ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ปรองดอง, -ปรองดอง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ปรองดอง | (v) harmonize, See also: be reconciled, be in harmony, compromise, come to terms, be in concord, Syn. ออมชอม, ประนีประนอม, ยอมกัน, ไม่แก่งแย่งกัน, กลมกลืน, สมัครสมาน, ลงรอย, Example: พี่น้องคู่นี้ปรองดองกันดีนะ, Thai Definition: ตกลงกันด้วยความไกล่เกลี่ย, ตกลงกันด้วยไมตรีจิต |
|
| ปรองดอง | (ปฺรอง-) ก. ออมชอม, ประนีประนอม, ยอมกัน, ไม่แก่งแย่งกัน, ตกลงกันด้วยความไกล่เกลี่ย, ตกลงกันด้วยไมตรีจิต. | เกลี่ยไกล่ | ก. พูดจาให้ตกลงกัน, พูดจาให้ปรองดองกัน | แก่งแย่ง | ก. พยายามเอารัดเอาเปรียบกันหรือจะเอาแต่ได้ข้างเดียว, ไม่ปรองดองกัน. | ไกล่เกลี่ย | ก. พูดจาให้ตกลงกัน, พูดจาให้ปรองดองกัน | ง่องแง่ง | ก. ทะเลาะเบาะแว้งกัน, ไม่ปรองดองกัน, เช่น พี่น้องคู่นี้ง่องแง่งกันเสมอ. | ประนอม | ก. อะลุ้มอล่วย, ทำการปรองดอง. | ประนีประนอม | ก. ผ่อนหนักผ่อนเบาให้แก่กัน, ปรองดองกัน, อะลุ้มอล่วยกัน. | รอมชอม | ก. ปรองดองกัน, ประนีประนอมกัน, ตกลงกันด้วยการไกล่เกลี่ย, ลอมชอม หรือ ออมชอม ก็ว่า. | ระหองระแหง | ก. บาดหมางกันเพราะเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ, ไม่ปรองดองกัน, เช่น ผัวเมียระหองระแหงกันอยู่เสมอ. | ลอมชอม | ก. ปรองดองกัน, ประนีประนอมกัน, ตกลงกันด้วยการไกล่เกลี่ย, รอมชอม หรือ ออมชอม ก็ว่า. | ว่าอะไรว่าตามกัน | ก. ปรองดองกัน, ไม่ขัดคอกัน, พูดเต็มว่า ว่าอะไรว่าตามกัน ได้เงินหม้อทองหม้อ หมายความว่า ว่าอะไรว่าตามกัน จะเกิดความเจริญมั่งคั่ง (มักใช้แก่คู่สามีภรรยา). | สามัคคี | น. ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดองกัน. | หันหน้าเข้าหากัน | ก. ปรองดองกัน, สมัครสมานกัน, เช่น ทุกฝ่ายจะต้องหันหน้าเข้าหากัน. | ออมชอม | ก. ปรองดองกัน, ประนีประนอมกัน, ตกลงกันด้วยการไกล่เกลี่ย, รอมชอม หรือ ลอมชอม ก็ว่า. | อะลุ่มอล่วย, อะลุ้มอล่วย | (-อะหฺล่วย) ก. ปรองดองกัน, ผ่อนหนักผ่อนเบาให้แก่กัน. |
| | Bangkok Process | เป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการในระดับรัฐมนตรี เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่างกันอย่างตรงไปตรงมาและสร้างสรรค์เกี่ยวกับแนวทางในการสนับ สนุนกระบวนการสร้างความปรองดองภายในชาติและการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่าตาม ?Roadmap towards Democracy in Myanmar? เดิมเรียกว่า Forum on International Support for National Reconciliation in Myanmar ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Bangkok Process ครั้งแรกเมื่อ 15 ธันวาคม 2546 ที่กระทรวงการต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้แทนพิเศษของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น พม่า สิงคโปร์ และไทย รวมทั้งนาย Razali Ismail เป็นผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติว่าด้วยพม่าเข้าร่วม [การทูต] | concert of nations | ความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต] | national reconciliation | การปรองดองแห่งชาติ หมายถึง กระบวนการสร้างสันติภาพ และเอกภาพภายในชาติ โดยให้กลุ่มต่าง ๆ ที่ขัดแย้งกันได้มีส่วนร่วมในการกระบวนการดังกล่าว [การทูต] | reconciliation | การปรองดองและลดความเป็นศัตรูต่อกัน [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] |
| การปรองดอง | [kān prøngdøng] (n) EN: reconciliation | ความปรองดอง | [khwām prøngdøng] (n) EN: harmony FR: harmonie [ f ] | ปรองดอง | [prøngdøng] (v) EN: harmonize ; be reconciled ; be in harmony ; compromise ; come to terms ; be in concord FR: concilier ; harmoniser |
| congruency | (n) การปรองดองกัน, Syn. correspondence, harmony | fight out | (phrv) ทำให้ปรองดอง, Syn. slug out | disarm | (vt) ทำให้รู้สึกโกรธน้อยลง, See also: ทำให้รู้สึกเป็นปรปักษ์น้อยลง, ทำให้ปรองดอง, Syn. win over, charm | disharmony | (n) การแตกแยก, See also: ความไม่ปรองดองกัน, ความไม่ลงรอยกัน, ความขัดแย้ง, Syn. conflict, discord, clash, Ant. agreement, harmony, concord | disunion | (n) การไม่ปรองดองกัน, See also: การแตกความสามัคคี, การไม่เป็นเอกภาพ | disunite | (vt) ทำให้แตกความสามัคคี, See also: ทำให้ขาดความปรองดอง | harmonize | (vi) ้เข้ากันได้, See also: ปรองดอง, กลมกลืน | harmonize | (vt) ้เข้ากันได้, See also: ปรองดอง, กลมกลืน | harmonize | (vt) ทำให้เข้ากัน, See also: ทำให้ประสานกัน, ทำให้ปรองดองกัน, ทำให้กลมกลืนกัน | harmonize | (vt) ทำให้เข้ากันได้, See also: ทำให้ปรองดอง, ทำให้ประสมกลมกลืน | harmonize | (vi) ประสานกัน, See also: ปรองดองกัน, กลมกลืนกัน | harmonize | (n) ประสานกัน, See also: ปรองดองกัน, กลมกลืนกัน | harmony | (n) ความสามัคคี, See also: ความกลมกลืน, ความปรองดอง, ความตกลงกันได้, ความลงรอยกัน, Syn. concord, concurrence, conformity, Ant. conflict, disagreement, discord | irreconcilable | (adj) ไม่สามารถปรองดองกันได้, See also: ไม่สามารถคืนดีกันได้ | rapport | (n) ความปรองดองกัน, See also: ความสามัคคี, ความเห็นใจ, ไมตรีจิต, Syn. harmony, relationship, understanding | reconcile | (vt) ทำให้ปรองดองกัน, See also: ประนีประนอม, ไกล่เกลี่ย, Syn. conciliate | reconcilement | (n) การทำให้ปรองดองกันอีก, See also: การไกล่เกลี่ย | reconciliation | (n) การทำให้ปรองดองกันอีก, See also: การไกล่เกลี่ยให้, Syn. conciliation, reconcilement, rapprochement | reconcilliatory | (adj) ซึ่งทำให้ปรองดองกันอีก, See also: ซึ่งไกล่เกลี่ยให้ | reconcile with | (phrv) ปรองดอง, See also: ทำให้เข้ากัน, Syn. square with | schism | (n) ความแตกแยก, See also: ความไม่ปรองดองกัน, ความแตกสามัคคี, Syn. cabal, section, split |
| absonant | (แอบ' โซนัน) adj. ไม่ปรองดองกัน | accommodate | (อะคอม' โมเดท) vt. ทำให้เหมาะ, จัดที่ให้อยู่, ทำให้เคย, ปรองดอง, จัดให้, | accommodation | (อะคอมโมเด' เชิน) n. การปรับตัว, การต้อนรับ, การปรองดอง, สิงที่อำนวยความต้องการหรือความสะดวก. -accommodations n. ที่พัก, อาหารและที่พัก, ที่นั่งที่นอนบนรถไฟ, เงินยืม, ความพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่น, Syn. adaptation, convenie | adjust | (อะจัสทฺ') vt. ปรับ, ปรับตัว, จัด, ปรองดอง, Syn. adapt, regulate, harmonize | adjustment | (อะจัสทฺ' เมินทฺ) n. การปรับตัว, การจัด, การปรองดอง, การแก้ไข, ตัวปรับ | atone | (อะโทน') vt., vi. ชดเชย, ไถ่คืน, แก้ไข, ตกลง, ทำให้ปรองดองกัน. -atonable adj. -atoner n., Syn. expiate, repent | bon accord) | n. ความปรองดองซึ่งกันและกัน | conciliate | (คันซิล'ลีเอท) { conciliated, conciliating, conciliates } vt. ไกล่เกลี่ย, ทำให้ปรองดองกัน, ผูกไมตรี, ชนะใจ, ประนีประนอม., See also: conciliation n. ดูconciliate, Syn. appease, placate | conciliator | (คันซิล'ลีเอเทอะ) n. ผู้ไกล่เกลี่ย, ผู้ทำให้ปรองดองกันได้, ผู้ประนีประนอมให้ยอมกัน | concord | (คอน'คอร์ด) n. ความสอดคล้องกัน, การปรองดองกัน, การลงรอยกัน, สัญญา, ข้อตกลง, ความสงบ, มิตรภาพ, เสียงที่กลมกลืนกัน, Syn. accord, agreement, treaty, Ant. discord | eirenicon | n. ข้อเสนอให้ปรองดองกัน | harmonise | (ฮาร์'โมไนซ) vi., vt. (ทำให้) ประสานกัน, ปรองดองกัน, กลมกลืนกัน., See also: harmonizable, harmonisable. harmonization n. harmonizer n. | harmonize | (ฮาร์'โมไนซ) vi., vt. (ทำให้) ประสานกัน, ปรองดองกัน, กลมกลืนกัน., See also: harmonizable, harmonisable. harmonization n. harmonizer n. | reconcilable | (เรค'เคินไซละเบิล) adj. ประนีประนอมกันได้, ปรองดองกันได้, คืนดีกันได้, ไกล่-เกลี่ยได้, See also: reconcilability n reconcilably adv. | reconcile | (เรค'เคินไซลฺ) vt. ประนีประนอม, ไกล่เกลี่ย, ทำให้ปรองดองกัน, ทำให้คืนดีกัน, ทำให้ลงรอยกัน, ทำให้เชื่อมกัน, , See also: reconciler n. reconcilingly adv., Syn. conciliate | tenable | (เทน'นะเบิล) adj. ยึดถือได้, ป้องกันได้, รักษาไว้ได้, ปรองดองกันได้., See also: tenability n. tenableness n. tenably adv. | unite | (ยูไนทฺ') vt. รวมกัน, ร่วมกัน, สามัคคี, สมรสกัน, ปรองดองกัน, สอดคล้องกัน, ทำให้ยึดติดกัน, Syn. merge, combine, merge, associate, ally, join | united | (ยูไน'ทิด) adj. รวมกัน, ร่วมกัน, สามัคคี, ปรองดองกัน, พร้อมเพรียงกัน, สอดคล้องกัน., See also: unitedly adv. |
| conciliate | (vt) ทำให้ปรองดองกัน, ไกล่เกลี่ย, ประนีประนอม | concord | (n) การลงรอยกัน, ความปรองดองกัน, ข้อตกลง, สัญญา | discordant | (adj) ไม่ปรองดองกัน, บาดหมางกัน, ไม่ลงรอยกัน, ไม่สามัคคีกัน | harmonious | (adj) เข้ากัน, กลมกลืนกัน, ประสาน, ลงรอย, ปรองดอง, สามัคคี | harmonize | (vi) เข้ากัน, ประสานกัน, ลงรอยกัน, ปรองดองกัน, สามัคคีกัน | harmony | (n) ความกลมกลืนกัน, การประสาน, ความปรองดอง, ความสามัคคี | irreconcilable | (adj) ปรองดองกันไม่ได้, เข้ากันไม่ได้ | rapport | (n) ความสามัคคี, ความปรองดอง, สายสัมพันธ์, ไมตรีจิต | reconcile | (vt) ทำให้ปรองดอง, ทำให้คืนดี, ไกล่เกลี่ย | tenable | (adj) กันไว้ได้, รักษาไว้ได้, ปรองดองกันได้ | union | (n) การรวมกัน, ความปรองดองกัน, สมาคม, สหภาพ | unite | (vi) รวมกัน, ผูกกัน, สมรสกัน, ปรองดองกัน, สามัคคีกัน |
| 円滑 | [えんかつ, enkatsu] TH: ปรองดอง EN: harmony |
| versöhnen | (vt) |versöhnte, hat versöhnt| คนสองคนหรือฝ่ายสองฝ่ายกลับมาปรองดองกันได้อีกครั้ง, See also: die Versöhnung | Versöhnung | (n) |die| การกลับมาปรองดองหรือ สามัคคีกันอีกครั้ง |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |