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้กับผู้รับเงิน; ข้อมูลเพิ่มเติม www.rd.go.th | notory republic | (n) ผู้รับรองเอกสารของรัฐ เช่น A notory republic in the US puts this big imprinted raised seal on a document, to "notarize" it. |
| addressee | (n) ผู้รับ | alienee | (n) ผู้รับโอนกรรมสิทธิ์ | assignee | (n) ผู้รับโอน, See also: ผู้รับทรัพย์สิน จากการโอน | builder | (n) ผู้รับเหมา | certified mail | (n) การส่งวัสดุหรือจดหมายลงทะเบียน, See also: การส่งไปรษณีย์ที่ผู้ส่งต้องการให้ผู้รับลงนามรับด้วย, Syn. recorded delivery | collect | (adv) โดยเก็บเงินปลายทาง, See also: โดยให้ผู้รับเป็นคนจ่ายเงิน, Syn. reverse charges | consignee | (n) ผู้รับ, Syn. recipient, receiver | custodian | (n) ผู้รับผิดชอบในการดูแลทรัพย์สินมีค่า, Syn. guardian, caretaker, keeper | divine | (n) ผู้รับใช้ศาสนา, See also: สาวก, ผู้เลื่อมใส, นักบวช, Syn. priest, clergyman, theologian | donee | (n) ผู้ได้รับบริจาค (คำทางการ), See also: ผู้รับของบริจาค, Syn. recipient, assignee | endorsee | (n) ผู้รับเช็คหรือเอกสารที่มีการเซ็นมอบไว้ให้ | escheat | (n) การเวนคืนทรัพย์สินของคนที่เสียชีวิตให้เป็นของรัฐ เนื่องจากไม่มีผู้รับมรดกที่ถูกต้องตามกฎหมาย | escheat | (n) ทรัพย์สินที่ต้องเป็นของรัฐเนื่องจากไม่มีผู้รับมรดก | feoffee | (n) ผู้รับมอบที่ดิน, Syn. grantee | follower | (n) ผู้ติดตาม, See also: พรรคพวก, บริวาร, สาวก, ลูกศิษย์, ลูกน้อง, ผู้สนับสนุน, ผู้รับใช้, Syn. disciple, adherent, supporter, Ant. objector | graduate | (n) ผู้สำเร็จการศึกษา, See also: บัณฑิต, ผู้รับปริญญา, Syn. degree-holder, qualified person | grantee | (n) ผู้รับ | grievance man | (n) ผู้รับเรื่องราวร้องทุกข์ | heir | (n) ทายาท, See also: ผู้สืบสกุล, ผู้รับมรดก, ผู้สืบสันดาน, Syn. beneficiary, inheritor, successor | heiress | (n) ทายาทที่เป็นหญิง, See also: หญิงผู้รับมรดก, Syn. inheritress | heritor | (n) ผู้รับมรดก (ตามกฎหมาย) (คำโบราณ), Syn. inheritor | hit man | (n) ผู้รับจ้างฆ่า (คำสแลง), See also: นักฆ่า, Syn. assassin, hired gun, killer | inheritor | (n) ผู้รับมรดก (กฎหมาย), See also: ผู้สืบทอด, ผู้รับช่วง, Syn. recipient, heir, receiver | insurer | (n) ผู้รับประกัน, See also: บริษัทประกันภัย, คนขายประกัน | job | (vt) มอบหมายงานให้ผู้รับเหมารายย่อย | legatee | (n) ผู้รับมรดก | master builder | (n) สถาปนิก, See also: ผู้รับเหมาก่อสร้าง, Syn. architect | mercenary | (n) ผู้รับจ้าง, See also: ลูกจ้าง, Syn. legionnaire, laborer, professional soldier | mortgagee | (n) ผู้รับจำนอง | payee | (n) ผู้รับเงิน, Syn. earner, recipient, laborer | pensionary | (n) ผู้รับเงินบำนาญ, See also: ผู้รับเงินสงเคราะห์, ลูกจ้าง | pensioner | (n) ผู้รับเงินบำนาญ, See also: ลูกจ้าง, Syn. person in retirement | presentee | (n) ผู้ถูกนำเสนอ, See also: ผู้ได้รับเลือก, ผู้รับของที่ให้ | promisee | (n) ผู้รับสัญญา | proxy | (n) ผู้รับมอบฉันทะ | receiver | (n) ผู้รับ, See also: คนรับ, Syn. acceptor, taker | receivership | (n) การเป็นผู้รับไว้ | receptor | (n) ผู้รับ, See also: ตัวรับ | recipient | (n) ผู้รับ, Syn. heir, legatee | boss man | (sl) (ชาย) ผู้รับผิดชอบ, See also: ชาย ผู้ทำหน้าที่ | scapegoat | (n) ผู้รับเคราะห์แทนคนอื่น, Syn. dupe, sacrifice, substitute | server | (n) ผู้รับใช้, See also: ผู้ให้บริการ, ผู้บริการ, บริกร, เด็กเสิร์ฟ, บ๋อย, Syn. waiter, waitress | sub | (vi) เป็นผู้รับเหมาย่อย, Syn. subcontract | successor | (n) ผู้สืบตำแหน่ง, See also: ผู้รับช่วงต่อ, Syn. heir, follower, replacement | understudy | (n) ตัวละครสำรอง, See also: ผู้แสดงแทน, ผู้รับบทแทนในกรณีที่ตัวจริงไม่อยู่ | undertaker | (n) ผู้รับผิดชอบ, See also: ผู้รับหน้าที่ | underwriter | (n) ผู้รับประกัน | victim | (n) เหยื่อ, See also: ผู้เคราะห์ร้าย, ผู้ประสบภัย, ผู้รับเคราะห์, Syn. prey, dupe, gull, fool, sufferer | voucher | (n) ผู้รับรอง, See also: ผู้รับประกัน, ผู้ค้ำประกัน, ผู้ยืนยัน, พยานสนับสนุน, Syn. guarantor | walla | (n) ผู้รับผิดชอบ, Syn. wallah |
| alienee | (เอ' เลียนนี่, แอล' เยินนี) n. ผู้รับโอนกรรมสิทธิ์ | almsman | (อาล์มซ' เมิน) n., (pl. -men) ผู้รับทาน, ผู้รับของสงเคราะห์, ผู้ให้ทาน, ผู้ให้ของสังเคราะห์ | almswoman | (อาล์มซ' วูเมิน) n., (pl. -women) หญิงผู้รับทาน, หญิงผู้รับของสงเคราะห์, หญิงผู้ให้ทานผู้ให้ของสงเคราะห์ | assignee | (อะไซนี') n. ผู้รับโอน (สิทธิ, ทรัพย์สินดอกเบี้ยหรืออื่น ๆ) | attendant | (อะเทน'เดินท) n. ผู้ดูแล, ผู้รับใช้, ผู้ปรนนิบัติ, ผู้เข้าร่วมประชุม, สิ่งประกอบ. -adj. ซึ่งอยู่ร่วมด้วย, เกี่ยวข้อง, ดูแลรักษา (servant) | attorney | (อะเทอ'นี) n., (pl. -neys) ทนายความ, นักกฎหมาย, ตัวแทน, ผู้รับมอบอำนาจ | attorney-in-fact | ตัวแทน, ผู้รับมอบอำนาจ | bearer | (แบ'เรอะ) n. ผู้แบก, ผู้รับ, เครื่องมือขนส่ง, ผู้ถือจดหมาย, ผู้ถือจดหมายสั่งของหรือรับเงิน, ผู้ประจำตำแหน่ง, คนใช้, Syn. messenger | beneficiary | (เบนนะฟิช'เชียรี) n. ผู้รับผลประโยชน์, ผู้รับเงินประกัน, ผู้รับเงินช่วยเหลือ, ผู้มีสิทธิพิเศษ, Syn. donee, recipient | bondsman | (บอนซ' เมิน) n. ทาส, ผู้ค้ำประกัน, ผู้รับรอง -pl. -bondsmen | caddie | (แคด'ดี) n. ผู้รับจ้างแบกถุงไม้ตีกอล์ฟ, คนรับใช้เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ทั่วไป., Syn. caddy | cafe | (คะเฟ', แคฟ'เฟ) n. ภัตตาคารเล็ก ๆ , ร้านกาแฟ, โรงอาหาร, ไนท์คลับ, โรงอาหารที่ผู้รับประทานช่วยตัวเอง, กาแฟ, Syn. restaurant | cafeteria | (แคฟ'ฟิเทียเรีย) n. ภัตตาคารหรือโรงอาหารที่ผู้รับประทานอาหารต้องช่วยตัวเอง | cessionary | n. ผู้รับมอบ, ผู้ได้รับการยกให้ | chasseur | (แชเซอ') n. สมาชิกกองทหารติดอาวุธที่สามารถเคลื่อนกำลังได้รวดเร็ว, ผู้รับใช้ที่แต่งเครื่องแบบ, นายพราน | client | (ไคล'เอินทฺ) n. ลูกความ, คนไข้, ลูกค้า, คนซื้อของ, ผู้พึ่งคนอื่น, บุคคลหรือบริษัทที่จ่ายเงินสำหรับสินค้าหรือการบริการ adj. เป็นลูกค้าประจำ, See also: cliental adj. ดูclient ผู้รับบริการ1. ใช้ในเรื่องของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ LAN หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่สามารถเรียกข้อมูลข่าวสารหรือโปรแกรมจากเครื่องบริการแฟ้ม file server มาใช้ได้ หรืออาจหมายถึงเครื่องที่ทำงานอย่างอิสระ โดยใช้โปรแกรมที่มีอยู่ในเครื่องนั้นเองก็ได้ ดู file server ประกอบ2. หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ข้อมูลร่วมกับเครื่องอื่นได้ โดยใช้ระบบ DDE หรือ dynamic data exchange ดู dynamic data exchange ประกอบ | collect | (คะเลคทฺ') { collected, collecting, collects } vt., vi. รวบรวม, สะสม, เก็บ (เงิน, บัญชี, ค่าเช่า, ฯลฯ) , คุมสติ, สำรวม, ไปรับ (จดหมาย) , จับกลุ่ม adj., adv. ให้ผู้รับจ่ายเงิน., Syn. obtain, receive, gather | concessionaire | (คันเซส'เชินแนร์') n. ผู้ได้รับสัมปทาน, ผู้รับโอน, ผู้ได้รับการยกให้., Syn. concessioner | concessionary | (คันเซส'เชินนะรี) adj. เกี่ยวกับการยกหรือโอนให้, เกี่ยวกับสัมปทาน. n. ผู้รับโอน, ผู้รับสัมปทาน | conferee | (คอน ฟะรี') n. ที่ปรึกษา, ผู้ประชุม, ผู้ถูกมอบให้, ผู้รับปริญญา | conferree | (คอน ฟะรี') n. ที่ปรึกษา, ผู้ประชุม, ผู้ถูกมอบให้, ผู้รับปริญญา | consignee | (คันไซนี') n. ผู้ที่ของส่งถึง, ผู้รับของ | conveyer | (คันเว'เออะ) n. ผู้ขนส่ง, ผู้รับส่ง, ผู้แสดงออก, ผู้นำไปบอก, ผู้โอนกรรมสิทธิ์ | conveyor | (คันเว'เออะ) n. ผู้ขนส่ง, ผู้รับส่ง, ผู้แสดงออก, ผู้นำไปบอก, ผู้โอนกรรมสิทธิ์ | dead letter | n. จดหมายที่ไม่ถึงมือผู้รับ | dependant | (ดีเพน'เดินทฺ) n. ผู้อาศัย, ผู้อยู่ภายใต้การอุปถัมภ์, ผู้รับใช้ ดูdependent | direct mail | n. การส่งทางไปรษณีย์โดยตรงไปยังผู้รับ | direction | (ดิเรค'เชิน, ไดเรค'เชิน) n.การชี้ทาง, ทิศทาง, การบัญชา, การควบคุม, การเล็ง, การจ่าหน้าซอง, การมุ่งหมาย, ชื่อและตำบลที่อยู่ของผู้รับ, Syn. way, aim | drawee | (ดรออี') n. ผู้รับเงิน (โดยตั๋วเงิน) | e-mail address | หมายเลขไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หมายถึง หมายเลขประจำตัวหรือรหัสประจำตัวที่กำหนดให้แก่สมาชิก ผู้ใช้หมายเลขนี้จะใช้สำหรับส่งจดหมายหรือเรียกดูข้อความที่ส่งมาทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวโปรแกรมที่ใช้ จะต้องทำหน้าที่เหมือนที่ทำการไปรษณีย์ โดยจะรับข่าวสารที่มีผู้ส่งมาแล้วเก็บรอไว้ จนกว่าผู้รับจะเรียกออกมาดู | electronic mail | ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า e-mail หมายถึงการสื่อสารหรือการส่งข้อความ โน้ต หรือบันทึกออกจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ผ่านไปเข้าเครื่องปลายทาง (terminal) หรือเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งโดยส่งผ่านทางระบบเครือข่าย (network) ผู้ส่งจะต้องมีเลขที่อยู่ (e-mail address) ของผู้รับ และผู้รับก็สามารถเปิดคอมพิวเตอร์เรียกข่าวสารนั้นออกมาดูเมื่อใดก็ได้ โดยปกติ จะไม่มีการพิมพ์ข้อความหรือข่าวสารนั้นลงแผ่นกระดาษ นับว่าเป็นการประหยัดกระดาษไปได้ส่วนหนึ่ง โดยทั่วไป ถือกันว่าเป็นงานส่วนหนึ่งของสำนักงานอัตโนมัติ (office automation) ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอันมาก | endorsee | n. ผู้รับโอน, ผู้รับเอกสารหรือตั๋วเงินที่ผู้อื่นเซ็นมอบไว้ให้ | esquire | (อีสไคว'เออะ) n. คำที่ใช้เติมหลังนามสกุลสุภาพบุรุษในเวลาเขียนจดหมายใช้อักษรย่อว่าEsq., ผู้รับใช้อัศวิน, ผู้มีตำแหน่งต่ำกว่าอัศวินชั้นหนึ่ง vt. เลื่อนตำแหน่งเป็น esquire, ติดตามไปด้วย | facsimile | (แฟคซิม'มะลี) n. สำเนา, vt. อัดสำเนา, ถอดแบบ โทรสารโทรภาพใช้ตัวย่อว่า FAX เป็นระบบสื่อสารข้อมูล ที่เป็น เอกสารและภาพที่ส่งมาในรูปของสัญญาณไฟฟ้าผ่านสายโทรศัพท์ เครื่องรับ/ส่งแฟกซ์หรือโทรสารนั้น หมายถึง อุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายเครื่องโทรศัพท์ ใช้ส่งและรับข้อความหรือภาพ ผู้รับและผู้ส่งจะต้องใช้กระดาษเป็นสื่อ ปัจจุบัน เราอาจจะต่อสายแฟกซ์ผ่านโมเด็มเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ในกรณีเช่นนี้ จะเป็นการส่งหรือรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เลย ไม่ต้องใช้กระดาษ คล้ายไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ | farmer | (ฟาร์ม'เมอะ) n. ชาวนา, ชาวไร่, เจ้าของฟาร์ม, ผู้รับเลี้ยง (เด็ก), Syn. grower | fax | (แฟคซฺ) n. การถอดแบบหรือทำสำเนาด้วยวิทยุหรือโทรเลข แฟกซ์ (โทรสาร) ย่อมาจากคำว่า facsimile เป็นระบบสื่อสารข้อมูล ที่เป็น เอกสารและภาพที่ส่งมาในรูปของสัญญาณไฟฟ้าผ่านสายโทรศัพท์ เครื่องรับ/ส่งแฟกซ์หรือโทรสารนั้น หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ ส่งและรับข้อความหรือภาพ ผู้รับและผู้ส่งจะต้องใช้กระดาษ เป็นสื่อ ปัจจุบัน เราอาจจะต่อสายแฟกซ์ผ่านโมเด็มเข้าสู่ เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ในกรณีเช่นนี้ จะเป็นการส่งหรือรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เลย ไม่ต้องใช้กระดาษ คล้ายไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ | fence | (เฟนซฺ) { fenced, fencing, fences } n. รั้ว, เครื่องกั้น, คอกล้อม, พะเนียด, ศิลปะหรือกีฬาฟันดาบ, ความชำนาญในการโต้แย้ง, บุคคลผู้รับและจำหน่ายของโจร, สถานที่รับและจำหน่ายของโจร. -Phr. (sit on the fence เป็นกลาง, ไม่เข้าข้างฝ่ายใด) . vi. เล่นหรือฝึกฝนการฟันดาบ, ล้อมรั้ว, | follower | (ฟอล'โลเออะ) n. ผู้ติดตาม, ผู้ตาม, บริวาร, สาวก, ลูกศิษย์, ผู้สนับสนุน, ผู้รับใช้, ผู้เลียนแบบ | fortune | (ฟอร์'เชิน) n. โชค, โชคชะตา, โชคลาภ, ทรัพย์สมบัติจำนวนมาก, ความสำเร็จ, ความรุ่งเรือง, ผู้รับมรดก, หญิงมั่งคั่ง. Phr. (tell a person's fortune ทำนายโชคชะตา) . vi. มอบทรัพย์สมบัติจำนวนมากให้., Syn. fate | freighter | (เฟรท'เทอะ) n. เรือบรรทุกสินค้า, ผู้ส่งสินค้า, ผู้รับส่งสินค้า, ผู้เช่าเรือสินค้า, เครื่องบินบรรทุกสินค้า | goat | (โกท) n. แพะ, แพะรับบาป, ผู้รับบาป, คนชั่ว, เสือผู้หญิง | grantee | (กรานที') n. ผู้ได้รับสิ่งของ, ผู้ได้รับทุน, ผู้ได้รับเงิน, ผู้รับ | guarantee | (แกเรินที') n. การประกัน, หลักประกัน, เครื่องประกัน, คำรับรอง, ผู้รับรอง, คนรับรอง vt. รับรอง, ประกัน, ค้ำประกัน, ให้คำมั่น, สัญญา, Syn. warranty, certify, affirm | guarantor | (แก'เรินเทอะ) n. คนรับรอง, คนค้ำประกัน, ผู้รับประกัน, Syn. voucher | indorsee | n. ผู้รับโอน, ผู้รับเอกสารหรือตั๋วเงินที่ผู้อื่นเซ็นมอบไว้ให้ | inheritor | (อินเฮด'ริเทอ) n. ผู้รับมรดก, ทายาท | insider | (อินไซ'เดอะ) n. คนวงใน, ผู้รู้เรื่องภายใน, ผู้รับเรื่องราวเบื้องหลัง, Syn. colleague | insurer | (อินชัว'เรอะ) n. บริษัทประกัน, ผู้รับรอง, ผู้รับประกัน | joan of arc | (โจน'อัฟอาร์ค) วีรสตรีและผู้รับทุกข์เพื่อคนอื่นของฝรั่งเศส | mail-merge | การผสานจ่าหน้า (จดหมาย) หมายถึง กระบวนการในการนำชื่อและที่อยู่ของผู้รับซึ่งเก็บรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูลไว้ มาผนวกกับจดหมายที่ทำเป็นต้นแบบ จดหมายแต่ละฉบับที่สั่งพิมพ์ออกมา ก็จะมีชื่อผู้รับแต่ละคน จากรายชื่อที่เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลรายชื่อนั้น ใช้ในการทำจดหมายเวียน โปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) เกือบทุกโปรแกรมจะต้องมีคำสั่งให้ทำงานประเภทนี้ได้ |
| addressee | (n) ผู้ฟัง, ผู้รับจดหมาย | bearer | (n) คนหาม, ผู้รับ, ผู้ถือจดหมาย | beneficiary | (n) ผู้รับประโยชน์ | bondsman | (n) ผู้ค้ำประกัน, ผู้รับรอง, ทาส | conferee | (n) ที่ปรึกษา, ผู้รับปริญญา, ผู้ประชุม | conferree | (n) ที่ปรึกษา, ผู้รับปริญญา, ผู้ประชุม | contractor | (n) ช่างรับเหมา, ผู้รับเหมา, ผู้ทำสัญญา | conveyer | (n) ผู้ขนส่ง, ผู้รับส่ง, ผู้โอนกรรมสิทธิ์ | conveyor | (n) ผู้ขนส่ง, ผู้รับส่ง, ผู้โอนกรรมสิทธิ์ | counter | (n) โต๊ะรับเงิน, เคานต์เตอร์, เครื่องนับ, ผู้ต่อต้าน, ผู้รับเงิน | follower | (n) สาวก, ลูกศิษย์, ผู้รับใช้, บริวาร, ผู้ติดตาม | guest | (n) แขก, ผู้มาเยือน, อาคันตุกะ, ผู้รับเชิญ, ลูกค้า | heir | (n) รัชทายาท, ทายาท, ผู้สืบทอด, ผู้รับมรดก, ผู้รับช่วง | mercenary | (n) ทหารรับจ้าง, ลูกจ้าง, ลูกมือ, ผู้รับจ้าง | minister | (n) ทูต, พระ, รัฐมนตรี, ผู้รับใช้ | ministrant | (n) ผู้รับใช้, ผู้ปรนนิบัติ, ผู้จัดการ, ผู้ช่วยเหลือ | pawnbroker | (n) ผู้รับจำนำ, เจ้าของโรงรับจำนำ | pensioner | (n) ผู้รับบำนาญ, ลูกจ้าง | receiver | (n) เครื่องรับ, ผู้รับ, ผู้รักษาทรัพย์, คนรับของโจร | server | (n) ผู้รับใช้, ถาดรองจาน, ผู้บริการ, คนเสิร์ฟ | successor | (n) ทายาท, ผู้รับมรดก, ผู้รับช่วง, ผู้สืบตระกูล | undertaker | (n) สัปเหร่อ, ผู้รับผิดชอบ | voucher | (n) ผู้รับประกัน, ใบเสร็จรับเงิน, ผู้รับรอง, ใบสำคัญ, ใบรับรอง |
| buffet | [บุเฟต์ (อังกฤษ) , เบอเฟต์ (อเมริกัน)] (n) บุฟเฟต์ (อาหารในงานเลี้ยงที่หรือโอกาสอื่นที่ผู้รับประทานบริการตนเอง), ร้านอาหารอย่างง่าย (ที่สถานที่รถไฟ, ชุมทางรถประจำทาง, หรือสนามบินที่สามารถซื้ออาหารและทานได้โดยใช้เวลสั้น ๆ) | Commissioner of Oath | (n, phrase) เจ้าพนักงานผู้รับคำสาบาน, ผู้มีอำนาจจัดให้มีคำสาบาน | consignee | ผู้รับฝากขาย, See also: A. Consigner | consignee | [คันไซ้นี่] (n) ผู้รับมอบกรรมสิทธิ์ในสินค้า หากระบุในใบตราส่งจะอยู่ในช่องที่ 2 อ้านซ้ายริมบน ซึ่งมีเรียงกัน 3 ช่องเป็นมาตรฐานเดียวกันหมด คือ ช่อง 1 Shipper คือ ผู้ส่งสินค้าซึ่งจะเป็นใครก็ได้ ช่อง 2 Consignee คือ ผู้รับมอบกรรมสิทธิ์ในสินค้า จะระบุต้นทาง หรือปลายทางก็ได้ตามบริบทแวดล้อม ช่อง 3 คือ Notify Party คือ ผู้รับแจ้งเมื่อมีการส่งสินค้าออกไปจากต้นทางแล้ว | consignee | [คอนซ้ายนี่] (n) ผู้รับโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้า (transferee of the title or property or ownership of the goods sold) | contractor | (n) ผู้รับจ้าง | double-blind | (n) การศึกษาฤทธิ์ของยาซึ่งผู้ให้กับผู้รับตอนให้ยาไม่รู้ว่ายานั้นเป็นสารที่ active หรือ inert | Free Carrier ( FCA ) | การเสนอราคา ที่ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการมอบสินค้าตามสัญญาก็ต่อเมื่อผู้ขายได้จัดสินค้าส่งมอบให้กับผู้รับขนส่ง ณ สถานที่ของผู้รับขนส่ง(เช่น บรรดาบริษัท shipping ต่างๆ) ตามที่ผู้ซื้อระบุไว้เพราะฉะนั้นในการเสนอราคา ผู้ขายก็จะเสนอราคาขาย ที่บวกค่าส่งมอบสินค้าในเบื้องต้นลงไปด้วย | freight forwarder | (n) ผู้รับจัดการขนส่งสินค้า | loss payee | (n) ผู้รับผลประโยชน์ | notify party | ผู้รับสินค้า | recipient | ตัวทดลอง, ผู้รับการทดลอง | Rorschach | (n) แบบทดสอบทางจิตวิทยาชนิดหนึ่ง เป็นรูปภาพจากการหยดหมึกลงบนกระดาษให้เกิดเป็นรูปต่างๆ แสดงให้ผู้รับการทดสอบบอกว่าเห็นเป็นรูปอะไร | undertaker of work | ผู้รับจ้างทำงาน |
| 責任者 | [せきにんしゃ, sekininsha] (n) ผู้รับผิดชอบ |
| 担当者 | [たんとうしゃ, tantousha] (n) ผู้รับผิดชอบ, ผู้ได้รับมอบหมาย | 元請け | [もとうけ, motouke] ผู้ยื่นข้อตกลง, ผู้สัญญา (เป็นคำพูดที่มักใช้ในข้อสัญญา ข้อตกลง มักจะใช้คู่กับ 下請け=したうけ=Subcontractor=ผู้รับข้อตกลง), See also: A. 下請け, R. 下請け | 下請け | [したうけ, shitauke] ผู้รับข้อตกลง, ผู้ทำสัญญา (เป็นคำพูดที่มักใช้ในข้อสัญญา ข้อตกลง มักจะใช้คู่กับ 元請け=もとうけ=Contractor=ผู้ยื่นข้อตกลง), See also: A. 元請け, R. 元請け | 宛名 | [あてな, atena] ชื่อ(และที่อยู่)ของผู้รับที่จ่าไว้หน้าซอง | 宛先 | [あてさき, atesaki] ที่อยู่ผู้รับที่จ่าไว้หน้าซอง |
| 送信 | [そうしん, soushin] TH: การส่งข้อมูลข่าวสารไปให้ผู้รับ EN: transmission (vs) | くれる | [くれる, kureru] TH: ให้(ผู้รับจะต้องเป็นผู้พูดหรือพวกเดียวกับผู้พูด) EN: to be given | 伝送先 | [でんそうさき, densousaki] TH: ผู้รับสารปลายทาง EN: destination (of transmission) | 届く | [とどく, todoku] TH: (สินค้า หรือ สิ่งของ)ส่งถึง(ผู้รับ) EN: arrive |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |