reacts | [รี แอ็คส์] ปฏิกิริยาตอบสนองกลับ |
|
| ปฏิกิริยา | (n) reaction, Syn. การตอบรับ, การตอบสนอง, ผลสะท้อน, Example: ชาวบ้านเริ่มมีปฏิกิริยาคัดค้านการปลูกป่าของโครงการ | ปฏิกิริยา | (n) reaction, Syn. แรงโต้ตอบ, การตอบสนอง, การตอบรับ, แรงสะท้อน, ผลสะท้อน, Example: ชาวบ้านเริ่มมีปฏิกิริยาคัดค้านการปลูกป่าของโครงการ | ทำปฏิกิริยา | (v) react | ปฏิกิริยาเคมี | (n) chemical reaction, Example: การทำงานของเซลล์อาศัยปฏิกิริยาเคมีที่ซับซ้อนมากมายหลายอย่าง, Thai Definition: การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารที่ทำปฏิกิริยากัน | เกิดปฏิกิริยา | (v) react, See also: engender, response, Example: โคที่ได้รับการถ่ายเลือดซ้ำในเวลาใกล้ๆ กันจะเกิดปฏิกิริยาต่อต้านขึ้นได้, Thai Definition: มีปฏิกิริยาขึ้น | แสดงปฏิกิริยา | (v) react, See also: respond, reply, answer, Example: จอร์จ ดับเบิลยู บุช แห่งสหรัฐแสดงปฏิกิริยา | ปฏิกิริยาตอบโต้ | (n) respond, See also: react, Syn. ปฏิกิริยาโต้ตอบ, Example: รัฐบาลอินเดียมีปฏิกิริยาตอบโต้การทดลองนิวเคลียร์ของปากีสถานอย่างรุนแรง, Thai Definition: การกระทำโต้กลับไป, การกระทำตอบสนองกลับไป | ปฏิกิริยาลูกโซ่ | (n) chain reaction | ปฏิกิริยาสะท้อน | (n) reaction, See also: response, repercussion, Example: พฤติกรรมส่วนมากในชีวิตประจำวันของเราไม่ใช่ปฏิกิริยาสะท้อน แต่เป็นพฤติกรรมที่เราตั้งใจทำ, Thai Definition: การกระทำที่ย้อนกลับมา | ปฏิกิริยาข้างเคียง | (n) side reaction, Syn. ผลข้างเคียง, Example: หากกินยานี้ติดต่อกันนานเกินไปจะเกิดปฏิกิริยาข้างเคียงจากการใช้ยา, Thai Definition: ผลอื่นๆ ที่เกิดสนองตามหลังมา | ปฏิกิริยาเรือนกระจก | (n) greenhouse effect, Example: นักวิทยาศาสตร์เห็นพ้องกันว่า ปฏิกิริยาเรือนกระจกเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไข |
| ปฏิกิริยา | น. การกระทำตอบสนอง | ปฏิกิริยา | การกระทำต่อต้าน | ปฏิกิริยา | ผลของการกระทำซึ่งเป็นเหตุให้เกิดกิริยาสะท้อนมาเป็นอีกอย่างหนึ่ง | ปฏิกิริยา | การเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร. | กลไก | กระบวนการต่อเนื่องที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยา เช่น กลไกการย่อยอาหาร กลไกของการสร้างอาหารของพืชโดยการสังเคราะห์ด้วยแสง. | ก๊าซ | น. อากาศธาตุ, (วิทยา) สถานะหนึ่งของสสาร รูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ, เรียกไฟซึ่งเกิดจากการจุดอะเซทิลีน ซึ่งได้จากก้อนแคลเซียมคาร์ไบด์ทำปฏิกิริยากับนํ้า ว่า ไฟก๊าซ, แก๊ส ก็ว่า. | ก๊าซเฉื่อย, แก๊สเฉื่อย | น. ธาตุที่เป็นแก๊ส มีสมบัติไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี ได้แก่ ฮีเลียม นีออน อาร์กอน คริปทอน ซีนอน และเรดอน, ปัจจุบันเรียก ก๊าซมีตระกูลหรือแก๊สมีตระกูล (noble gases) ก๊าซหายากหรือแก๊สหายาก (rare gases). | แกล้งดิน | ก. กระบวนการแก้ปัญหาสภาพดินเปรี้ยวตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยใช้กรรมวิธีเร่งปฏิกิริยาเคมีในดิน ทำให้ดินเปรี้ยวอย่างรุนแรงแล้วใช้ระบบชลประทานนำน้ำมาเจือจางดินเปรี้ยวทำสลับไปมา จนเปลี่ยนสภาพดินให้สามารถเพาะปลูกได้. | แก๊ส | น. อากาศธาตุ, (วิทยา) สถานะหนึ่งของสสาร รูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ, เรียกไฟซึ่งเกิดจากการจุดอะเซทิลีน (acetylene) ซึ่งได้จากก้อนแคลเซียมคาร์ไบด์ทำปฏิกิริยากับน้ำว่า ไฟแก๊ส, ก๊าซ ก็ว่า. | เคมี | น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงเรื่องราวและสมบัติของสารต่าง ๆ ว่าประกอบกันขึ้นเป็นสารนั้น ๆ ได้อย่างไร และเมื่อสารนั้น ๆ แปรเปลี่ยนไปเป็นสารอื่นได้ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ เป็นอย่างไร ทั้งกล่าวถึงการที่จะสังเคราะห์สารนั้น ๆ ขึ้นได้อย่างไรด้วย แบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ อีกหลายสาขา เช่น เคมีอินทรีย์ เคมีอนินทรีย์ ชีวเคมี เคมีกายภาพ เคมีวิเคราะห์. | เคลื่อนไหว | แสดงกิริยาหรือปฏิกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักศึกษาเคลื่อนไหวต่อต้านสินค้าต่างประเทศ. | แคลเซียมคาร์ไบด์ | น. ชื่อสารประกอบ มีสูตรเคมี CaC<sub>2</sub> ลักษณะเป็นของแข็งสีเทา เมื่อทำปฏิกิริยากับนํ้าจะได้แก๊สอะเซทิลีนซึ่งจุดไฟติดให้ความสว่าง ใช้เป็นตะเกียงได้. | เฉื่อย ๒ | ว. ไม่เปลี่ยนไปง่ายโดยปฏิกิริยาเคมี, ไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี. | ซีเซียม | น. ธาตุลำดับที่ ๕๕ สัญลักษณ์ Cs เป็นโลหะสีเงิน ไวต่อปฏิกิริยาเคมีมาก หลอมละลายที่ ๒๘.๗ <sup>º</sup>ซ. | ซีเมนต์ | น. วัสดุใช้ในการก่อสร้างชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นผง เมื่อผสมคลุกกับนํ้าแล้วทิ้งไว้จะเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นผลให้เกิดการก่อตัวและแข็งตัวได้ องค์ประกอบเคมีที่สำคัญของซีเมนต์ คือ แคลเซียมซิลิเกต แคลเซียมอะลูมิเนต และแคลเซียมอะลูมิโนเฟอร์ไรต์ ใช้ประโยชน์เพื่อทำคอนกรีต ปูนฉาบ หรือ ปูนก่อเป็นต้น เรียกว่า ปูนซีเมนต์. | เซลล์ ๒ | น. อุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าซึ่งใช้ปฏิกิริยาเคมีในการเปลี่ยนพลังงานในสารเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้าเช่นถ่านไฟฉาย ถ่านกระดุม และส่วนย่อยของแบตเตอรี่, เรียกเต็มว่า เซลล์ไฟฟ้า. | เซลลูลอยด์ | น. สารประกอบประเภทเทอร์โมพลาสติกชนิดหนึ่ง ทำได้จากปฏิกิริยาของเซลลูโลสไนเทรต การบูร และเอทิลแอลกอฮอล์ ลักษณะเป็นของแข็ง ติดไฟง่ายมาก. | ไซ ๒ | น. ชื่องูน้ำจืดขนาดกลางชนิด <i> Enhydris bocourti</i> Jan ในวงศ์ Colubridae หัวป้อมใหญ่ ปลายปากมน คอไม่คอด ลำตัวอ้วนกลมสีน้ำตาลเหลืองหรือน้ำตาลแดง บนหลังมีลายเป็นปล้องใหญ่ หางสั้น มีพิษอ่อนมาก ผู้ถูกกัดมักไม่มีปฏิกิริยาต่อพิษงูชนิดนี้. | ดินกรด | น. ดินที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด, ดินเปรี้ยว ก็เรียก. | ดินเค็ม | น. ดินที่มีปฏิกิริยาเป็นด่าง, ตรงข้ามกับ ดินกรดหรือดินเปรี้ยว. | ตะเกียงแก๊ส | น. ตะเกียงที่ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ทำปฏิกิริยากับนํ้าได้แก๊สอะเซทิลีนซึ่งจุดไฟติดให้ความสว่าง. | ไทเทรต | (-เทฺรด) ก. หยดสารละลายหนึ่งจากหลอดแก้วที่มีขีดบอกปริมาตรซึ่งเรียกว่าบิวเรตต์ลงในสารละลายอื่นซึ่งทราบปริมาตรแล้ว เพื่อให้ทำปฏิกิริยาเคมีกันจนกระทั่งปฏิกิริยาสิ้นสุด. | ไนโตรเจน | น. ธาตุลำดับที่ ๗ สัญลักษณ์ N เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊ส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี มีปรากฏอยู่ประมาณร้อยละ ๘๐ ในบรรยากาศ ธาตุนี้มีความสำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิต โดยเป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนและกรดนิวคลิอิก. | เบส | น. สารเคมีซึ่งทำปฏิกิริยากับกรด แล้วให้ผลเป็นเกลือหรือเกลือกับนํ้าเท่านั้น, สารเคมีที่มีสมบัติรับโปรตอนมาจากสารอื่นได้, สารเคมีที่มีสมบัติจ่ายอิเล็กตรอนคู่หนึ่งให้แก่สารอื่นได้, สารเคมีซึ่งเมื่อละลายนํ้าแล้วให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-), สารละลายที่เปลี่ยนสีลิตมัสสีแดงเป็นสีนํ้าเงินได้. | ปฏิกรณ์ | น. เครื่องที่ใช้สำหรับก่อให้เกิดปฏิกิริยาแตกสลายทางนิวเคลียร์อย่างสมํ่าเสมอและควบคุมได้เพื่อผลิตพลังงาน สารกัมมันตรังสี เครื่องชนิดนี้มีหลายแบบ และใช้เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ซึ่งมักเป็นแท่งยูเรเนียม, มักเรียกว่า เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู. | ปูนซีเมนต์ | น. วัสดุใช้ในการก่อสร้างชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นผง เมื่อผสมคลุกกับนํ้าแล้วทิ้งไว้จะเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นผลให้เกิดการก่อตัวและแข็งตัวได้ องค์ประกอบเคมีที่สำคัญคือ แคลเซียมซิลิเกต แคลเซียมอะลูมิเนต และแคลเซียมอะลูมิโนเฟอร์ไรต์ ใช้ประโยชน์เพื่อทำคอนกรีต ปูนฉาบ หรือ ปูนก่อ. | ผิดกลิ่น | ว. แปลกไปจากกลิ่นที่คุ้นเคยและทำให้เกิดปฏิกิริยา. | ฟลูออรีน | น. ธาตุลำดับที่ ๙ สัญลักษณ์ F เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊สสีเขียวแกมเหลือง มีสมบัติคล้ายคลอรีนแต่ให้ปฏิกิริยาเคมีไวกว่า. | ไฟ | ผลจากปฏิกิริยาเคมีซึ่งก่อให้เกิดความร้อน แสงสว่าง และเปลว คือ กลุ่มแก๊สที่กำลังลุกไหม้ ทำให้ไหม้สิ่งต่าง ๆ ได้ | ภูมิแพ้ | (พูม-) น. สภาพที่ร่างกายมีปฏิกิริยาผิดปรกติต่อสิ่งที่ตามธรรมดาเมื่อเข้าสู่ร่างกายคนทั่ว ๆ ไปแล้วจะไม่มีอันตรายใด ๆ จะมีอันตรายก็เฉพาะในคนบางคนที่แพ้สิ่งนั้นเท่านั้น. | มอลโทส | น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทไดแซ็กคาไรด์ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๖๐ °-๑๖๕ °ซ. องค์ประกอบเป็นกลูโคส ๒ โมเลกุลเชื่อมกัน เกิดขึ้นเนื่องจากเอนไซม์ไดแอสเทส ซึ่งมีในข้าวมอลต์ ทำปฏิกิริยากับแป้ง มีรสหวานน้อยกว่านํ้าตาลทราย. | ยูโรเพียม | น. ธาตุลำดับที่ ๖๓ สัญลักษณ์ Eu เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทา เนื้ออ่อนมาก หลอมละลายที่ ๘๒๖ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปดูดกลืนนิวตรอนเพื่อควบคุมปฏิกิริยานิวเคลียร์ ใช้ประกอบเป็นตัวเรืองแสงในเครื่องรับโทรทัศน์สีเป็นต้น. | ระเบิดปรมาณู | น. ลูกระเบิดที่ให้อำนาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทำให้นิวเคลียสของอะตอมของธาตุยูเรเนียมหรือธาตุพลูโทเนียมแตกสลาย ระเบิดชนิดนี้มีอำนาจทำลายมากยิ่งกว่าระเบิดธรรมดาที่ใช้ดินระเบิด. | ระเบิดไฮโดรเจน | น. ลูกระเบิดที่ให้อำนาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทำให้นิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจนหลอมรวมตัวเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียมซึ่งหนักกว่า ระเบิดชนิดนี้มีอำนาจทำลายยิ่งกว่าระเบิดปรมาณูมาก. | รังสีเหนือม่วง | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๕ x ๑๐–๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗–ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7–dehydrocholesterol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, อัลตราไวโอเลต ก็เรียก. | รีดักชัน | น. ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้สารได้รับธาตุไฮโดรเจนมารวมตัวด้วย, ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้สารสูญเสียธาตุออกซิเจนไป, ปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้อะตอมของธาตุได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น. | รูบิเดียม | น. ธาตุลำดับที่ ๓๗ สัญลักษณ์ Rb เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน สีขาว ไวต่อปฏิกิริยาเคมีอย่างยิ่ง หลอมละลายที่ ๓๘.๙ °ซ. | ละลาย | อาการที่สารอย่างหนึ่งแผ่กระจายในสารอีกอย่างหนึ่งอย่างสมํ่าเสมอโดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีต่อกัน เช่น คาร์บอนละลายในเหล็ก แอลกอฮอล์ละลายในนํ้า แก๊สออกซิเจนละลายในแก๊สไนโตรเจน ผลที่ได้เรียกว่า สารละลาย. | สตรอนเชียม | (สะตฺรอน-) น. ธาตุลำดับที่ ๓๘ สัญลักษณ์ Sr เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน สีเหลืองอ่อน ไวต่อปฏิกิริยาเคมี หลอมละลายที่ ๗๕๒ °ซ. | สนิม ๑ | (สะหฺนิม) น. ส่วนของผิวโลหะที่แปรสภาพไปจากเดิมเนื่องด้วยปฏิกิริยาเคมีเป็นสาเหตุให้เกิดการผุกร่อน เช่น มีดขึ้นสนิม | สมการเคมี | น. สมการที่เขียนขึ้นโดยอาศัยสัญลักษณ์ของธาตุ เพื่อแสดงปฏิกิริยาเคมีและปริมาณของธาตุต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเคมีนั้น ๆ. | สมมูลเคมี | น. จำนวนเลขที่บ่งแสดงนํ้าหนักของสารที่ทำปฏิกิริยาโดยทางตรงหรือทางอ้อมได้พอดีกับ ๑.๐๐๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุไฮโดรเจน หรือกับ ๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุออกซิเจน. | สังเคราะห์ | ก. ทำให้ธาตุมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบ, ทำให้สารประกอบมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบอื่น. | ส่าเหล้า ๑ | น. ส่าที่เติมลงไปเพื่อให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ทำให้มีเอทิลแอลกอฮอล์เกิดขึ้น. | สารประกอบ | น. สารที่เกิดจากธาตุตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี และมีอัตราส่วนผสมคงที่เสมอ. | สารละลาย | น. ของผสมเนื้อเดียวล้วน ซึ่งประกอบด้วยสารต่างชนิดกันตั้งแต่ ๒ สารขึ้นไป แผ่กระจายผสมรวมกันอยู่อย่างสมํ่าเสมอโดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีต่อกัน เช่น ของแข็งละลายในของเหลว ของเหลวละลายในของเหลว ของแข็งละลายในของแข็ง แก๊สละลายในแก๊ส. | เสียงสะท้อน | น. เสียงที่ย้อนกลับมามีลักษณะคล้ายเสียงเดิม เนื่องจากคลื่นเสียงไปกระทบสิ่งขวางกั้นแล้วย้อนกลับ อย่างเสียงในถ้ำในหุบเขาเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงความคิดเห็นของกลุ่มชนที่มีปฏิกิริยาต่อการกระทำบางอย่างของอีกฝ่ายหนึ่ง. | หิ่งห้อย | น. ชื่อแมลงพวกด้วงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Lampyridae ลำตัวเป็นรูปทรงกระบอก ด้านปลายของส่วนท้องมีปล้องทำแสง ๒ ปล้องในเพศผู้ และ ๑ ปล้องในเพศเมีย โดยแสงเกิดจากสารลูซิเฟอรินทำปฏิกิริยากับออกซิเจน ความถี่และช่วงของแสงนั้นแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด บางชนิดตัวเมียไม่มีปีก ที่พบมากตามแหล่งน้ำจืด เช่น ชนิด <i>Luciola aquatilis</i> Thaneharoen ที่พบตามป่าชายเลน เช่น ชนิด <i>Pteroptyx malaccae</i> (Gorham), ทิ้งถ่วง แมลงแสง หรือ แมลงไฟ ก็เรียก. | หินปูน | น. หินที่มีเนื้อสารเป็นแคลเซียมคาร์บอเนตเกือบทั้งสิ้น สารประกอบหินดังกล่าวเกิดจากการตกตะกอนเนื่องจากปฏิกิริยาเคมีก็มี และที่เกิดจากการตกจมรวมตัวเป็นพืดใหญ่ของสัตว์ประเภทมีเปลือกหุ้มตัวเป็นแคลเซียมคาร์บอเนตก็มี. | หินแปร | น. หินที่แปรสภาพจากหินเดิม โดยการกระทำของความร้อน ความดัน และปฏิกิริยาเคมี. |
| product | ๑. ผลิตภัณฑ์, ผลผลิต๒. ผลปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | photoreaction; reaction, photochemical | ปฏิกิริยาจากแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | photochemical reaction; photoreaction | ปฏิกิริยาจากแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rejection | ปฏิกิริยาปฏิเสธสิ่งปลูกถ่าย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | radioreaction | ปฏิกิริยาต่อรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | react | โต้, แสดงปฏิกิริยา, ร่วมปฏิกิริยา, ทำปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | reactionary theory of representation | ทฤษฎีผู้แทนแนวพวกปฏิกิริยา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | reactivity | ความไวปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | reactant | ตัวโต้, สารร่วมปฏิกิริยา, ตัวทำปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | reaction | การโต้, ปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | reaction border; reaction rim | ขอบปฏิกิริยา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | reaction rim; reaction border | ขอบปฏิกิริยา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | reaction, photochemical; photoreaction | ปฏิกิริยาจากแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | reactionary | ปฏิกิริยา, พวกปฏิกิริยา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | reactionary | พวกปฏิกิริยา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | substrate | ๑. ที่ซึ่งสิ่งมีชีวิตขึ้น [ มีความหมายเหมือนกับsubstratum ]๒. สารตั้งต้น [ ในปฏิกิริยาเอนไซม์ ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | oxidation catalytic converter | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์แบบออกซิเดชัน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | abreaction | ปฏิกิริยาปลดเปลื้อง (จิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | biocatalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | catalytic converter | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | catalytic converter | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | dual-bed catalytic converter | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสองส่วน, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สองส่วน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | exothermic reaction | ปฏิกิริยาแบบคายความร้อน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | endothermic reaction | ปฏิกิริยาแบบดูดกลืนความร้อน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | TWC (three-way catalytic converter) | ทีดับเบิลยูซี (เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสามทาง, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สามทาง) [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | TWC (three-way catalytic converter) | ทีดับเบิลยูซี (เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสามทาง, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สามทาง) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | three-way catalytic converter (TWC) | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสามทาง, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สามทาง (ทีดับเบิลยูซี) [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | three-way catalytic converter (TWC) | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสามทาง, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สามทาง (ทีดับเบิลยูซี) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | two-way catalytic converter | เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาสองทาง, แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์สองทาง [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | hydrocarbon reactivity | ความไวปฏิกิริยาไฮโดรคาร์บอน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Polymerase chain reaction | ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Enzyme | เอนไซม์ โปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Catalytic cracking | การแตกตัวด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Photocatalysis | การเร่งปฏิกิริยาด้วยแสง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cobalt catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Copper catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาทองแดง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Platinum catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Palladium catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาแพลเลเดียม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Metallocene catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Metal catalyst | ตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Polymerase chain reaction | ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรส, Example: <p>เทคนิค PCR เป็นเทคนิคที่ทำได้ง่ายในการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในหลอดทดลอง โดยสามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอให้เพียงพอต่อการนำไปศึกษาโดยใช้เวลาไม่กี่ชั่วโมง ปัจจุบันเทคนิค PCR เริ่มจากเตรียมส่วนผสมในหลอดทดลองให้ประกอบไปด้วยส่วนประกอบหลักๆ คือ ดีเอ็นเอตั้งต้น (ดีเอ็นเอ 2 สายจับกัน) ไพรเมอร์ (primer) 2 สาย (ดีเอ็นเอสายเดี่ยวสายสั้นๆ 2 สาย สามารถไปจับปลายของดีเอ็นเอตั้งต้นแต่ละสาย) ดีเอ็นเอโพลีเมอเรส (DNA polymerase เป็นเอนไซม์ที่พบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทำหน้าที่สร้างดีเอ็นเอสายใหม่ต่อจาก primer โดยการคัดลอกจากดีเอ็นเอตั้งต้น) dNTPs (deoxynucleotide triphosphates เป็นหน่วยย่อยของดีเอ็นเอนำไปต่อโดย DNA polymerase เพื่อสร้างดีเอ็นเอสายใหม่) หลังจากนั้นนำส่วนผสมไปควบคุมอุณหภูมิและเวลาเป็นรอบๆ โดยใช้เครื่องควบคุมอัตโนมัติ โดยแต่ละรอบเริ่มจากควบคุมอุณหภูมิและเวลาให้ดีเอ็นเอ 2 สายที่จับกันแยกออกจากกันเป็นดีเอ็นเอสายเดี่ยว 2 สาย แล้วควบคุมอุณหภูมิและเวลาให้ primer แต่ละสายจับกับดีเอ็นเอสายเดี่ยว แล้วควบคุมอุณหภูมิและเวลาอีกครั้งให้ DNA polymerase สร้างดีเอ็นเอสายใหม่ต่อจาก primer ดังนั้นเมื่อผ่านรอบแรกดีเอ็นเอเพิ่มขึ้น 2 เท่า และเมื่อเข้ารอบสองดีเอ็นเอที่เพิ่มขึ้น 2 เท่าในรอบแรกจะกลายเป็นดีเอ็นเอตั้งต้นของรอบสอง ทำให้เมื่อควบคุมอุณหภูมิและเวลาหลายๆ รอบดีเอ็นเอจะเพิ่มขึ้น 2 ยกกำลัง n เท่า เมื่อ n คือ จำนวนรอบ เนื่องจากใช้เวลาเพียงไม่กี่นาทีในแต่ละรอบ ทำให้เมื่อผ่านไปเป็นชั่วโมง ดีเอ็นเอจะเพิ่มขึ้นมากมายเพียงพอต่อการนำไปศึกษา <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> 1. สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. "เอนไซม์ที่ใช้ในการโคลนยีน" ในพันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. หน้า 42-65. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545. <br>2. Promega. PCR Amplification. Retrieved May 24, 2012. from http://www.promega.com/resources/product-guides-and-selectors/protocols-and-applications-guide/pcr-amplification/ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Inert Gas | ก๊าซซึ่งไม่มีปฏิกิริยาทางเคมีกับสารอื่น , ก๊าซซึ่งไม่มีปฏิกิริยาทางเคมีกับสารอื่น ได้แก่ ก๊าซ Helium, Neon, Argon, Krypton, Xenon, Radon [ปิโตรเลี่ยม] | Fission effect | ปฏิกิริยาฟิชชั่น, Example: ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดจากการใช้อนุภาคนิวตรอนหรืออนุภาคอื่น ยิงเข้าไปที่นิวเคลียสของธาตุหนัก แล้วทำให้นิวเคลียสแตกตัวเป็นนิวเคลียสใหม่ 2 นิวเคลียส ที่มีมวลใกล้เคียงกัน และมีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อ นิวคลีออนสูงกว่านิวเคลียสเดิม ขบวนการฟิชชั่นที่เกิดขึ้นนี้ จะมีนิวตรอนอิสระเกิดขึ้นด้วย นิวตรอนอิสระนี้จะไปชนนิวตรอนอื่นของ ธาตุ เช่น ยูเรเนียม ก็จะเกิดฟิชชั่นต่อไปอีก เรียกว่า "ปฏิกิริยาลูกโซ่" ซึ่งต่อเนื่องกันไปไม่หยุดยั้ง และจะเกิดพลังงานมหาศาล แนวความคิดนี้ถูกนำไปใช้ในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Fusion effect | ปฏิกิริยาฟิวชั่น, Example: ปฏิกิริยาหลอมตัวของนิวเคลียสและมีพลังงานคายออกมาด้วย นิวเคลียสที่ใช้หลอดจะต้องเป็นนิวเคลียสเล็กๆ (A<20) หลอมรวมกลายเป็นนิวเคลียสเบาที่ใหญ่กว่าเดิม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Annihilation | ประลัย, ปฏิกิริยาระหว่างอนุภาคกับปฏิยานุภาคของอนุภาคนั้นๆ แล้วอนุภาคทั้งสองหายไปกลายเป็นรังสีแกมมาพลังงานเท่ากันเคลื่อนที่ออกไปในทิศทางตรงข้ามกัน เช่นการรวมตัวของอิเล็กตรอนกับโพซิตรอน ได้รังสีแกมมาพลังงานรวม 1.02 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (ดู Antimatter ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] | Atomic bomb | ลูกระเบิดอะตอม, ลูกระเบิดที่แรงระเบิดเกิดจากปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียสของธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม-235 หรือ พลูโทเนียม-239 ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว (ดู Fission ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Atomic weapon | อาวุธอะตอม, อาวุธระเบิดซึ่งพลังงานเกิดจากปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส (ดู nuclear weapon ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Barn, b | บาร์น, หน่วยพื้นที่ภาคตัดขวางของอะตอม นิวเคลียส อิเล็กตรอน และอนุภาคอื่นๆ ที่แสดงโอกาสในการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1 บาร์น มีค่าเท่ากับ 10–24 ตารางเซนติเมตร (ดู cross section ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Breeder reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ผลิตเชื้อเพลิง, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ผลิตวัสดุฟิสไซล์ขึ้นในแบล็งเคต โดยนิวตรอนเข้าไปทำปฏิกิริยากับวัสดุเฟอร์ไทล์บางส่วนทำให้กลายเป็นวัสดุฟิสไซล์, Example: [นิวเคลียร์] | Burnable poison | สารพอยซันเสื่อมสภาพได้, สารดูดกลืนนิวตรอน เช่น โบรอน ที่ผสมไว้ในแท่งเชื้อเพลิงหรือเปลือกแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์เพื่อลดการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ในระยะแรก ซึ่งมีปริมาณเชื้อเพลิงมาก หลังจากใช้งานไประยะหนึ่งจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสารที่ไม่ดูดกลืนนิวตรอน เป็นการชดเชยผลจากเชื้อเพลิงที่ถูกใช้ไป และการสะสมตัวของผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสที่ดูดกลืนนิวตรอนที่เกิดขึ้นในเชื้อเพลิง ทำให้อายุการใช้งานของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ยาวนานขึ้น [นิวเคลียร์] | Chain reaction, Fission | ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส, ปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสที่สามารถเกิดขึ้นซ้ำๆ ได้เอง โดยนิวเคลียสจะดูดกลืนนิวตรอนแล้วเกิดการแบ่งแยกของนิวเคลียสขึ้น พร้อมกับปลดปล่อยนิวตรอนใหม่เพิ่มขึ้นออกมา ซึ่งจะถูกนิวเคลียสอื่นๆ ดูดกลืนต่อไปอีก และทำให้เกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสต่อเนื่องไปเรื่อยๆ (ดู nuclear fission ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Chemical shim | สารเคมีเสริมการควบคุม, สารเคมี เช่น กรดบอริก ที่เติมเข้าไปในตัวทำให้เย็นของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อเสริมการทำงานของแท่งควบคุมปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียส โดยการดูดกลืนนิวตรอน, Example: [นิวเคลียร์] | Control rod | แท่งควบคุม, อุปกรณ์ควบคุมกำลังของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์มีลักษณะเป็นแท่ง แผ่น หรือท่อ ประกอบด้วยสารดูดกลืนนิวตรอน เช่น แฮฟเนียม โบรอน อุปกรณ์นี้อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และสามารถปรับการเคลื่อนที่เข้าหรือออกเพื่อลดหรือเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์, Example: [นิวเคลียร์] | Core | แกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, บริเวณส่วนกลางเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ ประกอบด้วย เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ แท่งควบคุม สารหน่วงนิวตรอน และโครงสร้างที่รองรับอุปกรณ์ต่างๆ [นิวเคลียร์] | Critical mass | มวลวิกฤต, มวลน้อยที่สุดของวัสดุที่เกิดการแบ่งแยกนิวเคลียสได้ ซึ่งเพียงพอต่อการเกิดและสืบเนื่องของปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส (ดู fissionable material ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Criticality | ภาวะวิกฤต, ภาวะที่ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียสสามารถสืบเนื่องอยู่ได้ โดยอัตราการเกิดนิวตรอนจากปฏิกิริยาเท่ากับอัตราการสูญเสียนิวตรอน [นิวเคลียร์] | Delayed neutrons | ดีเลย์นิวตรอน, นิวตรอนที่ถูกปล่อยออกมาจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสในช่วงเวลาหลายวินาทีหรือหลายนาทีภายหลังการเกิดปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส ดีเลย์นิวตรอนที่เกิดขึ้นนี้มีไม่เกินร้อยละ 1 ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการออกแบบและควบคุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (ดู prompt neutrons ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Transmutation | การแปรธาตุ, การเปลี่ยนจากธาตุหนึ่งเป็นอีกธาตุหนึ่ง โดยการเปลี่ยนจำนวนโปรตอนภายในนิวเคลียสของอะตอมด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ เช่น การแปรธาตุโคบอลต์-60 เป็นนิกเกิล-60 [นิวเคลียร์] | Thermonuclear reaction | ปฎิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์, ปฏิกิริยาการหลอมตัวของนิวเคลียสเบาภายใต้อุณหภูมิสูงมาก ไปเป็นนิวเคลียสของอะตอมที่หนักกว่า และปลดปล่อยพลังงานออกมา [นิวเคลียร์] | Supercritical mass | มวลเหนือวิกฤต, มวลของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ทำให้ตัวประกอบพหุคูณยังผลมีค่ามากกว่า 1 ซึ่งจะทำให้ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียสเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ (ดู critical mass และ effective multiplication factor ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] | Subcritical mass | มวลใต้วิกฤต, มวลของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ซึ่งมีปริมาณไม่เพียงพอ หรือการจัดเรียงอยู่ในรูปแบบที่ไม่เหมาะสมต่อการคงไว้ซึ่งปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส (ดู critical mass ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] | Spallation Neutron Source | ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชัน, เครื่องผลิตนิวตรอนชนิดหนึ่ง โดยการเร่งโปรตอนพลังงานสูงกว่า 100 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ เข้าชนเป้าซึ่งเป็นธาตุหนัก เช่น แทนทาลัม ทังสเตน หรือ ยูเรเนียม ทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่มีการปลดปล่อยนิวตรอนพลังงานเฉลี่ย 1 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชันเครื่องแรกมีชื่อว่า KENS ตั้งอยู่ที่สถาบัน KEK (Ko Enerugi Kenkyujo) ประเทศญี่ปุ่น เริ่มใช้งานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2523 [นิวเคลียร์] | Radiolytic product | ผลผลิตการแยกสลายด้วยรังสี, สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีสารใดๆ เช่น การฉายรังสีอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และ เกิดการแยกสลาย ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียรและทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหารได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง [นิวเคลียร์] | Radioimmunoassay | อาร์ไอเอ, เทคนิคการหาปริมาณสารต่างๆ ในสิ่งส่งตรวจ เช่น เลือด ปัสสาวะ โดยใช้สารประกอบติดฉลากรังสีเป็นตัวติดตามผลของปฏิกิริยาจำเพาะระหว่างสารก่อภูมิต้านทาน(antigen) และสารภูมิต้านทาน(antibody) [นิวเคลียร์] | Radiobiology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] | Radiation biology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] | Prompt radiation | รังสีพรอมต์, รังสีที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันในตอนเริ่มต้นของกระบวนการแบ่งแยกนิวเคลียสหรือหลอมนิวเคลียส โดยไม่รวมรังสีที่เกิดจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียส และจากปฏิกิริยาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในภายหลัง [นิวเคลียร์] | Prompt neutrons | พรอมต์นิวตรอน, นิวตรอนที่ถูกปล่อยออกมาทันทีเมื่อเกิดการแบ่งแยกนิวเคลียส นิวตรอนที่เกิดจากปฏิกิริยานี้มากกว่าร้อยละ 99 เป็นพรอมต์นิวตรอน (ดู delayed neutrons ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Prompt criticality | ภาวะวิกฤตพรอมต์, สถานะของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ปฏิกิริยาลูกโซ่ของการแบ่งแยกนิวเคลียสสามารถคงอยู่ต่อไปโดยพรอมต์นิวตรอนเท่านั้น, Example: [นิวเคลียร์] | Poison | สารพอยซัน(ต่อปฏิกิริยานิวเคลียร์), วัสดุใดๆ ที่มีภาคตัดขวางการดูดกลืนนิวตรอนสูง ซึ่งจะดูดกลืนนิวตรอนบางส่วนจากปฏิกิริยาลูกโซ่การแบ่งแยกนิวเคลียสในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลให้การเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ลดลง [นิวเคลียร์] | Plutonium | พลูโทเนียม, ธาตุหนักที่เป็นโลหะและเป็นธาตุกัมมันตรังสี มีเลขเชิงอะตอมเท่ากับ 94 ซึ่งมนุษย์ผลิตขึ้นจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไอโซโทปสำคัญ คือ พลูโทเนียม-239 มีครึ่งชีวิต 24, 000 ปีสามารถแบ่งแยกนิวเคลียสได้ จึงใช้เป็นเชื้อเพลิงเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์หรือทำอาวุธนิวเคลียร์ [นิวเคลียร์] | Nuclear transformation | การแปลงนิวเคลียส, การเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของธาตุด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ เช่น การแปรธาตุยูเรเนียม-238 เป็นพลูโทเนียม-239 โดยการก่อกัมมันตภาพรังสีด้วยนิวตรอน <br>(ดู transmutation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Nuclear safety | ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์, มาตรการสำหรับป้องกันหรือลดอุบัติเหตุที่จะเกิดจากสถานปฏิบัติการ หรือกิจกรรมที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ รวมทั้งมาตรการบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้นแก่ผู้ปฏิบัติงาน ประชาชน และสิ่งแวดล้อม ภายหลังเกิดอุบัติเหตุ, Example: [นิวเคลียร์] | Nuclear reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, อุปกรณ์สำหรับให้ปฏิกิริยาลูกโซ่การแบ่งแยกนิวเคลียสเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและสามารถควบคุมได้ ใช้สำหรับผลิตนิวตรอน หรือพลังงานความร้อน มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ แกนปฏิกรณ์ ซึ่งบรรจุเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ สารหน่วงความเร็วนิวตรอน สารสะท้อนนิวตรอน สารหล่อเย็น วัสดุกำบังรังสี และระบบควบคุม <br>บางครั้งเรียกว่า เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู (atomic reactor)</br> [นิวเคลียร์] | Nuclear reactions | ปฏิกิริยานิวเคลียร์, ปฏิกิริยาที่เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอม เช่น ฟิชชัน ฟิวชัน การจับยึดนิวตรอน หรือ การสลายกัมมันตรังสี ซึ่งแตกต่างกับปฏิกิริยาเคมี ที่จำกัดอยู่เพียงการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ นิวเคลียส [นิวเคลียร์] | Nuclear power plant | โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์, โรงไฟฟ้านิวเคลียร์, โรงไฟฟ้าพลังความร้อนรูปแบบหนึ่งที่ใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์จากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์เป็นแหล่งผลิตความร้อน และถ่ายเทความร้อนให้กับน้ำ จนเดือดเป็นไอร้อนไปหมุนกังหันไอน้ำซึ่งจะขับเคลื่อนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ให้ผลิตไฟฟ้าออกมาเช่นเดียวกับโรงไฟฟ้าพลังความร้อนทั่วไป, Example: [นิวเคลียร์] | Nuclear bomb | ลูกระเบิดนิวเคลียร์, ลูกระเบิดที่แรงระเบิดเกิดจากปฏิกิริยาการหลอมนิวเคลียสของธาตุเบา เช่น ลูกระเบิดไฮโดรเจน หรือจากการแบ่งแยกนิวเคลียสของธาตุหนัก เช่น ลูกระเบิดอะตอม, Example: [นิวเคลียร์] | Neutron generator | เครื่องกำเนิดนิวตรอน, เครื่องเร่งอนุภาคชนิดหนึ่งที่ใช้ในการผลิตนิวตรอน โดยการเร่งอนุภาคที่มีประจุ เช่น ดิวเทอรอน ให้มีพลังงานระหว่าง 150-500 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ แล้วปล่อยให้ชนกับเป้าบางๆ ที่เหมาะสม ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นจะให้นิวตรอนที่มีพลังงานได้ถึง 17.59 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์, Example: [นิวเคลียร์] | Neutrino | นิวทริโน, อนุภาคมูลฐานที่มีมวลน้อยมาก ไม่มีประจุไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูง และมีปฏิสัมพันธ์กับสสารน้อย ทำให้ตรวจหาได้ยาก พบได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์หลายชนิด เช่น การสลายแบบให้อนุภาคบีตา รวมทั้งอนุภาคจากดวงอาทิตย์ที่ผ่านมายังโลก, Example: [นิวเคลียร์] | Moderator | ตัวหน่วงความเร็ว(นิวตรอน), วัสดุที่ใช้ลดความเร็วของนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ทำให้โอกาสของการเกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสเพิ่มขึ้น เช่น น้ำ น้ำมวลหนัก และแกรไฟต์ <br>(ดู reflector, absorber และ thermal neutron ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
| So, how'd your mom react when you told her about the wedding? | แล้วแม่ของคุณมีปฏิกิริยายังไง ตอนที่คุณบอกเรื่องงานแต่งงานของเรา The Joy Luck Club (1993) | Interesting reaction! But what does it mean? | มีปฏิกิริยาตอบสนองที่น่าสนใจ แต่ความหมายของมันอีกอะไรหละ? The Nightmare Before Christmas (1993) | If they shoot it off at some of those apes, it could set off a chain reaction in the whole atmosphere. | มันจะใช้รับมือพวกวานร จะทําให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ ทั่วบรรยากาศ Beneath the Planet of the Apes (1970) | -That will be his first reaction, sure. | - ที่จะมีปฏิกิริยาแรกของเขานั่นเอง The Godfather (1972) | Has anybody considered his reaction? | มีใครพิจารณาปฏิกิริยาของเขา? 2010: The Year We Make Contact (1984) | It's the toxins in the river, they do strange things to your brain! | ในน้ำต้องมีสารพิษแน่ๆเลย มันจะทำปฏิกิริยากับสมองของเรา Mannequin: On the Move (1991) | I just want you to know, the reason I never looked you up was because well, I was afraid that you'd react just, well, like the way you're reacting now. | ฉันอยากให้เธอรู้ว่า เหตุผลที่ฉันไม่เคยตามหาเธอ เพราะว่า ฉันกลัวว่าเธอจะมีปฏิกิริยา เหมือนที่เธอมีอยู่ตอนนี้ The One with the Jellyfish (1997) | Your cells react to bacteria and viruses differently than mine. | ร่างกายคณมีปฏิกิริยาต่อเชื้อโรค ต่างจากผม Unbreakable (2000) | But for some reason, you and I react the exact same way to water. | แต่ด้วยเหตุผลบางอย่าง คุณกับผมมีปฏิกิริยาต่อน้ำเหมือนกัน Unbreakable (2000) | But the Ether Lily talks about is a catalyst for emotion. | คือตัวเร่งปฏิกิริยาทางอารมณ์ All About Lily Chou-Chou (2001) | Perhaps it interacted with the remains of the dead in the area to reproduce the physical forms of the dead. | และมันอาจจะมีปฏิกิริยากับซากของผู้ตาย เลยทำให้คนที่ตายไปแล้วฟื้นคืนชีพ Yomigaeri (2002) | It is interesting reading your reactions. | ปฏิกิริยาของคุณน่าสนใจมาก The Matrix Reloaded (2003) | Already I can see the chain reaction, the chemical precursors that signal the onset of an emotion designed specifically to overwhelm logic and reason. | ผมเห็นปฏิกิริยาลูกโซ่ สารคเมีในร่างกายส่งสัญญาณออกมา การครอบงำของอารมณ์ให้มีชัยชนะเหนือเหตุและผล The Matrix Reloaded (2003) | A tactic a reaction to a certain market at this point. | เป็นปฏิกิริยาเพื่อตอบสนองต่อตลาดบางส่วนในตอนนี้ The Corporation (2003) | And I think you may have overestimated their affection for you. | และฉันคิดว่าคุณประเมินปฏิกิริยาตอบสนองของพวกท่านไว้สูงไปสำหรับคุณ The Notebook (2004) | If you're feeling overwhelmed, take one, but call me so that I can just monitor your reaction. | ถ้าคุณรู้สึกทนไม่ไหวจริงๆ ให้ทานยา 1 เม็ด แต่โทรหาผม ให้ผมรู้ว่าปฏิกิริยาของคุณเป็นยังไงบ้าง Mr. Monk Takes His Medicine (2004) | You are having a terrible reaction to this medicine. | คุณมีปฏิกิริยาผลกระทบข้างเคียงเลวร้ายมาก กับยาตัวนี้ Mr. Monk Takes His Medicine (2004) | Just reflexes. Don't worry. | ปฏิกิริยาตอบกลับอัตโนมัติ ไม่ต้องห่วง The Cave (2005) | - I know. I get that reaction a lot. | ฉันรู้ว่า ฉันจะได้รับปฏิกิริยามากว่า Cars (2006) | Professor Langdon, do not react to this message. | โปรเฟสเซอร์แลงดอน อย่าแสดงปฏิกิริยาใดๆกับข้อความนี้ The Da Vinci Code (2006) | No, he's not. It's a cardiac reflex thing. | ไม่ เขาไม่หายใจ นี่คือปฏิกิริยาตอบสนองของคนเป็นโรคหัวใจ Just My Luck (2006) | It reacts to everything. | มันทำปฏิกิริยากับทุกสิ่ง Peaceful Warrior (2006) | And one question we as a people need to decide is how we react when we hear warnings from the Ieading scientists in the world. | คำถามหนึ่งที่เราในฐานะประชาชนจะต้องตัดสินใจ คือเรามีปฏิกิริยาอย่างไรเมื่อเราได้ยินเสียงเตือน จากนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก An Inconvenient Truth (2006) | And not reacting. | และไม่มีปฏิกิริยาใดๆ An Inconvenient Truth (2006) | Since that, there's no new action by the Second Kira. | ตั้งแต่ตอนนั้น ยังไม่มีปฏิกิริยาจากคิระที่ 2 Death Note: The Last Name (2006) | Still nothing. | ไม่มีปฏิกิริยาคะ In My Time of Dying (2006) | My body reacted instinctively. | ร่างกายของฉันก็เกิดปฏิกิริยา ตามสัญชาตญาณ Boys Over Flowers (2005) | It's what we call the Reid effect. | นั่นคือสิ่งที่เราเรียกว่าปฏิกิริยา รีด Extreme Aggressor (2005) | So? That's hypoglycemic. | ร่างกายของคุณมีปฏิกิริยาต่ออินซูลิน เหมือนคุณไม่ได้เป็นเบาหวาน Pilot (2005) | That's a normal reaction. | นั่นเป็นปฏิกิริยาปกติค่ะ Smile Again (2006) | This isn't exactly the reaction i was looking for. | ไม่คิดว่าจะเจอปฏิกิริยาแบบนี้ See-Through (2007) | ...resulted in a maverick enzyme... of the kind which induces... defective biochemical reaction and causes brain damage. | ส่งผลให้เอนไซม์ที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ชนิดที่ก่อให้เกิดการ ปฏิกิริยาทางชีวเคมีข้อบกพร่อง และทำให้เกิดความเสียหายสมอง Sex Trek: Charly XXX (2007) | The truth is, we sometimes don't know how you youngsters are gonna react to these medications. | ความจริงก็คือ บางครั้งเราก็ไม่รู้ ว่าคนหนุ่มสาวจะมีปฏิกิริยายังไง กับการรักษาด้วยยา Charlie Bartlett (2007) | What a save that was. Reflexes from Lehmann, a close-in volley from Munez. | สุดยอดครับเลห์มัน ปฏิกิริยาตอบสนองไวจริงๆ ปัดลูกที่มูเนซยิงไว้ได้ Goal II: Living the Dream (2007) | Extreme reaction to UV exposure... | มีปฏิกิริยารุงแรงเมื่อโดนแสง UV I Am Legend (2007) | In Japan, some suggest the solidification of the bay was due to underwater volcanic activity though no such activity has been reported in the area. | ในญี่ปุ่น บางคนแนะนำว่า การแข็งตัวที่อ่าว ขึ้นอยู่กับ ปฏิกิริยาภูเขาไฟใต้น้ำ ถึงกระนั้นก็ไม่มี การรายงานเกิดขึ้นในพื้นที่นี้ Fantastic 4: Rise of the Silver Surfer (2007) | It really wasn't the most appropriate reaction. | เป็น เรื่อง ไม่ ได้ /ปฏิกิริยา ที่ เหมาะสม ที่สุด. Funny Games (2007) | Making it a conscious choice, using it, that's what makes you more than a poodle. | ใช่, และคุณ? ไม่ ตอนนี้, พลังอำนาจของนายเพียงแต่ แสดงออกมาเหมือนปฏิกิริยาโต้ตอบ Chapter Fourteen 'Distractions' (2007) | (GRUNTS) | ชายที่อยู่ข้างล่างสามารถสร้างปฏิกิริยาลูกโซ่, Chapter Seventeen 'Company Man' (2007) | The anaphylaxis was a reaction to shellfish. | อาการภูมิแพ้โปรตีนแปลกปลอมเป็นปฏิกิริยาตอบสนองจาก อาหารทะเลครับ Ending Happy (2007) | You know, with, like, a delayed reaction or something? | คุณก็รู้ อย่างเช่น มันค่อยๆเกิดปฏิกิริยาบางอย่างใช่ไหม Cat's in the Bag... (2008) | Chemical reactions involve change on two levels: | ปฏิกิริยาทางเคมีที่เกี่ยวข้อง กับการเปลี่ยนแปลงในสองระดับ Crazy Handful of Nothin' (2008) | When a reaction is gradual, the change in energy is slight. | เมื่อเกิดปฏิกิริยาทีละน้อยๆ เปลี่ยนแปลงในพลังงานที่เล็กน้อย Crazy Handful of Nothin' (2008) | I mean, you don't even notice the reaction is happening. | ครูหมายถึง นักเรียนไม่ทันสังเกตเห็น ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น Crazy Handful of Nothin' (2008) | But if a reaction happens quickly otherwise harmless substances can interact in a way that generates enormous bursts of energy. | แต่ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ไม่เช่นนั้นสารที่เป็นอันตราย มีปฏิกิริยาต่อกันในทางที่ ก่อให้เกิดแรงระเบิดมหาศาลของพลังงาน Crazy Handful of Nothin' (2008) | Who can give me an example of rapid chemical reaction? | ใครยกตัวอย่างของการเกิดปฏิกิริยาทางเคมี อย่างรวดเร็วให้ครูฟังได้บ้าง Crazy Handful of Nothin' (2008) | Explosions are the result of chemical reactions happening almost instantaneously. | การระเบิดเป็นผลมาจากเกิดปฏิกิริยาทางเคมี ที่เกิดขึ้นในทันที Crazy Handful of Nothin' (2008) | And the faster reactants, i. e. Explosives... | และเกิดปฏิกิริยาเร็วมาก อย่างเช่น วัตถุระเบิด Crazy Handful of Nothin' (2008) | Some kind of catalyst. | เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาบางอย่าง Chapter Twelve 'Our Father' (2008) |
| การมีปฏิกิริยารุนแรงเกินไป | [kān mī patikiriyā runraēng koēnpai] (n, exp) EN: overreaction | การมีปฏิกิริยาต่อกัน | [kān mī patikiriyā tø kan] (n, exp) EN: interaction | การมีปฏิกิริยาโต้ตอบแรงเกินไป | [kān mī patikiriyā tōtøp raēng koēnpai] (n, exp) EN: overreaction | ปฏิกิริยา | [patikiriyā] (n) EN: reaction ; response FR: réaction [ f ] ; réponse [ f ] ; répercussion [ f ] | ปฏิกิริยาข้างเคียง | [patikiriyā khāngkhīeng] (n, exp) EN: side reaction | ปฏิกิริยาเคมี | [patikiriyā khēmī] (n, exp) EN: chemical reaction FR: réaction chimique [ f ] | ปฏิกิริยาลูกโซ่ | [patikiriyā lūksō] (n, exp) EN: chain reaction FR: réaction en chaîne [ f ] | ปฏิกิริยานานาชาติ | [patikiriyā nānāchāt] (n, exp) EN: international response FR: réponse internationale [ f ] | ปฏิกิริยานิวเคลียร์ | [patikiriyā niūkhlīa] (n, exp) EN: nuclear reaction FR: réaction nucléaire [ f ] | ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน | [patikiriyā niūkhlīa fitchan] (n, exp) FR: fission nucléaire [ f ] | ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน | [patikiriyā niūkhlīa fiūchan] (n, exp) FR: fusion nucléaire [ f ] | ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ทำให้เกิดการระเบิด | [patikiriyā niūkhlīa thī tham hai koēt kān raboēt] (xp) EN: nuclear explosion FR: explosion nucléaire [ f ] | ปฏิกิริยาเรือนกระจก | [patikiriyā reūoen krajok] (n, exp) EN: greenhouse effect | ปฏิกิริยาสะท้อน | [patikiriyā sathøn] (n, exp) EN: reaction ; response ; repercussion FR: réaction [ f ] | ปฏิกิริยาตอบโต้ | [patikiriyā tøptō] (n, exp) EN: respond ; react | แสดงปฏิกิริยา | [sadaēng patikiriyā] (v, exp) EN: react ; respond ; reply ; answer FR: réagir ; répondre | สันดานปฏิกิริยา | [sandān patikiriyā] (n, exp) EN: reactionary nature FR: tendance réactionnaire [ f ] |
| fuel cell | (n) เซลกำเนิดไฟฟ้า โดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี ระหว่างออกซิเจน กับ ไฮโดรเจน ซึ่งเมื่อรวมตัวกันแล้วจะได้น้ำ และพลังงานออกมา คาดกันว่าจะนำมาใช้อย่างแพร่หลาย สำหรับเป็นแหล่งพลังงานของรถยนต์ไฟฟ้า และเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้ว หรืออุปกรณ์อิเลคโทรนิกส์ต่างๆ โดยสามารถเติมพลังงานในรูปแบบของการเติมไฮโดรเจนที่ปั้ม หรือซื้อไฮโดรเจนกระป๋องสำหรับอุปกรณ์นั้นๆมาเปลี่ยน (สิงหาคม 2546) | oxidizing agent | (n) ตัวเติมออกซิเจน(ในปฺฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง), สารในปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ได้รับอิเล็กตรอนและตัวมันเองมีเลขออกซิเดชันลดลง, See also: A. reducing agent | reducing agent | (n) ตัวลดออกซิเจน(ในปฺฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง), สารในปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ให้อิเล็กตรอนและตัวมันเองมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น, See also: A. oxidizing agent | exergonic reaction | (n) ปฏิกิริยาทางเคมีที่ปล่อยพลังงาน, ปฏิกิริยาคายพลังงาน, Syn. exothermic reaction |
| actinism | (n) ปฏิกิริยาของแสงอาทิตย์ | actinology | (n) วิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวกับรังสีของแสงและปฏิกิริยาของแสง | answer to | (phrv) สนองตอบ, See also: ตอบสนองต่อ, มีปฏิกิริยาตอบ | backlash | (n) การสะท้อนกลับอย่างรุนแรง, See also: การกระตุก, ปฏิกิริยารุนแรงฉับพลัน, Syn. backfire | backlash | (n) ปฏิกิริยาที่รุนแรงและไม่เอื้อประโยชน์ (ทางด้านการพัฒนาของสังคมและการเมือง), Syn. revolt | catalysis | (n) การเพิ่มปฏิกิริยาทางเคมี, See also: การเร่งปฏิกิริยาเคมี | chain reaction | (n) ปฏิกิริยาลูกโซ่ | electrodynamics | (n) การศึกษาว่าปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและพลังแม่เหล็กไฟฟ้า (ทางฟิสิกส์), See also: อิเล็กโทรไดนามิกส์, พลศาสตร์ไฟฟ้า | ester | (n) สารประกอบอินทรีย์เกิดจากปฏิกิริยาของกรดกับอัลกอฮอล์, See also: สารเอสเตอร์ | induce in | (phrv) เร่งให้เกิดปฏิกิริยาใน | interact with | (phrv) มีปฏิกิริยากับ, See also: มีผลกับ, เกิดผลกับ | galvanism | (n) ไฟฟ้าซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาเคมี, Syn. voltaism | interact | (vi) มีปฏิกิริยาต่อกัน, See also: มีผลกระทบต่อกัน, Syn. coact, socialize | interaction | (n) ปฏิกิริยา, See also: การมีปฏิสัมพันธ์, การสื่อสารระหว่างกัน, การทำงานร่วมกัน, Syn. collaboration, interplay, synergy | interplay | (n) การมีปฏิกิริยาต่อกันและกัน, See also: การมีผลกระทบซึ่งกันและกัน, Syn. interaction | knee jerk | (n) ปฏิกิริยาการเตะขาที่เกิดจากการเคาะถูกเส้นเอ็นที่หัวเข่า | overreact | (vi) มีปฏิกิริยารุนแรงเกินไป, Syn. exaggerate, overcompensate | overreaction | (n) การมีปฏิกิริยารุนแรงเกินไป | passive | (adj) ซึ่งไม่มีปฏิกิริยา, See also: ไม่โต้แย้ง | passively | (adv) อย่างเฉื่อยๆ, See also: อย่างไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบ, Syn. indifferently, quietly | react | (vi) เกิดปฏิกิริยาต่อต้าน, Syn. counteract, rebel | react | (vi) เกิดปฏิกิริยาทางเคมี | reaction | (n) ปฏิกิริยาตอบกลับ, Syn. backlash, counteraction | reaction | (n) ปฏิกิริยาเคมี | reactive | (adj) ซึ่งทำให้เกิดปฏิกิริยา | reagent | (n) สารที่ใช้เป็นตัวกระทำปฏิกิริยา | reflex | (adj) ีปฏิกิริยาตอบกลับโดยอัตโนมัติ, Syn. involuntariness, reaction | retardant | (n) สารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีช้าลง | retarder | (n) สารที่ทำให้ปฏิกิริยาทางเคมีช้าลง | respond to | (phrv) มีปฏิกิริยากับ | serology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติและปฏิกิริยาของเซรุ่ม, See also: เซรุ่มวิทยา | tryout | (n) การแสดงก่อนรอบจริงเพื่อดูปฏิกิริยาของผู้ชม | vanadium | (n) ธาตุโลหะสีขาวเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำเหล็กอัลลอยด์, See also: สัญลักษณ์คือ V | weather-wise | (adj) ซึ่งเก่งในการคาดเดาปฏิกิริยาหรือความคิดเห็นสาธาณชน |
| abstraction | (แอ็บสแทรค' เชิน) n. นามธรรม (รูป, ผล, ปฏิกิริยา, มโนคติ) , การเอาหรือแยกออก, ภาวะใจลอย -abstractionist n. | agent | (เอ' เจินทฺ) n. ตัวแทน, ผู้แทนจำหน่าย, แรงหรือสิ่งตามธรรมชาติที่ใช้เพื่อผลเฉพาะอย่าง, ยา, น้ำยา, พนักงานเจ้าหน้าที่, สายลับ, สารที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมี, Syn. performer | atom bomb | ระเบิดปรมาณูซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาลูกโซ่ของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมของธาตุยูเรเนียม U -235 ทำให้ส่วนของมวลของมันเปลี่ยนเป็นพลังงานที่มหาศาล. | catalysis | (คะแทล'ลิซิส) n. การเร่งปฏิกิริยาทางเคมีโดยการเติมสารกระตุ้น, ปฏิกิริยาระหว่างบุคคลหรือแรงโดยมีตัวกระตุ้นที่ไม่ถูกกระทบกระเทือน, See also: catalytic adj. ดูcatalysis pl. catalyses, Syn. katalysis, stimulation | catalyst | (แคท'ทะลิสทฺ) n. ตัวเร่งปฏิกิริยา, ตัวเร่ง, Syn. katalyst | chain reaction | n. ปฏิกิริยาลูกโซ่ | flip | (ฟลิพ) vt., n. (การ) โยน, ติด (เหรียญ) , เหวี่ยงขึ้นในอากาศให้หมุนคว้าง, สะบัด, พลิก (ไพ่) , โบก, กระตุก (เบ็ด) , ตีลังกา, หวด (แส้) . vi. ดีดนิ้ว, กระพือ, มีปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างตื่นเต้น, ตีลังกา, Syn. flick, jerk, twirl | fusion | (ฟิว'เชิน) n. การหลอมละลาย, การหลอมเหลว, สิ่งที่หลอมละลาย, การผสมของพรรคการเมือง, ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของอะตอมที่เบารวมตัวกันเป็นนิวเคลียสที่หนักขึ้น (nuclear, See also: fusion, Syn. coalescence, combine, Ant. separate | inert | (อินเนิร์ท') adj. เฉื่อยชา, ไม่มีชีวิตชีวา, เหงาหงอย, ไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบ ไม่มีฤทธิ์ทางยา., See also: inertness n., Syn. immobile | interact | (อินเทอแรคทฺ') vi. ทำปฏิกิริยากับ, มีปฏิกิริยาต่อ. n. ละครสลับฉาก, การหยุดพักระหว่างฉาก, See also: interactive adj. | kneejerk | ปฏิกิริยาเหยียดขาที่เนื่องจากการเคาะที่หัวเข่า, Syn. patellar reflex | latent period | n. ระยะซ่อนเร้น, ระยะแฝงของโรคก่อนที่จะมีอาการโรคปรากฎ, ระยะเวลาการกระตุ้นกับปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น., Syn. latency | mechanism | (เมค'คะนิสซึม) n. ระบบเครื่องกลไก, เครื่องกลไก, กลวิธาน, วิธีการ, โครงสร้าง, ลัทธิวัตถุนิยม, กระบวนการและปฏิกิริยาของแรงจิต., See also: mechanismic adj. mechanist n. mechanistic adj. | nuclear fusion | n. ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของอะตอมที่เบากว่ารวมกันเป็นนิวเคลียสที่หนักกว่าเช่นอะตอมของdeuteriumรวมกับอะตอมของฮีเลียม | passive | (แพส'ซิฟว) adj. อยู่เฉย ๆ , ไม่ดิ้นรน, ไม่มีปฏิกิริยา, ไม่โต้ตอบ, ไม่ร่วมด้วย, เกี่ยวกับกรรมวาจก n. กรรมวาจก รูปแบบที่ไม่มีปฏิกิริยา, See also: passivity n. | patch test | การทดสอบภูมิแพ้โดยการปะตัวทำให้แพ้ (allergen) เข้ากับผิวหนังแล้วสังเกตดูว่ามีปฏิกิริยาแพ้เกิดขึ้นไหม | react | (รีแอคทฺ') vi. แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ, โต้ตอบ, ต่อต้าน, คัดค้าน, แวดงปฏิกิริยาทางเคมี, Syn. response | reaction | (รีแอค'เชิน) n. ปฏิกิริยา, การโต้ตอบ, การตอบสนอง, ปฏิกิริยาทางเคมี, ลัทธิฝ่ายขวา | reactionary | (รีแอค'เชินนะรี) adj. เกี่ยวกับพวกฝ่ายขวา, ชอบให้เกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ n. สมาชิกฝ่ายขวา, ผู้ชอบการมีปฏิกิริยาโต้ตอบ (มีอีกชื่อว่าreactionist), See also: reactionism, reactionarism n., Syn. die-hard, rightist | reactor | (รีแอค'เทอะ) n. บุคคลหรือสารที่มีปฏิกิริยาโต้ตอบ, เครื่องปฏิกรณ์, เครื่องต้านไฟฟ้า, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ | reflex | (รี'เฟลคซฺ) n., adj. ปฏิกิริยาโต้ตอบที่ไม่เจตนาต่อสิ่งกระตุ้น, การสะท้อนกลับ, ภาพสะท้อน, สิ่งที่สะท้อนกลับ vt. (รีเฟลคซฺ) ทำให้สะท้อนกลับ, หันกลับ, หมุนกลับ, พับกลับ, See also: reflexly adv., Syn. reponse | restrainer | (รีสเทรน'เนอะ) n. ผู้กรอง, สิ่งกรอง, สารเคมีที์ยับยั้งปฏิกิริยาเคมี, ผู้ยับยั้ง, ผู้อดกลั้น, ผู้ดึงบังเหียน, น้ำยาทำให้การปรากฎรูปขึ้นช้า (ในการล้างรูป) | ribosome | ประกอบด้วยสาร ribonucleic acid (RNA) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์ |
| interact | (vt) มีปฏิกิริยาต่อกัน, มีผลกระทบต่อกัน | interaction | (n) ปฏิกิริยา | reaction | (n) การตอบสนอง, ปฏิกิริยา, การโต้ตอบ, การสะท้อน | reactionary | (adj) ตรงข้าม, แย้ง, เกี่ยวกับปฏิกิริยาโต้ตอบ, เกี่ยวกับการตอบสนอง | reflex | (n) ภาพสะท้อน, ปฏิกิริยาโต้ตอบ | retroactive | (adj) มีปฏิกิริยาโต้ตอบ, มีผลย้อนหลัง |
| Hypersensitivity | แพ้ (หรือที่เรียกว่าปฏิกิริยาแพ้หรือแพ้) หมายถึงปฏิกิริยาที่ไม่พึงประสงค์ที่ผลิตโดยระบบภูมิคุ้มกันปกติรวมถึงโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกันอัตโนมัติ ปฏิกิริยาแพ้ต้องมีสถานะก่อนไวต่อความรู้สึก (ภูมิคุ้มกัน) ของโฮสต์ (สัตว์หรือพืชที่เป็นที่อาศัยของปรสิต) | Molecular Gastronomy | (n, name) การทำอาหารโดยอาศัยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ และอาศัยวิธีการศึกษาองค์ประกอบของเครื่องปรุงอย่างวิทยาศาสตร์ศึกษาปฏิกิริยาทางเคมีที่ทำให้เครื่องปรุงเปลี่ยนรสหรือเปลี่ยนสี เพื่อให้เกิดการสร้างสรรค์ที่ได้ทั้งรูปทรงใหม่ๆ และรสชาติที่แตกต่างจากของเดิม | pcr | (phrase) ปฏิกิริยาลูกโซ่ polymerase (PCR) | Pharmacokinetics | 1. การศึกษาการดูดซึมของร่างกาย การกระจายการเผาผลาญและการขับถ่ายของยา 2. ปฏิกิริยาลักษณะของยาและร่างกายในแง่ของการดูดซึมการกระจายการเผาผลาญและการขับถาย |
| 酸化 | [さんか, sanka] (n) ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของออกซิเจนกับสารอื่น, See also: R. oxidation |
| Reaktion | (n) |die, pl. Reaktionen| ปฏิกิริยา, See also: Related: reagieren | reagieren | (vi) |reagierte, hat reagiert| ทำปฏิกิริยา เช่น Wasser reagiert nicht mit Sauerstoff. น้ำไม่ทำปฏิกิริยากับออกซิเจน | chemisch | (adj, adv) ทางเคมี, ที่เกี่ยวกับเคมี เช่น In unserem Körper entstehen viele chemische Reaktionen. ในร่างกายของเรามีปฏิกิริยาทางเคมีเกิดขึ้นมากมาย | Reaktionszentrum | (n) |das, pl. Reaktionszentren| ศูนย์รวมการรับแสงของปฏิกิริยาสังเคราะห์ด้วยแสงในคลอโรพลาสต์ เช่น Die absorbierte Energie wird über eine Vielzahl von Pigmenten zum sogenannten Reaktionszentrum geleitet. Dieser Energietransferprozess ist sehr schnell., In Pflanzen ist jedes Reaktionszentrum der Photosynthese von mehreren hundert Farbstoff-Molekülen umgeben. | Reaktionszentrum | (n) |das, pl. Reaktionszentren| ศูนย์กลางการเกิดปฏิกิริยา เช่น Das Reaktionszentrum dieses Enzyms ist bei allen Virussubtypen gleich gebaut und verändert sich im Gegensatz zur Virushülle nicht. |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |