Search result for

*บรรณารักษ์*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: บรรณารักษ์, -บรรณารักษ์-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
บรรณารักษ์(บันนารัก) น. บุคคลที่รับผิดชอบในการบริหารและดำเนินงานในห้องสมุด.
บรรณารักษ์ดู บรรณ, บรรณ-.

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Librarianบรรณารักษ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Reference librarianบรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า, Example: Reference librarian หมายถึง บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มีหน้าที่ให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าหาคำตอบที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องการ และช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากหนังสือและวัสดุต่าง ๆ ของห้องสมุด <p> คุณสมบัติของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ <p> ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาศ ชวลิต ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคุณสมบัติที่ดีของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ ไว้ดังนี้ <p> - มีความรู้เกี่ยวกับหนังสืออ้างอิงเป็นอย่างดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับแหล่งความรู้ที่มีอยู่ในห้องสมุด <p> - มีมนุษยสัมพันธ์อันดี <p> - มีความสนใจในวิชาการต่างๆ หมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ <p> - มีความอดทน พากเพียร <p> - มีไหวพริบดีในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหาว่าอยู่ในแนวใด ควรหาคำตอบจากแหล่งใด <p> - มีความจำดี <p> - มีจินตนาการดี รู้จักการยืดหยุ่น ไม่ฝังความคิดไว้ในด้านเดียว <p> - ช่างสังเกต รอบคอบ <p> - ตัดสินใจดี รู้จักเลือกแหล่งคำตอบที่เหมาะสม <p> - รู้จักวิธีการพูดคุย ซักถามอย่างเป็นกันเองกับผู้ใช้ <p> - กระตือรือร้นที่จะช่วยเหลือผู้ใช้อยู่เสมอ <p> การให้บริการของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ นอกจากการให้บริการที่โต๊ะให้บริการตอบคำถามแล้ว ยังสามารถให้บริการโดยทางโทรศัพท์ โดยทางอี-เมล์ หรือโดยผ่านการสนทนาทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของบริการตอบคำถามในปัจจุบันกำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้ Google และเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางออนไลน์ได้มากขึ้น ดังนั้น บรรณารักษ์บริการตอบคำถามอาจไม่ต้องตอบคำถามหรือเก็บข้อมูลมากเหมือนในอดีต แต่ควรเน้นที่การให้คำแนะนำผู้ใช้ให้รู้จักวิธีค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรือช่วยแนะนำแหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยต่อไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
School librarianบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Catalogerบรรณารักษ์ผู้ทำบัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
College librarianบรรณารักษ์หัองสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Congress of Southeast Asian Librariansการประชุมบรรณารักษ์เอเชียอาคเนย์, Example: <html> <head> <title>HTML Online Editor Sample</title> </head> <body> <p> <strong>CONSAL</strong> : <span style="color:#0000cd;">Congress of Southeast Asian Librarians</span></p> <p> การประชุมสภาบรรณารักษ์เอชียอาคเนย์ หรือ การประชุมสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัตถุประสงค์หลักเพื่อความร่วมมือในระหว่างประเทศสมาชิกเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ในการพัฒนาห้องสมุดของแต่ละประเทศ</p> <p> สมาชิก CONSAL คือ หอสมุดแห่งชาติ ของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน จำนวน 10 ประเทศ คือ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม และไทย</p> <p> การประชุมสภาบรรณรักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กำหนดจัดทุก 3 ปี โดยสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ หมุนเวียนการเป็นเจ้าภาพ โดยที่ผ่านมาครั้งล่าสุด เป็นการประชุมครั้งที่ 15 วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเชีย ในหัวข้อเรื่อง Preserving and Disseminating National Heritage และการประชุมครั้งต่อไป ครั้งที่ 16 ปี 2558 ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมอีกครั้ง ซึ่งประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุม CONSAL แล้ว จำนวน 2 ครั้ง ในปี 2521 และ 2536</p> <p> ประวัติของการรวมกลุ่มสภาบรรณารักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการประชุมครั้งแรกในปี 2513 ที่ประเทศสิงคโปร์ รายละเอียดหัวข้อการประชุม วันเวลา และประเทศเจ้าภาพการประชุม CONSAL ทั้งหมดที่ผ่านมา รวม 15 ครั้ง ดังนี้</p> <ol> <li> New prospects for Southeast Asians Cooperation วันที่ 14-16 สิงหาคม 2513 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Education and Training for Librarianship วันที่ 10-14 ธันวาคม 2516 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Integrated Library and Documentation Services within the Framework or NATIS วันที่ 1-5 ธันวาคม 2518 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Regional Cooperation for the Development of National Information Services วันที่ 5-9 มิถุนายน 2521 ประเทศไทย</li> <li> Access to Information วันที่ 25-29 พฤษภาคม 2524 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> The Library in the Information Revolution วันที่ 30 พฤษภาคม - 3 มิถุนายน 2526 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Libraries for Countryside Development in Southeast Asia วันที่ 12-21 กุมภาพันธ์ 2530 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> New Challenges in Library Services in the Developing World วันที่ 11-14 มิถุนายน 2533 ประเทศอินโดนีเซีย</li> <li> Future Dimensions and Library Development วันที่ 2-7 พฤษภาคม 2536 ประเทศไทย</li> <li> Libraries in National Development วันที่ 21-25 พฤษภาคม 2539 ประเทศมาเลเซีย</li> <li> Stepping into the New Millennium: Challenges for Library and Information Professionals วันที่ 26-28 เมษายน 2543 ประเทศสิงคโปร์</li> <li> Information Empowerment: Enhancing Knowledge Heritage วันที่ 20-23 ตุลาคม 2546 ประเทศบรูไน</li> <li> CONSAL at the Crossroads: Challenges for greater regional cooperation วันที่ 25-30 มีนาคม 2549 ประเทศฟิลิปปินส์</li> <li> Towards Dynamic Libraries and Information Services in Southeast Asian Countries วันที่ 20-23 เวียดนาม 2552 ประเทศเวียดนาม</li> <li> Preserving and Disseminating National Heritage วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2555 ประเทศอินโดนีเชีย</li> </ol> <p> สนใจกิจกรรมการประชุม CONSAL เข้าถึงได้ที่เว็บไซต์ <a href="http://www.consal.org">www.consal.org</a></p> <p> <img alt="consal " height="305" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120925-consal.png" width="699" /></p> </body> </html> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Libraries-Professional ethicจรรยาบรรณบรรณารักษ์, Example: <strong>จรรยาบรรณบรรณารักษ์และนักสารสนเทศ พ.ศ.2550</strong> <p>จรรยาบรรณบรรณารักษ์และนักสารสนเทศของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ประกาศใช้เมื่อพ.ศ.2521 ปรับปรุง ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2529 การปรับปรุงครั้งนี้เป็นการปรับปรุงครั้งที่สอง พ.ศ.2550 เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง ในวิชาชีพและสังคม จรรยาบรรณนี้ใช้เป็นแนวทางสำหรับบรรณารักษ์และนักสารสนเทศในการประกอบวิชาชีพ มีสาระสำคัญครอบคลุมจรรยาบรรณ ต่อผู้รับบริการ วิชาชีพ ผู้ร่วมงาน สถาบัน และสังคม ดังนี้ <br> 1. พึงให้บริการอย่างเต็มความสามารถ ด้วยบริการที่มีคุณภาพและด้วยความเสมอภาคแก่ผู้รับบริการ<br> 2. พึงรักษาความลับ เคารพและปกป้องสิทธิส่วนบุคคลและสิทธิในการรับรู้ของผู้รับบริการ<br> 3. พึงมีความศรัทธาในวิชาชีพและใช้วิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ อดทน และมุ่งประโยชน์ ส่วนรวม โดยปราศจากการถูกครอบงำด้วยอิทธิพลหรือผลประโยชน์อันมิชอบทุกประการ <br> 4. พึงแสวงหาความรู้และพัฒนาคนทางวิชาการ วิชาชีพ อย่างต่อเนื่องให้ทันความเปลี่ยนแปลงและได้มาตรฐาน ทางวิชาการวิชาชีพระดับสากล <br> 5. พึงเป็นกัลยาณมิตรของผู้ร่วมงาน ร่วมมือ สนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน เปิดโอกาสให้แก่กันและกัน และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เพื่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ <br> 6. พึงพัฒนาสัมพันธภาพและความร่วมมือระหว่างบุคคลและสถาบัน และธำรงไว้ซึ่งชื่อเสียงและเกียรติภูมิของสถาบัน <br> 7. ไม่พึงใช้ตำแหน่งหน้าที่ ชื่อสถาบันและทรัพยากรของสถาบันเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือหมู่คณะโดยมิชอบ <br> 8. พึงยืนหยัดในหลักการแห่งเสรีภาพทางปัญญา เคารพและปฏิบัติตามกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา และธำรงไว้ซึ่ง เสรีภาพของห้องสมุดและเกียรติภูมิของวิชาชีพ <br> 9. พึงมีความรับผิดชอบต่อสังคม อุทิศตนเพื่อประโยชน์และความมั่นคงของสังคม และมีบทบาทในการพัฒนาสังคมไทย สู่สังคมภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประชาชนและประเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Professional librarianบรรณารักษ์วิชาชีพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Public librarianบรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Teacher -librarianครูบรรณารักษ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Special librarianบรรณารักษ์ห้องสมุดเฉพาะ, Example: <p>ห้องสมุดเฉพาะ เป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือบางกลุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย องค์การ บริษัทเอกชน หรือธนาคาร เป็นต้น ทำหน้าที่จัดหาหนังสือ และให้บริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสารเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ ดำเนินงานโดย บรรณารักษ์ห้องสมุดเฉพาะ ซึ่งเป็นบุคลากรวิชาชีพที่มีคุณสมบัติการศึกษาด้านบรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ และโดยทั่วไป บรรณารักษ์ห้องสมุดเฉพาะ ควรมีความรู้ทั้งในด้านห้องสมุด และสาขาวิชาในหน่วยงานนั้นด้วย เพื่อการให้บริการที่ดีและมีประสิทธิภาพ <P>เกณฑ์กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ รวมทั้งสมรรถนะด้านวิชาชีพ และ สมรรถนะเฉพาะบุคคล ของบรรณารักษ์ห้องสมุดเฉพาะ สรุปจากผู้ที่ได้รวบรวมไว้ดังนี้ <p>หน้าที่ความรับผิดชอบ <p>1. งานเทคนิค <p>2. บริการสืบค้นสารสนเทศ <p>3. บริการสารสนเทศ <p>4. บริการรวบรวมบรรณานุกรมเฉพาะเรื่อง <p>5. งานวิเคราะห์และจัดทำสารสนเทศ <p>6. งานที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ <p>สมรรถนะของบรรณารักษ์ห้องสมุดเฉพาะ มี 2 เรื่อง คือ สมรรถนะด้านวิชาชีพ และสมรรถนะเฉพาะบุคคล <p>สมรรถนะด้านวิชาชีพ (Professional competency) <p>1. มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ <p>2. มีความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาเฉพาะด้านที่สอดคล้องกับองค์กร <p>3. มีความสามารถในการพัฒนา และการจัดการบริการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ <p>4. มีความสามารถในการสอนผู้ใช้ให้เข้าถึงสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ <p>5. มีความสามารถในการประเมินความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ <p>6. มีความสามารถในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดหา จัดการ และเผยแพร่สารสนเทศ <p>7. มีความสามารถในการจัดการ และดำเนินงานห้องสมุดที่เหมาะสมโดยสอดคล้องกับการบริหารงานขององค์กร <p>8. มีความสามารถในการพัฒนาเครื่องมือช่วยค้น และเข้าถึงสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา <p>9. มีความสามารถในการประเมินผลลัพธ์ของการใช้สารสนเทศ <p>สมรรถนะเฉพาะบุคคล (Personal competency) <P>1. คำนึงถึงการได้รับมอบหมายหน้าที่ในการให้บริการที่ดีที่สุด <p>2. มีสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคล และองค์กรที่เกี่ยวข้อง <p>3. สร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน และมีความไว้วางใจซึ่งกันและกัน <p>4. มีทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ <p>5. การทำงานเป็นทีม <p>6. มีความเป็นผู้นำ <p>7. ให้ความสำคัญกับการวางแผนการทำงาน <p>8. ตระหนักว่าการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นสิ่งสำคัญ และให้ความสำคัญต่อเครือข่ายวิชาชีพและการพึ่งพาอาศัยกัน <p>9. มีทักษะในการทำงาน และสร้างโอกาสในการทำงาน <p>บรรณานุกรม <p>บุคลากรในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ. Available at : http://jutatipc.files.wordpress.com/2007/11/06professional.ppt. Accessed September 5, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Academic librariansบรรณารักษ์ห้องสมุดระดับอุดมศึกษา [TU Subject Heading]
Librariansบรรณารักษ์ [TU Subject Heading]
Library educationการศึกษาของบรรณารักษ์ [TU Subject Heading]
Library education (Continuing education)การศึกษาของบรรณารักษ์ (การศึกษาต่อเนื่อง) [TU Subject Heading]
Public librariansบรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชน [TU Subject Heading]
School librariansบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียน [TU Subject Heading]
Special librariansบรรณารักษ์ห้องสมุดเฉพาะ [TU Subject Heading]
Teacher-Librariansครูบรรณารักษ์ [TU Subject Heading]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
บรรณารักษ์[bannārak] (n) EN: librarian  FR: bibliothécaire [ m, f ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
librarian(n) บรรณารักษ์
librarianship(n) ตำแหน่งบรรณารักษ์
librarianship(n) บรรณารักษ์ศาสตร์, Syn. librarian science
library science(n) บรรณารักษ์ศาสตร์, Syn. library science

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
librarian(ไลแบร'เรียน) n. บรรณารักษ์., See also: librarianship n. ดูlibrarian

English-Thai: Nontri Dictionary
bibliographer(n) บรรณารักษ์
librarian(n) บรรณารักษ์

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top