ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ผื่น, -ผื่น- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ออกผื่น | (v) break out in a rash, See also: come out in a rash, Example: คนไข้ออกผื่นเต็มตัวไปหมดสงสัยจะแพ้ยา, Thai Definition: มีผื่นขึ้นตามตัว |
|
| ไข้ผื่น | น. ไข้ที่มีผื่นและการเปลี่ยนแปลงอย่างอื่นทางผิวหนัง มีลักษณะอาการและความรุนแรงต่าง ๆ กัน ตั้งแต่เป็นเม็ดเล็ก ๆ เหมือนหัวเข็มหมุด จนถึงปื้นใหญ่ ๆ ในรายที่รุนแรงมากอาจมีเลือดออกใต้ผิวหนังบริเวณผื่นหรือปื้น และผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำ, ไข้กาฬ หรือ ไข้ส่า ก็เรียก. | ผื่น | น. เม็ดตุ่มหรือแถบที่ผุดขึ้นเป็นพืดบนผิวหนัง. | ออกผื่น | ว. มีผื่นขึ้นตามตัว. | ขยุ้มตีนหมา | น. ชื่อโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง มีพิษอักเสบออกเป็นเม็ดผื่นดวง ๆ. | ข้าวใหม่น้อย | น. ชื่อไข้ที่เป็นผื่นตามตัวเหมือนมดกัด มีหัวสีขาว เวลาเป็นทำให้ตัวร้อนจัด. | ไข้กาฬ | ดู ไข้ผื่น. | ไข้กาฬนกนางแอ่น, ไข้กาฬหลังแอ่น | น. ไข้ติดเชื้อเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมอง มีอาการไข้ ซึม คอแข็ง หลังแอ่น และมีผื่นชนิดตกเลือดใต้ผิวหนัง ต่อมาสีของผื่นจะเปลี่ยนเป็นคลํ้า. | ไข้ทรพิษ | น. ชื่อโรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้สูงแล้วมีผื่นขึ้นดาษตามใบหน้าและลำตัว ต่อมาผื่นจะกลายเป็นตุ่ม ตุ่มใส ตุ่มหนอง และตกสะเก็ด ตามลำดับ เมื่อหายแล้วมีแผลเป็นเป็นรอยบุ๋ม, ฝีดาษ ก็เรียก, โบราณเรียก ไข้หัว. | ไข้ส่า | ดู ไข้ผื่น. | จุดหลัง | ก. เอาเล็บจิกหรือกดตุ่มหรือผื่นที่หลังเพื่อแก้คันเป็นต้น. | ด้วงน้ำมัน | น. ชื่อแมลงพวกด้วง ในวงศ์ Meloidae ที่สำคัญ ได้แก่ ชนิด Mylabris phalerata (Pallas) ลำตัวยาวประมาณ ๓.๕ เซนติเมตร ปีกมีสีดำและเหลืองสลับกันอย่างละ ๓ แถบ มีน้ำมันซึมออกมาซึ่งมีสารแคนทาริดินปนอยู่ นำไปใช้ในทางการแพทย์ เมื่อถูกตัวจะทำให้เกิดผื่นคัน หากกินจะทำลายระบบการทำงานของไตและกระเพาะอาหาร ทำให้อาเจียน ปัสสาวะเป็นเลือด ดิ้นทุรนทุรายคล้ายคนบ้า หมดสติและเสียชีวิต กินใบและดอกโสน กระเจี๊ยบแดง ปอแก้ว และถั่ว, ด้วงไฟ ด้วงถั่ว เต่าบ้า หรือ แมลงไฟเดือนห้า ก็เรียก. | ดอกหมาก ๑ | น. ชื่อเกลื้อนชนิดหนึ่ง ขึ้นตามตัวตามหลังเป็นผื่นขาว ๆ | ตะรังตังกวาง | น. ชื่อไม้เถาชนิด Cnesmone javanica Blume ในวงศ์ Euphorbiaceae มีขนหยาบคลุมทั่วทั้งต้น ถูกเข้าจะคันและเป็นผื่นตามผิวหนัง, ตำแยเครือก็เรียก. | ตะรังตังช้าง | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Dendrocnide sinuata (Blume) Chew ในวงศ์ Urticaceae ใบใหญ่ ขอบจัก ถูกเข้าจะปวดคันและเป็นผื่นตามผิวหนัง, กะลังตังช้าง ก็เรียก. | ตำแย ๑ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Laportea interrupta (L.) Chew ในวงศ์ Urticaceae มีขนตามลำต้นและใบ ถูกเข้าจะคันและเป็นผื่นตามผิวหนัง, ตำแยตัวเมีย หรือ กะลังตังไก่ ก็เรียก. | เต็มตัว | ทั้งตัว เช่น ถ่ายรูปเต็มตัว, ทั่วตัว เช่น ผื่นขึ้นเต็มตัว. | ทรพิษ | น. ชื่อโรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้สูงแล้วมีผื่นขึ้นดาษตามใบหน้าและลำตัว ต่อมาผื่นจะกลายเป็นตุ่ม ตุ่มใส ตุ่มหนอง และตกสะเก็ด ตามลำดับ เมื่อหายแล้วมีแผลเป็นเป็นรอยบุ๋ม เรียกว่า ไข้ทรพิษ, ฝีดาษ ก็ว่า. | ปื้น | ว. อาการที่ผิวหนังเห่อขึ้นเป็นแผ่นหรือเป็นผื่นเป็นแนวหนา เช่น ลมพิษขึ้นเป็นปื้น, โดยปริยายหมายถึง สิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คอเสื้อดำเป็นปื้น. | ผด | น. ชื่อโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง ขึ้นเป็นผื่นเม็ดเล็ก ๆ ตามผิวหนัง มักเกิดในเวลาที่มีอากาศร้อนอบอ้าว มีอาการคัน. | ฝ้า | ว. ขุ่นมัวไม่ผ่องใส (ใช้แก่ผิว) เช่น กระจกฝ้า เพชรเป็นฝ้า, เรียกหน้าที่มีลักษณะเป็นจุดหรือรอยผื่นสีคลํ้า ๆ ว่า หน้าเป็นฝ้า. | ฝีดาษ | น. ชื่อโรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้สูงแล้วมีผื่นขึ้นดาษตามใบหน้าและลำตัว ต่อมาผื่นจะกลายเป็นตุ่ม ตุ่มใส ตุ่มหนอง และตกสะเก็ด ตามลำดับ เมื่อหายแล้วมีแผลเป็นเป็นรอยบุ๋ม, ไข้ทรพิษ ก็เรียก, โบราณเรียก ไข้หัว. | พรึน | (พฺรึน) ว. เป็นผื่น. | มังตาน | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Schima wallichii (DC.) Korth. ในวงศ์ Theaceae เปลือกต้นชั้นในระคายผิวหนังทำให้เป็นเม็ดผื่นคัน ใช้เบื่อปลาได้, ปักษ์ใต้เรียก พันตัน. | รากสาด | น. กลุ่มโรคที่มีอาการไข้สูงนานเป็นสัปดาห์ มีผื่นขึ้น แบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดใหญ่. | เรื้อน | โรคติดต่อเรื้อรัง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Mycobacterium leprae ทำให้เกิดอาการที่ผิวหนังเป็นผื่น วงด่างสีขาวหรือแดง หรือนูนหนาเป็นตุ่มหรือเป็นแผ่น ไม่เจ็บไม่คัน แห้ง เหงื่อไม่ออก และขนร่วง อาจทำให้เกิดความพิการที่นิ้วมือนิ้วเท้างอหรือกุดได้, ขี้ทูด หรือ กุฏฐัง ก็เรียก. | เรื้อนกวาง | น. ชื่อโรคผิวหนังเรื้อรังชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นผื่นคัน ทำให้ผิวหนังหน้า หยาบ และอาจแตกมีน้ำเหลืองไหลหรือตกสะเก็ดในระยะหลัง มักเป็นตามบริเวณข้อเท้า หัวเข่า หรือบริเวณที่มือเอื้อมไปเกาถึง. | ลมพิษ | น. ผื่นคันเป็นพิษเห่อขึ้นตามผิวหนัง. | สังคัง | น. โรคผิวหนังชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อรา (Epidermophyton floccosum) บางรายเกิดจากเชื้อราในสกุล Trichophyton เกิดที่ถุงอัณฑะ ลักษณะเป็นผื่นแดง มีสะเก็ด มีอาการคันมาก. | ส่า | น. สิ่งที่เป็นเชื้อทำให้ปรากฏเป็นฟอง รา หรือเม็ดผื่นเป็นต้นแก่สิ่งอื่นบางลักษณะ. | ส่าไข้ | น. เม็ดผื่นขึ้นตามตัวก่อนจะเป็นไข้, เรียกไข้ที่มีเม็ดผื่นเช่นนั้น ว่า ไข้ส่า. | ส่าเลือด | น. เม็ดผื่นที่ขึ้นตามตัวเนื่องจากความผิดปรกติของเลือดประจำเดือน. | หมืน | ก. เป็นผื่นขึ้นมาก ๆ ตามผิวเนื้อ. | หัด ๑ | น. โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้สูงและปวดศีรษะ ออกผื่นแดงตามตัว. | หัดเยอรมัน | น. โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้ ต่อมนํ้าเหลืองที่คอโต ออกผื่นแดงทั่วตัวคล้ายโรคหัด แต่อาการไม่รุนแรงเท่า มีผลรุนแรงต่อทารกในครรภ์ระยะ ๓ เดือนแรก, เหือด ก็เรียก. | เห่อ ๑ | ว. เป็นผื่นเป็นเม็ดผุดขึ้นมากเป็นพืดไปตามผิวหนัง เช่น มีผื่นเห่อขึ้นเต็มตัว. | เหือด ๑ | น. โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้ ต่อมนํ้าเหลืองที่คอโต ออกผื่นแดงทั่วตัวคล้ายโรคหัด แต่อาการไม่รุนแรงเท่า มีผลรุนแรงต่อทารกในครรภ์ระยะ ๓ เดือนแรก, หัดเยอรมัน ก็เรียก. | อีดำอีแดง ๒ | น. ชื่อโรคติดต่อชนิดหนึ่ง ขึ้นเป็นผื่นสีดำสีแดงตามตัว. |
| papular eruption | ผื่นเม็ด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | papulation | การเกิดผื่นนูน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | papule | ผื่นนูน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | papuliferous | -มีผื่นนูน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | papuloid | คล้ายผื่นนูน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | papulopustular | -ผื่นนูนมีหนอง, -ผื่นนูนหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | papulosquamous | -ผื่นนูนตกสะเก็ด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | papulovesicular | -ผื่นนูนและตุ่มใส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | preeruptive stage | ระยะก่อนขึ้นผื่น, ระยะก่อนออกผื่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prurigo | โรคผื่นคัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | petechial eruption | ผื่นจุดเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | papular | -ผื่นนูน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pustular eruption | ผื่นหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rash | ผื่น(ผิวหนัง) [ มีความหมายเหมือนกับ eruption ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | Rocky mountain spotted fever | ไข้ผื่นภูเขารอกกี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rash, caterpillar | ผื่นแพ้บุ้งร่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rash, diaper | ผื่นแพ้ผ้าอ้อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rash, drug; eruption, drug; rash, medicinal | ผื่นแพ้ยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rash, medicinal; eruption, drug; rash, drug | ผื่นแพ้ยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rash, nettle | ผื่นแพ้ตำแย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rash, serum; eruption, serum | ผื่นแพ้เซรุ่ม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rash, vaccine | ผื่นแพ้วัคซีน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rash, wandering; erythema migrans | ผื่นย้ายที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | shower | ๑. อาการผื่นโผล่๒. อาการไหลพุ่ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stomatitis exanthematica | ปากอักเสบร่วมออกผื่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sudamen (เอก.); sudamina (พหู.) | ผื่นไข้, ส่าไข้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sudamina (พหู.); sudamen (เอก.) | ผื่นไข้, ส่าไข้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | squamous eruption | ผื่นเกล็ด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | serum eruption; rash, serum | ผื่นแพ้เซรุ่ม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | serum rash; eruption, serum | ผื่นแพ้เซรุ่ม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stage, eruptive | ระยะขึ้นผื่น, ระยะออกผื่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stage, preeruptive | ระยะก่อนขึ้นผื่น, ระยะก่อนออกผื่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | atrophic candidiasis; candidiasis, erythematous | โรคราแคนดิดาชนิดผื่นแดง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | medicinal rash; eruption, drug; rash, drug | ผื่นแพ้ยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | morbilliform | ๑. คล้ายโรคหัด๒. -ผื่นคล้ายหัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | macular eruption | ผื่นดวง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | caterpillar rash | ผื่นแพ้บุ้งร่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | candidiasis, atrophic; candidiasis, erythematous | โรคราแคนดิดาชนิดผื่นแดง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | candidiasis, erythematous; candidiasis, atrophic | โรคราแคนดิดาชนิดผื่นแดง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | deflorescence | การหายผื่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | diaper dermatitis | ผื่นผ้าอ้อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | diaper rash | ผื่นแพ้ผ้าอ้อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | dermatitis, diaper | ผื่นผ้าอ้อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | dermatitis, eczematous | ผิวหนังอักเสบออกผื่น [ มีความหมายเหมือนกับ eczema ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | drug eruption; rash, drug; rash, medicinal | ผื่นแพ้ยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | drug rash; eruption, drug; rash, medicinal | ผื่นแพ้ยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | fever, Rocky mountain spotted | ไข้ผื่นภูเขารอกกี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | fever, exanthematous | ไข้ส่า, ไข้ผื่น, ไข้กาฬ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | eczematous dermatitis | ผิวหนังอักเสบออกผื่น [ มีความหมายเหมือนกับ eczema ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | erythema migrans; rash, wandering | ผื่นย้ายที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Drug-examthem | ผื่นแพ้ยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Butterflies | ผื่นแดงตรงโหนกแก้มและจมูก [การแพทย์] | Buttock Rash, Monilial | ผื่นปื้นที่ก้นเนื่องจากเชื้อรา [การแพทย์] | Calamine Lotion | คาลาไมน์โลชัน, ยาทาแก้ผดผื่นคัน, คาลาไมน์โลชั่น [การแพทย์] | Collarette | ขุยยุ่ยที่ขอบพยาธิสภาพ, ขอบในของผื่น [การแพทย์] | Dermatitis | ผิวหนังอักเสบ, อาการทางผิวหนัง, โรคผิวหนังอักเสบ, ผื่นคันตามผิวหนัง, อาการผิดปกติที่ผิวหนัง, โรคผิวหนัง, ผิวหนังอักเสบ, โรคผิวหนังอักเสบ, ผิวหนังอักเสบ, โรคแพ้ผื่นคัน [การแพทย์] | Dermatophytosis | กลาก, ผื่นเชื้อรา, โรคกลากเกลื้อนจากเชื้อราผิวหนัง, โรคกลากผิวหนัง, โรคกลาก [การแพทย์] | Disacopy | แผ่นกระจกใสกดลงบนผื่น [การแพทย์] | Discoid | ผื่นขุยเป็นวง, คล้ายรูปจาน [การแพทย์] | Drug Eruption | ปฏิกิริยาการแพ้ยาทางผิวหนัง, ผื่นแพ้ยา, คันเนื่องจากแพ้ยา, การแพ้ยา [การแพทย์] | Ecchymosis | ช้ำเลือด, กาฬ, จ้ำเขียว, จ้ำเขียวตามตัว, จ้ำเลือดตามตัว, จ้ำเลือดสีคล้ำ, เลือดออกตามผิวหนังเป็นจ้ำๆ, พรายย้ำ, เลือดออกเป็นพรายย้ำ, จ้ำสีเขียวๆ, การบวมที่มีสีเขียวคล้ำหรือม่วง, จุดจ้ำเลือดตามตัว, จ้ำเลือด, รอยเลือดออกใต้ผิวหนังขนาดใหญ่, ห้อเลือด, ผื่นเลือดออก [การแพทย์] | Eczema | เอ็กซีมา, เอกซีมา, โรค, โรคแพ้ผื่นคัน, เอคซีมา, ผื่นคันเรื้อรัง, ผื่นผิวหนังเอกซีมา, ผิวหนังอักเสบเป็นแผล, ผื่น, ผื่นแดง, น้ำเหลืองแฉะ, การอักเสบของผิวหนัง, ผื่นคัน, ผื่นอักเสบ [การแพทย์] | Eczematous Annular Ring | ลักษณะผื่นเป็นวงแหวน [การแพทย์] | Encephalitis, Exanthematous | สมองอักเสบในโรคไข้ออกผื่น [การแพทย์] | Eruption Stage | ระยะผื่นขึ้น [การแพทย์] | Erythema | อาการหนังร้อนแดง, อีริย์ทีมา, ผิวหนังร้อนแดง, ภาวะ, ผิวหนังแดงเป็นบริเวณ, พื้นสีแดง, แดง, อักเสบเพียงเล็กน้อย, ผื่นแดงอักเสบ, การบวมแดง, ผิวหนังร้อนแดง, อาการหน้าร้อนแดง, ผื่นแดง, บวมแดง, ปื้นแดง, อาการแดง [การแพทย์] | Erythema Marginatum | ผื่นแดงที่ผิวหนัง, อีริธีมามาร์จินาตัม [การแพทย์] | Erythema Multiforme | อีริย์ธีมามัลติฟอร์ม, อีริธีมามัลติฟอร์เม, ผื่นแดงเกิดขึ้นตามผิวหนังลักษณะนูนแดงขอบไม่เรียบ, ผื่นแดงอักเสบ [การแพทย์] | Erythema, Local | ผื่นสีแดงเกิดเฉพาะที่ [การแพทย์] | Erythema, Palmar | การเปลี่ยนแปลงของเส้นเลือดที่ฝ่ามือ, ผื่นแดงที่ฝ่ามือส่วนล่าง, อุ้งมือแดง, ฝ่ามือแดงโดยรอบ [การแพทย์] | Erythema, Periungual | ผื่นแดงรอบๆเล็บ [การแพทย์] | Erythema, Scarlatiniform | ผื่นแบบหัด [การแพทย์] | Erythema, Skin | ผื่นแดงที่ผิวหนัง, ผิวหนังผื่นแดง [การแพทย์] | Erythema, Toxic | ผื่นผิวหน้า [การแพทย์] | Erythema, Toxic | ผื่นผิวหน้า [การแพทย์] | Erythematous Eruption, Scaling | ผื่นแดงลอก [การแพทย์] | Erythematous Patch | ผื่นแดง [การแพทย์] | Erythematous Rash | ผื่นแดง, ผื่นแดงที่ผิวหนัง [การแพทย์] | Exanthema | โรคไข้ออกผื่น, ผื่นเอกแซนเทมา, การออกผื่น [การแพทย์] | Exanthema, Measles | ผื่น [การแพทย์] | Exanthematous Fever | ไข้ออกผื่น [การแพทย์] | Exanthematous Viral Infections | โรคไวรัสชนิดที่ทำให้เกิดผื่นตามผิวหนัง [การแพทย์] | Fever-Arthralgia-Rash, Arboviral | ไข้มีผื่นปวดข้อ [การแพทย์] | Flares | ผื่นแดง, อาการแดง, ผื่นสีแดง [การแพทย์] | smallpox [ cowpox ] | ไข้ทรพิษ, โรคฝีดาษ, โรคระบาดชนิดหนึ่งเกิดจากเชื้อไวรัส ผู้ป่วยจะมีตุ่มน้ำเหลืองขึ้นเป็นผื่นตามผิวหนัง แม้หายจากโรคนี้แล้วก็จะมีรอยแผลเป็นอยู่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Granuloma Annulare, Disseminated | ผื่นขึ้นทั่วๆไป [การแพทย์] | Infiltration, Diffused | ผื่นนูนหนา, การนูนหนาแผ่กระจาย [การแพทย์] | Lesions, Iris | ผื่นรูม่านตา [การแพทย์] | Lesions, Target | ผื่นรูปม่านตา [การแพทย์] | Leukoplakia | ลิวโคเพลเคีย; ลิวโคเพลเคีย, โรค; ลิวโคพลาเกีย; ผื่นขาว; ลูวโคเพลเคีย [การแพทย์] | Lupus Erythematosus | ผื่นแดงคัน, ลูปุสอิริเธมาโตซุส, กลุ่มอาการคล้ายโรคคอลลาเจน [การแพทย์] | Lupus Rash, Discoid | ผื่นลูปัส [การแพทย์] | Macular and Papular Stage | ระยะผื่นและตุ่มแดง [การแพทย์] | Macules | ผื่น, รอย, มะคูล [การแพทย์] | Maculopapular | ผื่นนูนแบน [การแพทย์] | Maculopapular Rash | ผื่นแดงๆ, ผื่นแดง, ผื่นนูนแดงๆ [การแพทย์] | Meningococcemia | โรคไข้กาฬหลังแอ่น, ไข้กาฬนกนางแอ่นที่มีผื่นขึ้นทั้งตัว [การแพทย์] | Miliaria | ผด, ผื่นผ้าอ้อม [การแพทย์] | Morbilliform Rash | ผื่นแบบออกหัด [การแพทย์] |
| ผื่น | [pheūn] (n) EN: rash on the skin FR: éruption cutanée [ f ] ; rash [ m ] ; rougeur [ f ] ; exanthème [ m ] |
| | acnitis | ผื่นนูนแบบอักเสบ แล้วเป็นแผลเล็กน้อย | allergy | (แอล' เลอจี) n. โรคภูมิแพ้ (เช่น ไข้ละ-อองฟาง, หอบ, หืด, ภาวะผิวหนังเป็นผื่น) , ความไม่พอใจ -allergic adj. (hypersensitivity) | eczema | (เอค'ซะมะ, อิกซี'มะ) n. กลุ่มของภาวะอักเสบของโรคผิวหนังที่เป็นผื่นแดงโดยเฉพาะ และอาจเป็นตุ่มพุพองตกสะเก็ด คัน แสบ., See also: eczematous adj. ดูeczema | eruption | (อีรัพ'เชิน) n. การแตกออก, การระเบิดออก, การปะทุ, สิ่งที่พุ่งออกมา, การเกิดผื่นผิวหนัง, Syn. outburst | eruptive | (อีรัพ'ทิฟว) adj. ซึ่งแตกออก, ซึ่งระเบิดออก, ซึ่งพุ่งหรือพ่นออกมา, ซึ่งเป็นผื่นผิวหนัง. n. หินที่พุ่งออกมาจากภูเขาไฟ, See also: eruptivity n. ดูeruptive | prickly heat | n. โรคผิวหนังผื่นคัน (เนื่องจากต่อมเหงื่ออักเสบ) | rash | (แรช) adj. หุนหันพลันแล่น, ใจร้อน, ไม่รอบคอบ, ไม่ยั้งคิด, สะเพร่า n. ผื่นบนผิวหนัง (เช่นลมพิษ) , การระบาด, การแพร่หลาย., See also: rashess n., Syn. hasty, impetuous | scarlet fever | n. ไข้อีดำอีแดง มีอาการเจ็บคอ ลิ้นแดงเข้ม ผิวหนังมีผื่นแดง ชีพจรเต้นเร็ว, การบูชาทหาร (ของผู้หญิง) | urticate | (เออ'ทิเคท) vt. ตำ, แทง, แหย่, ทำให้เป็นผื่นคัน, หวด, เฆียน. vi. ทำให้เกิดอาการผื่นคัน | wheal | (วีล) n. แผลไหม้เล็ก ๆ บนผิวหนัง, แผลผื่นคันบนผิวหนัง, รอยเฆี่ยน, รอยโบย, รอยติ, Syn. pimple |
| botch | (vt) ทำลวกๆ, ไม่เรียบร้อย, เป็นผื่น, เป็นตุ่ม | canker | (n) โรคปากเปื่อย, ผื่น | eruption | (n) การปะทุ, การระเบิด, การแตกออก, การพุ, ผื่นพุ | eruptive | (adj) ซึ่งปะทุออกมา, ซึ่งระเบิดออก, ซึ่งแตกออก, ซึ่งเป็นผื่นพุ | inflammation | (n) โรคผื่นคัน, แผลอักเสบ, การติดไฟ | inflammatory | (adj) ไหม้ไฟ, โกรธเป็นไฟ, ตื่นเต้น, เป็นโรคผื่นคัน | rash | (n) ผื่น, การระบาด, ความแพร่หลาย | SCARLET scarlet fever | (n) ไข้ผื่นแดง, ไข้อีดำอีแดง |
| chikungunya | [ชิคุนกุนยา] (n) โรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ทำให้ผู้ป่วยมีอาการไช้สูงฉับพลัน มีผื่นแดงขึ้นตามร่างกายและอาจมีอาการคัน ตาแดง ในผู้ใหญ่จะพบอาการปวดข้อร่วมด้วย | Lichen planus | เป็นสภาพผิวอักเสบที่คันแต่ไม่ติดเชื้อผื่นผิวบนแขนและขา ประกอบด้วยขนาดเล็กหลายด้านแบน-ราด, สีชมพูหรือสีม่วงคล้ำ ผู้เชี่ยวชาญผิวหนังจํานวนมากเชื่อว่ามันอาจจะเป็นโรคภูมิต้านทาน | nappy rash | ผื่นผ้าอ้อม | pruritis | (n) อาการผื่นคัน (จากการเกา) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |