ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ผู้ครอง, -ผู้ครอง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ เจ้าผู้ครองนคร | (n) governor, See also: ruler of the city, city ruler, Syn. เจ้าเมือง, กษัตริย์, พระราชา, เจ้าผู้ครองเมือง, Ant. ราษฎร, ไพร่พล, Example: ดินแดนประเทศราชหมายถึงดินแดนที่มีเจ้าผู้ครองนครปกครอง | เจ้าผู้ครองเมือง | (n) ruler of the city, See also: governor, city ruler, Syn. เจ้าผู้ครองนคร, กษัตริย์, พระราชา, Ant. ราษฎร, ไพร่พล, Example: เวียงหินนครถูกกองทัพของเจ้าผู้ครองเมืองเชียงตุงเข้ามารุกราน |
|
| กฐิน, กฐิน- | คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน). | กรรชิง | (กัน-) น. เครื่องประกอบยศของเจ้านาย ขุนนาง และราชพาหนะ มีรูปร่างคล้ายสัปทนขนาดเล็ก บุด้วยผ้าต่างสีต่างชนิดกันตามชั้นยศ ระบายรอบอย่างน้อย ๒ ชั้น ยาวปรกลงมามากกว่าสัปทน สำรับหนึ่งมี ๔ คัน ใช้ตั้งแต่งประจำมุมทั้ง ๔ ของผู้ครองยศ หรือถือเข้ากระบวนแห่ เช่น แห่พระยาแรกนา แห่ช้างสำคัญ, กระชิง กระฉิ่ง กะชิง กันฉิ่ง หรือ กันชิง ก็เรียก. | คฤหัสถ์ | (คะรึหัด) น. ผู้ครองเรือน, ผู้ไม่ใช่นักบวช, ฆราวาส, ภาษาปากใช้ว่า กระหัด. | เค้าสนามหลวง | น. สำนักผู้ปกครองบ้านเมือง, ที่ว่าราชการเมือง, คณะผู้ว่าการบ้านเมืองซึ่งประกอบด้วยเจ้าผู้ครองเมืองหรือผู้ครองเมืองข้าหลวงประจำนครหรือเมืองซึ่งต่อมาเรียกว่า ปลัดมณฑลประจำจังหวัด และข้าหลวงผู้ช่วย มีหน้าที่บังคับบัญชารับผิดชอบในกิจการทั่วไปของเมือง, เค้าสนาม ก็ว่า. | เจ้าฟ้า | เรียกเจ้าผู้ครองแคว้นไทยถิ่นอื่น เช่น เจ้าฟ้าเชียงตุง. | เจ้าหลวง | น. เจ้าผู้ครองประเทศราชฝ่ายเหนือ. | ถือเพศ | ก. ประพฤติปฏิบัติตนเยี่ยงนักบวชหรือผู้ครองเรือน เช่น ถือเพศเป็นฤๅษี ลาจากสมณเพศมาถือเพศเป็นคฤหัสถ์. | บดี | (บอดี) น. นาย, เจ้าของ, เจ้า, ผู้ครอง, ผู้บังคับบัญชา | ปรนิมมิตวสวัตดี | (ปะระนิมมิดตะวะสะวัดดี, ปอระ-) น. ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๖ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น มีท้าววสวัตดีมารเป็นผู้ครอง. (ดู ฉกามาพจร ประกอบ). | ประเทศราช | (ปฺระเทดสะราด) น. เมืองที่มีเจ้าผู้ครองเมืองของตนเอง แต่อยู่ภายใต้อำนาจควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์ของอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งเจ้าเมืองประเทศราชนั้นมีหน้าที่ส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในเวลาเกิดศึกสงครามต้องเกณฑ์กำลังทหารเข้าร่วมกองทัพหลวงด้วย. | พ่อเจ้า | ส. คำเรียกพ่อเมืองหรือเจ้าผู้ครองนคร, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | แม่เจ้า | ส. คำเรียกเมียพ่อเมืองหรือเจ้าผู้ครองนคร, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | เลอสรวง | น. ผู้ครองสวรรค์. | เลอหล้า | น. ผู้ครองโลก. | วาสิน, วาสี ๑ | น. ผู้อยู่, ผู้ครอง, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น คามวาสี = ผู้อยู่บ้าน อรัญวาสี = ผู้อยู่ป่า. | วิภู | น. ผู้ครอง, พระเจ้าแผ่นดิน. | หอคำ | น. เรือนของเจ้าผู้ครองแคว้นฝ่ายเหนือ. | อสัญแดหวา | (อะสันยะแดหฺวา) น. เทวดาต้นตระกูลของกษัตริย์ ๔ นครในบทละครเรื่องอิเหนา คือ องค์ปะตาระกาหลา, ชื่อวงศ์กษัตริย์ผู้ครอง ๔ นครในบทละครเรื่องอิเหนา ได้แก่ กุเรปัน ดาหา กาหลัง และสิงหัดส่าหรี. |
| Kings and rulers | กษัตริย์และผู้ครองนคร [TU Subject Heading] | Kings and rulers in literature | กษัตริย์และผู้ครองนครในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Kings and rulers in motion pictures | กษัตริย์และผู้ครองนครในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] | Kings' and rulers' writings | งานเขียนของกษัตริย์และผู้ครองนคร [TU Subject Heading] | Kings' and rulers' writings, Thai | งานเขียนของกษัตริย์และผู้ครองนครไทย [TU Subject Heading] | Mothers of kings and rulers | มารดาของกษัตริย์และผู้ครองนคร [TU Subject Heading] | Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] |
| emperor | (n) จักรพรรดิ์, See also: กษัตริย์, ฮ่องเต้, ผู้ครองจักรวรรดิ์, Syn. dictator, king, ruler | householder | (n) ผู้ครองเรือน | layman | (n) ฆราวาส, See also: ผู้ครองเรือน, คฤหัสถ์, Syn. laity | throne | (n) ผู้ครองบัลลังก์, See also: ประมุขผู้ครองบัลลังก์, กษัตริย์, Syn. sovereign |
| prince | (พรินซฺ) n. เจ้าชาย, พระราชนัดดา, กษัตริย์, เจ้าผู้ครองนคร, ผู้ดีเด่น, See also: princeship, n. | ranee | (รา'นี) n. (ในอินเดีย) มเหสี, ราชินี, กษัตรี, เจ้าหญิงผู้ครองแผ่นดิน, Syn. rani | seigneur | (ซีนเยอ') n. เจ้าผู้ครองศักดินา (ในแคนาดา) , ขุนนาง, ขุนนางศักดินา., See also: seigneurial adj. pl. seigneurs | seignior | (ซีน'เยอะ) n. เจ้าผู้ครองศักดินา, เจ้าของที่ดิน, ขุนนาง, เจ้าศักดินา (lord, ruler) | throne | (โธรน) n. ราชบัลลังก์, บัลลังก์, ตำแหน่งกษัตริย์, อำนาจกษัตริย์, ผู้ครองบัลลังก์, รัฎฐาธิปัตย์, ลำดับชั้นของเทพดา. vt. ทำให้ขึ้นครองบัลลังก์. vi. ขึ้นครองบัลลังก์ | titleholder | (ไทเทิลโฮล'เดอะ) n. ผู้มีตำแหน่ง, ผู้มีบรรดาศักดิ์, ผู้มียศฐาบรรดาศักดิ์, ผู้ครองตำ-แหน่งชนะเลิศ (หรือtitlist) |
| prince | (n) เจ้าชาย, เจ้าผู้ครองนคร, พระยา |
| LANNA | (n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |