ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ผู้พูด, -ผู้พูด- |
อย่าหาทำ | (slang) อย่าได้คิดจะทำ อย่าได้ทำ, แสดงถึงความไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งในการที่ผู้พูดจะทำสิ่งนั้น |
|
| เปิ้น | (pron) เค้า, เรา (สรรพนามเรียกแทนตัวผู้พูด) |
| 언니 | (n, pron) พี่สาว (ใช้เมื่อผู้พูดเป็นผู้หญิง) |
| ผู้พูด | (n) speaker, See also: spokesman, orator, Ant. ผู้ฟัง, Example: ในการสื่อสารนั้นผู้พูดและผู้ฟังต้องให้เกียรติซึ่งกันและกัน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เปล่งเสียงออกมาเป็นถ้อยคำ |
| กระผม | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้ใหญ่, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | กระหม่อม | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย ทูลพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าที่มิได้ทรงกรม และหม่อมเจ้า, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑, สรรพนามบุรุษที่ ๑ ที่หม่อมเจ้ามีรับสั่งระหว่างกัน. | กัน ๑ | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้เสมอกันหรือผู้น้อยในทำนองกันเอง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑, เช่น กันจะไปรอที่สถานีรถไฟ. | กู | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด ในปัจจุบันมักถือกันว่าไม่สุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | เกล้ากระผม | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้ใหญ่ด้วยความเคารพมากหรือกับพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์, พูดสั้น ๆ ว่า เกล้า หรือเขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | เกล้ากระหม่อม | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย กราบทูลพระอนุวงศ์ชั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอที่มิได้ทรงกรม พระวรวงศ์เธอที่ทรงกรม และสมเด็จพระสังฆราช, ถ้าผู้พูดเป็นเพศหญิงใช้ว่า เกล้ากระหม่อมฉัน, เขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ข้อย | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ข้า ๒ | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เสมอกันอย่างเป็นกันเองหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ข้าเจ้า | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ข้าน้อย | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ข้าพเจ้า | (ข้าพะเจ้า) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด มักใช้อย่างเป็นทางการ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ข้าพระพุทธเจ้า | (ข้าพฺระพุดทะเจ้า) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด กราบบังคมทูลพระมหากษัตริย์ หรือกราบบังคมทูล กราบทูลเจ้านายชั้นสูง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | จุดไต้ตำตอ | ก. พูดหรือทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งบังเอิญไปโดนเอาเจ้าตัวหรือผู้ที่เป็นเจ้าของเรื่องนั้นเข้าโดยผู้พูดหรือผู้ทำไม่รู้ตัว. | ฉัน ๑ | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เสมอกันหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ดิฉัน | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคำสุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑, ดีฉัน ก็ว่า. | ดีฉัน | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคำสุภาพ, ดิฉัน ก็ว่า, โบราณผู้ชายใช้ว่า ดีฉัน ผู้หญิงใช้ว่า อีฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ตู ๑ | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑ พหูพจน์, เช่น อันว่าพวกตูผู้เถ้า ก็จะน่งงเฝ้าแฝงหลัง (ม. คำหลวง ทศพร). | เที่ยว ๒ | ก. ไปไหน ๆ เพื่อความเพลิดเพลินตามสบาย เช่น ไปเที่ยวงานกาชาด, กิริยาที่ไปที่โน่นที่นี่เรื่อยไป เช่น ฉันเที่ยวตามหาเธอทั้งวัน, กิริยาที่ไปหรือทำในหลายที่ทั่ว ๆ ไป ใช้ประกอบกับกริยาอื่น ผู้พูดพูดในทำนองไม่เห็นด้วยว่าควรทำ เช่น เรื่องนี้เป็นความลับ อย่าเที่ยวพูดไปนะ. | บุรุษ, บุรุษ- | คำสรรพนามบอกผู้พูด เรียกว่า สรรพนามบุรุษที่ ๑, คำสรรพนามบอกผู้ที่พูดด้วย เรียกว่า สรรพนามบุรุษที่ ๒, คำสรรพนามบอกผู้ที่พูดถึง เรียกว่า สรรพนามบุรุษที่ ๓. | ปฐมบุรุษ | (ปะถมมะ-, ปะถม-) น. บุรุษที่ ๑, ตามไวยากรณ์ ได้แก่ สรรพนามพวกที่ใช้แทนชื่อผู้พูด เช่น ข้า เรา แต่ตามไวยากรณ์บาลีหมายถึงพวกที่เราพูดถึง เช่น เขา. | ปากเสียง | น. ผู้พูดหรือโต้เถียงแทน เช่น ผู้แทนราษฎรเป็นปากเสียงของประชาชน. | ไป | ก. เคลื่อนจากตัวผู้พูด เช่น เขาไปตลาด เขาเข็นเรือไม่ไปเพราะเรือเกยตื้น, ใช้ตรงข้ามกับ มา, เป็นคำประกอบกริยาแสดงทิศทางออกจากตัวผู้พูด เช่น เขาเดินไปโรงเรียน, ในการเขียนจดหมายทางการ ใช้แสดงทิศทางออกจากตัวผู้ที่เขียนถึง เช่น ผมขอให้คุณเดินทางไปหาผมวันอาทิตย์นี้, หรือเป็นคำประกอบกริยามีความหมายว่า เรื่อยไป, ไม่หยุด, เช่น ทำไปกินไป, เป็นคำประกอบท้ายคำวิเศษณ์เพื่อเน้นความหมายให้หนักแน่นยิ่งขึ้น เช่น ขาวไป ช้าไป ดีเกินไป. | ผม ๒ | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย ใช้พูดโดยสุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | พักตา | น. ผู้พูด, ผู้กล่าว. | ภณิดา | (พะ-) น. ผู้พูด, ผู้บอก. | ภาษก | (พาสก) น. ผู้พูด. | มา ๒ | ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย เขาบอกว่าจะมาแล้วไม่มา, ตรงกันข้ามกับ ไป, เป็นคำประกอบกริยาแสดงทิศทางเข้าหาตัวผู้พูด เช่น หันมาทางนี้ เอามานี่, ใช้ในการเขียนจดหมายทางการ ใช้แสดงทิศทางสู่ตัวผู้ที่เขียนถึง เช่น พรุ่งนี้ผมจะมาหาคุณ, ซึ่งเป็นคำประกอบกริยาแสดงอาการที่ต่อเนื่องเรื่อยมาถึงปัจจุบัน เช่น ความเป็นมา อยู่มาวันหนึ่ง ส่งจดหมายบอกข่าวมา. | รูป, รูป- | (รูบ, รูบปะ-) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด สำหรับพระภิกษุสามเณรพูดกับคฤหัสถ์, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | เรา | ส. สรรพนามบุรุษที่ ๑ เป็นคำแทนตัวผู้พูด จะเป็นคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ ถ้าผู้พูดเป็นคนคนเดียว อาจพูดแทนคนอื่น ๆ รวมทั้งตัวเองด้วย เช่น เราทุกคนเป็นคนไทย หรืออาจพูดกับผู้ที่มีฐานะเสมอกัน เช่น เรามีความเห็นอย่างนี้ เธอมีความเห็นอย่างไร หรืออาจพูดกับผู้ที่มีฐานะต่ำกว่า เช่น อธิบดีพูดกับนักการว่า ปีนี้เราจะขึ้นเงินเดือนให้ ๒ ขั้น, สรรพนามบุรุษที่ ๒ เป็นคำใช้สำหรับผู้มีอำนาจหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย เช่น เจ้าหน้าที่ถามผู้ต้องหาว่า เราจะรับสารภาพไหม. | เรียม | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด สำหรับผู้ชายพูดกับผู้หญิงที่รัก, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. [ ข. | ลูก | น. ผู้มีกำเนิดจากพ่อแม่ หรือโดยปริยายถือว่ามีฐานะเสมือนลูก, คำที่พ่อแม่เรียกลูกของตนโดยตรง หรือเรียกเด็กอื่นหรือผู้เยาว์กว่าผู้พูดหลายปีด้วยความรู้สึกรักและเอ็นดู เช่น ลูกกินยาเสียซิ, คำที่ลูกใช้แทนชื่อตนเวลาพูดกับพ่อแม่ด้วยความรักและเคารพ เช่น ลูกยังไม่ง่วงนอน | วัตตา | น. ผู้กล่าว, ผู้พูด. | วาจก | น. ผู้กล่าว, ผู้บอก, ผู้พูด. | วาที | น. ผู้พูด, ผู้กล่าว, ผู้ชี้แจง, ผู้โต้แย้ง | สัตยวาที | น. ผู้พูดแต่ความจริง เช่น อันว่าพระมหาบุรุษรัตน ผู้อยู่ในสัตยวาที (ม. คำหลวง กุมาร). | หม่อมฉัน | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูดสำหรับเจ้านายที่มีศักดิ์เสมอกันหรือสำหรับผู้หญิงใช้พูดกับเจ้านาย, คำที่พระมหากษัตริย์ใช้แทนพระองค์เมื่อมีพระราชดำรัสกับพระบรมวงศานุวงศ์และพระราชวงศ์ต่างประเทศ, โบราณใช้ว่า กระหม่อมฉัน. | หางเสียง | น. กระแสเสียงที่ลงท้ายซึ่งแสดงนิสัย ความรู้สึก หรืออารมณ์ของผู้พูดเป็นต้น เช่นโกรธ อ่อนโยน. | อาตมภาพ, อาตมา ๑ | (-พาบ, อาดตะมา) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด สำหรับพระภิกษุสามเณรพูดกับคฤหัสถ์ ทั้งที่เป็นเจ้านายหรือสามัญชน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | อิฉัน | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคำสุภาพ, อีฉัน ก็ว่า, (แบบ) ผู้ชายใช้ว่า ดิฉัน หรือ ดีฉัน ผู้หญิงใช้ว่า อิฉัน หรือ อีฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | อีฉัน | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคำสุภาพ, อิฉัน ก็ว่า, (แบบ) ผู้ชายใช้ว่า ดิฉัน หรือ ดีฉัน ผู้หญิงใช้ว่า อิฉัน หรือ อีฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. |
| Speech Viewer | โปรแกรมฝึกพูด, โปรแกรมที่ใช้ในการฝึกพูดแก่ผู้ที่ไม่ได้ยินเสียงพูดของตนเอง โดยโปรแกรมจะฝึกผู้พูดให้ออกเสียงแต่ละเสียงถูกต้องโดยการให้ "มองเห็น" สิ่งที่กำลังพูด การฝึกประกอบด้วย เรื่อง ความดัง ระดับเสียงสูง ต่ำ เสียงก้อง เสียงไม่ก้อง และการฝึกเสียงตามหน่วยเสียงที่กำหนด ซึ่งอาจจะเริ่มต้นที่ ๑ หน่วยเสียง ไปจนถึง ๔ หน่วยเสียง โปรแกรมนี้เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัทไอบีเอ็ม จำกัด [Assistive Technology] | Films for foreign speakers | ภาพยนตร์สำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading] | Promunciation by foreign speakers | การออกเสียงโดยผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading] | Sound recordings for foreign speakers | วัสดุบันทึกเสียงสำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading] | Textbooks for foreign speakers | แบบเรียนสำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading] | Video recordings for foreign speakers | วัสดุวีดิทัศน์สำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading] | Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | echo | เสียงสะท้อนกลับ, เสียงที่สะท้อนกลับมายังผู้พูดหรือแหล่งกำเนิดเสียงให้ได้ยินอีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่เปล่งเสียงออกไปเป็นระยะเวลาหนึ่ง ประมาณเกินกว่า 1/10 วินาที ซึ่งนานพอที่หูจะแยกฟังเสียงเดิมและเสียงสะท้อนได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| | ผู้พูด | [phū phūt] (n) EN: speaker FR: orateur [ m ] ; locuteur [ m ] |
| damn it! | (phrase) เป็นคำสบถ แปลว่า ฉิบหาย ให้ตายเถอะ (ดีกรีความหยาบคาย ขึ้นกับอารมณ์ผู้พูดขณะนั้น และแปลตรงจากภาษาอังกฤษ คือ แช่งมันไปเลย) | mansplaining | (n, slang) การกระทำที่ผู้พูด (มักเป็นผู้ชาย) อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟัง (มักเป็นผู้หญิง) ในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม https://dict.longdo.com/blog/word-of-the-day-mansplaining/ |
| addresser | (n) ผู้ส่ง, See also: ผู้พูด, ผู้ส่งสาร | call letters | (n) รหัสที่ใช้อ้างถึงตัวผู้พูดในการสื่อสารทางวิทยุ | call sign | (n) รหัสที่ใช้อ้างถึงตัวผู้พูดในการสื่อสารทางวิทยุ | Finn | (n) ผู้พูดภาษาฟินแลนด์, See also: ผู้พูดภาษาฟินนิค | vote of thanks | (idm) การพูดแสดงความขอบคุณให้กับผู้พูด, See also: การพูดเพื่อให้ผู้ฟังแสดงความขอบคุณ ปรบมือให้ผู้พูด | monoglot | (n) ผู้พูดหรือเขียนภาษาเดียว | monologist | (n) ผู้พูดคนเดียว | monologuist | (n) ผู้พูดคนเดียว | mumbler | (n) ผู้พูดพึมพำ, See also: ผู้พูดไม่ชัด | quibbler | (n) ผู้พูดคลุมเครือ, See also: ผู้พูดประชด, Syn. critic | scarifier | (n) ผู้พูดหรือวิจารณ์อย่างรุนแรง | speaker | (n) ผู้พูด, See also: ผู้กล่าว, Syn. orator, lecturer, preacher | thingamabob | (n) สิ่งที่ผู้พูดลืมชื่อ | twaddler | (n) ผู้พูดไร้สาระ | verbalizer | (n) ผู้แสดงความรู้สึกหรือความคิดเป็นคำพูด, See also: ผู้พูด | waffler | (n) ผู้พูดหรือเขียนคลุมเครือ | wording | (n) การใช้คำ (โดยผู้เขียนหรือผู้พูด), See also: การเลือกใช้คำ โดยผู้เขียนหรือผู้พูด, Syn. diction, phraseology, phrasing |
| colloquist | (คอล'ละควิสท) n. ผู้สนทนา, คู่สนทนา, ผู้พูด | linguist | (ลิง'กวิสทฺ) n. ผู้เชี่ยวชาญหลายภาษา, ผู้พูดได้หลายภาษา, ผู้เชี่ยวชาญในภาษาศาสตร์ | mouthpiece | (เมาธฺ'พีส) n. ส่วยที่ทำหน้าที่เป็นปาก, หลอดลมของแตร ไม้ซาง, ส่วนที่ปากของท่อ, ผู้พูดแทน, โฆษก, ปากกระบอกเสียงของคนอื่น | proser | (โพร'เซอะ) n. นักร้อยแก้ว, ผู้ประพันธ์ร้อยแก้ว, ผู้พูดเป็นร้อยแก้ว | rhapsodist | (แรพ'ซะดิสทฺ) n. ผู้พูดหรือเขียนบทกวีด้วยอารมณ์ที่คลั่งไคล้, ผู้ยกยอสรรเสริญอย่างมากเกินปกติ, See also: rhapsodistic adj. | speaker | (สพี'เคอะ) n. ผู้พูด, ผู้บรรยาย, ประธานสภานิติบัญญัติ, เครื่องขยายเสียง, หนังสือฝึกพูด., See also: speakership n., Syn. lecturer, orator |
| addresser | (n) ผู้พูด, ผู้ส่งจดหมาย | speaker | (n) ผู้พูด, โฆษก, พิธีกร, ผู้บรรยาย, ลำโพงวิทยุ, ประธาน, การแสดงสุนทรพจน์ | talker | (n) ผู้พูด, นักพูด |
| Hedge | (n, vi) [ Linguistics: Pragmatics ] n. คำบ่งชี้ความไม่แน่ใจ คำบ่งชี้การพูดออกตัว การพูดออกตัว โดยใช้ คำ วลี หรือประพจน์เพื่อป้องกันตัวของผู้พูดในกรณีที่พูดผิด ไม่มั่นใจ เช่น วันนี้ฝนอาจจะตก คำว่า อาจจะ คือ hedge ชนิดหนึ่งที่บ่งชี้ว่าผู้พูดมีความไม่มั่นใจ มีความกำกวม ซึ่งฝนจะตกหรือไม่ตกผู้พูดก็ไม่ได้พูดผิด เพราะคำว่า อาจจะ มีความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้ที่จะเกิด 50/50 v. พูดออกตัว พูดกำกวม พูดป้องกันตัว, See also: softener, downtoner, understatement, weakener, tentativeness, stance m, Syn. mitigator | mansplaining | การกระทำที่ผู้พูด อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟังในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม | psycholinguistics | [げんごしんりがく] (n) การศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของภาษากับลักษณะพฤติกรรมของผู้พูด | triteness | (n) (คำพูด, ภาษิต, ความเห็น)ที่มีผู้พูดกันมากมายจนเบื่อหู |
| 弊社 | [へいしゃ, heisha] (n) บริษัทของผู้พูด เป็นคำสุภาพแบบถ่อมตัว เมื่อพูดถึงบริษัทของตนเอง มักใช้เป็นภาษาเขียนในจดหมาย, Ant. 御社 |
| これ | [これ, kore, kore , kore] (n) นี่, สิ่งนี้ (สิ่งของที่อยู่ใกล้ตัวผู้พูด) | あれ | [あれ, are, are , are] (n) โน่น, สิ่งโน้น (สิ่งของที่อยู่ไกลจากทั้งตัวผู้พูดและผู้ฟัง) | ここ | [ここ, koko, koko , koko] (pron) ที่นี่, ตรงนี้ (สถานที่ที่ตัวผู้พูดอยู่) | ここ | [ここ, koko, koko , koko] (pron) ที่นี่, ตรงนี้ (สถานที่ที่ตัวผู้พูดอยู่), See also: S. こちら | あそこ | [あそこ, asoko, asoko , asoko] (pron) ที่โน่น, ตรงโน้น (สถานที่ที่อยู่ไกลจากทั้งตัวผู้พูดและผู้ฟัง), See also: S. あちら |
| 致す | [いたす, itasu] TH: ทำ(รูปถ่อมตน ใช้กับการกระทำของผู้พูด) EN: to do (pol) | 構いません | [かまいません, kamaimasen] TH: คำพูดที่ใช้บอกฝ่ายตรงข้ามให้สบายใจว่าผู้พูดไม่ถือสา แปลว่า ไม่เป็นไร EN: it doesn't matter | 居る | [おる, oru] TH: อยู่(เป็นรูปถ่อมตนใช้กับพฤติกรรมของผู้พูด) EN: to be (hum) | 存じる | [ぞんじる, zonjiru] TH: ทราบ(รูปถ่อมตนของผู้พูด) EN: to know (hum) | 頂く | [いただく, itadaku] TH: รับ(คำถ่อมตนของผู้พูด) | 参る | [まいる, mairu] TH: มา(คำถ่อมตนของผู้พูด) EN: to come (hum) | 参る | [まいる, mairu] TH: ไป(เป็นคำถ่อมตนของผู้พูด) EN: to go | 召し上がる | [めしあがる, meshiagaru] TH: รับประทาน(รูปสุภาพใช้กับประธานที่เป็นผู้อื่น ไม่ใช่ผู้พูด) EN: to eat (pol) | くれる | [くれる, kureru] TH: ให้(ผู้รับจะต้องเป็นผู้พูดหรือพวกเดียวกับผู้พูด) EN: to be given | くれる | [くれる, kureru] TH: (ทำอะไร)ให้(แก่ผู้พูดหรือพวกเดียวกับผู้พูด) | 前方 | [ぜんぽう, zenpou] TH: ด้านหน้าของผู้พูด EN: forward |
| Er kommt erst heute nach seinem Urlaub. | เขาเพิ่งจะมาวันนี้หลังจากที่หยุดพักร้อนมา, erst ใช้เสริมเหตุการณ์ที่ผู้พูดรู้สึกว่า เพิ่งเกิดขึ้น, ไม่นานมานี้ | heraus | (adv) บ่งชี้ทิศทางออกข้างนอกของผู้พูด เช่น Heraus mit dir! ออกไปซะ | Aufmerksamkeit | (n) |die, pl. Aufmerksamkeiten| ความสนใจ, ความเอาใจใส่ เช่น Vielen Dank für Ihre Aufmerksamkeit! ขอบคุณมากสำหรับความสนใจของคุณ หรือ ขอบคุณมากที่คุณตั้งใจฟัง (มักใช้หลังจากผู้พูดจบการอภิปราย) | schweigen | (vi) |schwieg, hat geschwiegen| นิ่งเงียบ และ ไม่แสดงความคิดเห็น หรือ ไม่เปิดเผยในสิ่งที่รู้ หรือ ไม่ตอบ ก็เป็นได้ นะเนี่ย ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Du solltest auf all seine Fragen schweigen! = เธออย่าได้ตอบคำถามของเขาเชียวนะ แม้จะคำถามเดียวก็เหอะ (นั่น เป็นงั้นไปได้, ยังกะในละคร แนะ ) 2° Darüber sollten wir lieber schweigen. = ผมเห็นว่า พวกเราน่าจะนิ่งเฉยกับเรื่องนี้เอาไว้ดีกว่านะ ( เพิ่มเติม, ผู้พูดแนะนำให้ทำ ดังนั้นเขาจึง ใช้กริยาเป็น sollten เช่น solltest ในตัวอย่างที่ 1 ด้วยเหมือนกัน ) 3° Sebastian, er steht schweigend vor seinen Eltern. = เซบาสเทียน, เขายืนนิ่ง ไม่พูดอะไรสักคำต่อหน้าพ่อแม่ของเขา ( กริยา Infinitiv เติมด้วย d จะทำหน้าที่เป็น Adjektiv หรือ Adverb เช่นคำว่า schweigend ในประโยค ตัวอย่าง ), See also: verheimlichen, A. verraten, antworten, sagen, Syn. still sein | neunmalkluges Gerede | (n) |das, pl. neunmalkluge Gerede| การแสดงออกหรือคำพูดที่แสดงว่าผู้พูดรู้ในสิ่งต่างๆ ดีกว่าคนอื่นๆ, การอวดรู้, Syn. die Angeberei | sich versprechen | (vt) |versprach sich, hat sich versprochen| พูดผิด เช่น Der Redner war sehr nervös und hat sich dauernd versprochen. ผู้พูดอภิปรายตื่นเต้นเกินไป และพูดผิดตลอดเวลา |
| | | be supposed to | น่าจะ, ควรจะ, เป็นการแสดงความคาดหวังของผู้พูดต่อประธานในประโยคว่าน่าจะทำกริยาที่ระบุไว้ | convaincre | (vi, vt) ทำให้เชื่อหรือเลื่อมใส, โน้มน้าวใจ ( โดยส่วนใหญ่แล้วเนื่องจากผู้พูดต้องการหรืออยากจะทำอะไรบางอย่าง ที่ควรจะได้รับการอนุญาต หรือ ความเห็นด้วยก่อน ), Syn. persuader |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |