ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: น้ำเค็ม, -น้ำเค็ม- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ น้ำเค็ม | (n) salt water, See also: sea water, Syn. น้ำทะเล, Ant. น้ำจืด, Example: กุ้งบางชนิดอาศัยอยู่ในน้ำเค็มแล้วเจริญเติบโตได้ดีกว่า, Thai Definition: น้ำที่มีรสเค็มหมายถึงน้ำในทะเล |
|
| ตะเพียนน้ำเค็ม | ดู โคก ๒. | น้ำเค็ม | น. นํ้าทะเล เช่น สัตว์นํ้าเค็ม, นํ้าที่มีรสเค็ม. | น้ำเค็ม | ว. ที่เกิดหรือโตอยู่ในแถบชายทะเล เช่น ลูกนํ้าเค็ม. | ไรน้ำเค็ม | น. ชื่อสัตว์น้ำเค็มขาปล้องหลายชนิด ในสกุล Artemiaวงศ์ Artemiidae ขนาดยาว ๒ เซนติเมตรหรือมากกว่า รยางค์อกมี ๑๑ คู่ แต่ละคู่มีเหงือก เพศผู้มีอวัยวะเพศที่ปล้องท้องปล้องที่ ๑ และ ๒ เพศเมียมีรังไข่ ๑ คู่ที่ปล้องอกปล้องท้าย ๆ สืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ กินตะไคร่น้ำเป็นส่วนใหญ่ อาศัยอยู่ได้ในทุกระดับความเค็ม พบทั่วโลก นำเข้ามาจากต่างประเทศเพื่อเพาะเลี้ยงเป็นอาหารของสัตว์น้ำ เช่น ชนิด A. franciscanaKellogg, ไรสีน้ำตาล หรือ อาร์ทีเมีย ก็เรียก. | ลูกน้ำเค็ม | น. คนที่เกิดหรือโตอยู่ในแถบชายทะเล | ลูกน้ำเค็ม | ทหารเรือ. | จาก ๓ | น. ชื่อปูชนิด Varuna litterata (Fabricius) ในวงศ์ Grapsidae ลำตัวแบน สีน้ำตาลอมเหลือง อาศัยอยู่ตามป่าจากในเขตน้ำกร่อยหรือน้ำเค็ม. | แมงแงว | น. ชื่อสัตว์น้ำขาปล้องหลายชนิด หลายสกุล ในวงศ์ Streptocephalidae ขนาดยาว ๑.๘ เซนติเมตร ลักษณะทั่วไปคล้ายไรน้ำเค็ม ลำตัวใส มีถุงไข่ที่ท้อง ๑ ถุง ไข่จม กินสาหร่าย พบตามแหล่งน้ำจืดโดยเฉพาะในช่วงต้นฤดูฝนเขตภูเขาในจังหวัดขอนแก่น หนองบัวลำภู หนองคาย นำมาใช้ปรุงอาหาร เช่น แกงอ่อมหรือห่อหมก ตามธรรมชาติเป็นอาหารของสัตว์น้ำ ที่พบบ่อย เช่น ชนิด Streptocephalus sirindhornae Sanoamuang, Murugan, Weekers & Dumont. ซึ่งมีหางสีแดงเข้ม, แมงหางแดง แมงอ่อนช้อย หรือ ไรน้ำจืด ก็เรียก. | ริ้น | น. ชื่อแมลงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Ceratopogonidae ขนาดเล็กเท่าแมลงหวี่ มีปีกคู่เดียว มักพบบินอยู่ตามริมแม่น้ำ ลำคลอง หรือชายทะเล ดูดกินเลือดคนและสัตว์ ทำให้เกิดอาการระคายเคือง ที่พบมากอยู่ในสกุล Culicoides และ Leptoconops ถ้าพบมากตามเขตติดต่อกับทะเล เรียก ริ้นน้ำเค็ม. | ไรสีน้ำตาล | ดู ไรน้ำเค็ม. | เหาน้ำ | น. ชื่อสัตว์ขาปล้องหลายชนิด หลายสกุล หลายวงศ์ ในอันดับ Isopoda ที่เป็นปรสิตของสัตว์น้ำ ส่วนใหญ่ลำตัวยาวรีค่อนข้างแบน ที่สำคัญคือ มีหนวด ๒ คู่ และมีตาแบบไม่มีก้านตา ส่วนอกมี ๗ ปล้อง แต่ละปล้องมีรยางค์คล้ายขา ๑ คู่ ส่วนท้องมี ๖ ปล้อง มีรยางค์ว่ายน้ำ ๕ คู่ ลำตัวมีขนาดแตกต่างกันตั้งแต่ ๕-๒๕ มิลลิเมตร และมีสีแตกต่างกัน เช่น นวล น้ำตาล ดำ ปากเป็นชนิดแทงดูด พบเกาะสัตว์น้ำหลายชนิด เช่น ปลา กุ้ง ปู ที่พบในน้ำจืด เช่น ในสกุล Alitropus วงศ์ Aegidae, ในน้ำเค็ม เช่น ในสกุล Livonecaวงศ์ Cymothoidae. | อาร์ทีเมีย | ดู ไรน้ำเค็ม. |
| | Marine aquarium fishes | ปลาตู้ (น้ำเค็ม) [TU Subject Heading] | Marine aquariums | ตู้เลี้ยงสัตว์น้ำเค็ม [TU Subject Heading] | Saline water conversion | การแปลงสภาพน้ำเค็ม [TU Subject Heading] | Saline waters | น้ำเค็ม [TU Subject Heading] | Saltwater encroachment | การแพร่ของน้ำเค็ม [TU Subject Heading] | Salt-Water Intrusion | การแพร่เข้าปนของน้ำเค็ม, Example: การแพร่กระจายของน้ำเค็มเข้าไปในแหล่งน้ำจืด และทำให้แหล่งน้ำจืดเดิม เปลี่ยนสภาพเป็นน้ำเค็ม อาจเกิดขึ้นได้ทั้งแหล่งน้ำผิวดินและแหล่งน้ำใต้ดิน [สิ่งแวดล้อม] | Saline Contamination | การปนเปื้อนน้ำเค็ม, Example: การเสียของน้ำเนื่องจากการแพร่ของน้ำเค็มมา ปะปน [สิ่งแวดล้อม] | Lagoon | ทะเลสาบน้ำเค็ม, Example: เกิดขึ้นทั้งในทะเลและบริเวณชายฝั่งทะเล ถ้าเป็นทะเลสาบน้ำเค็มในทะเล จะเกิดจากการปิดกั้นของปะการัง โดยมากมักเป็นรูปวงกลม มีทางน้ำแคบๆ เข้าออกได้ แต่ถ้าเป็นทะเลสาบน้ำเค็มชายฝั่งทะเล จะเกิดจากการปิดกั้นของ สันดอนบริเวณปากอ่าว แต่ยังมีทางออกให้น้ำไหลผ่านได้ ในประเทศไทยพบทะเลสาบน้ำเค็มชายฝั่งทะเลเพียงแห่งเดียว คือ ทะเลสาบสงขลา [สิ่งแวดล้อม] | Salt Marsh | ที่ลุ่มน้ำเค็ม [สิ่งแวดล้อม] | Mangrove Swamp Forest or Mangrove Forest | ป่าชายเลน หรือป่าเลนน้ำเค็ม หรือป่าโกงกาง, Example: ป่าไม้ผลัดใบประเภทป่าพรุชนิดหนึ่ง พบตามชายฝั่งทะเล หรือบริเวณปากแม่น้ำที่มีดินโคลน และน้ำทะเลท่วมถึง ลักษณะของป่าชนิดนี้จะเป็นป่าที่มีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น แต่ละชนิดมีรากค้ำยันและรากหายใจแตกต่างกันไป พันธุ์ไม้ที่พบ ได้แก่ โกงกาง ประสัก โปรงหรือแสม ลำพู และลำแพน ในประเทศไทยพบตามชายฝั่งทะเลด้านตะวันตก ตั้งแต่ระนองถึงสตูล แถบอ่าวไทย ตั้งแต่สมุทรสงครามถึงตราด และจากประจวบคีรีขันธ์ไปจนถึงนราธิวาส [สิ่งแวดล้อม] | wetlands | พื้นที่ชุ่มน้ำ หมายถึง พื้นที่ลุ่ม พื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ พื้นที่ฉ่ำน้ำ มีน้ำท่วม มีน้ำขัง พื้นที่พรุ พื้นที่แหล่งน้ำ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยอาจเป็นแหล่งน้ำนิ่งและน้ำไหล ทั้งที่เป็นน้ำจืด น้ำกร่อยและน้ำเค็ม รวมไปถึงพื้นที่ชายทะเล และพื้นที่ของทะเล ในบริเวณซึ่งเมื่อน้ำลดลงต่ำสุดมีความลึกของระดับน้ำไม่เกิน 6 เมตร ซึ่งภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำ ประเทศต่าง ๆ สามารถที่จะกำหนดให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญ ระหว่างประเทศ เช่น ประเทศไทยได้ประกาศให้บริเวณเขตพรุควนขี้เสียน และบริเวณเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำ นอกจากนี้ พื้นที่ชุ่มน้ำบางแห่งอาจอยู่ตามพรมแดนระหว่างประเทศด้วย [การทูต] | Cerberus Rhynchops | งูปากกว้างน้ำเค็ม [การแพทย์] | salt marsh; saline | salt marsh; saline, ที่ลุ่มน้ำเค็ม [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] | saline water | saline water, น้ำเค็ม [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
| น้ำเค็ม | [nām khem] (n, exp) EN: salt water ; brine FR: eau salée [ f ] | นกนางนวลแกลบน้ำเค็ม | [nok nāng-nūan klaēp nām khem] (n, exp) EN: Saunder's Tern FR: Sterne de Saunders [ f ] |
| | brine | (ไบรน) n. น้ำเค็ม, ทะเล, มหาสมุทร, น้ำทะเล, น้ำมหาสมุทร, สารละลายเกลือ vt. ใส่น้ำเกลือ, ใส่ลงในน้ำเกลือ., See also: briner n. ดูbrine brinish adj. ดูbrine, Syn. sea | estuary | (เอส'ชุอะรี) n. ปากแม่น้ำซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำจืดและน้ำเค็มบรรจบกัน, อ่าว, ปากน้ำ., See also: estrual adj. ดูestrus | lagoon | (ละกูน') n. บึงน้ำเค็ม, บึง, บึงเค็มบนเกาะหินปะการัง, บึงถ่ายเทขนาดใหญ่ที่คนสร้างขึ้น., See also: lagoonal adj. ดุlagoon | lagune | (ละกูน') n. บึงน้ำเค็ม, บึง, บึงเค็มบนเกาะหินปะการัง, บึงถ่ายเทขนาดใหญ่ที่คนสร้างขึ้น., See also: lagoonal adj. ดุlagoon | salt lake | n. ทะเลสาบน้ำเค็ม |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |