มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ | เข้ารีต | ว. เปลี่ยนไปถือศาสนาอื่น. | เจ้าเซ็น | น. อิหม่ามฮูเซ็นผู้เป็นหลานตาของพระมะหะหมัด, คนพวกหนึ่งที่ถือศาสนาอิสลาม ซึ่งนับถืออิหม่ามฮูเซ็น | ชาว | น. กลุ่มชนที่มีเชื้อชาติเดียวกัน เช่น ชาวไทย ชาวจีน หรืออยู่ในถิ่นฐานเดียวกัน เช่น ชาวเมือง ชาวชนบท หรือมีอาชีพอย่างเดียวกัน เช่น ชาวไร่ ชาวนา ชาวประมง หรือนับถือศาสนาร่วมกัน เช่น ชาวพุทธ ชาวคริสต์ หรืออยู่ในแวดวงเดียวกัน เช่น ชาวอักษร ชาวค่าย. | ซิก ๒, ซิกข์ | ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาซิกข์ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาบ ประเทศอินเดีย | ญาติธรรม | (ยาดติ-) น. ญาติในทางธรรม, ผู้มีความสัมพันธ์กันฉันญาติเพราะนับถือศาสนาหรือลัทธิของศาสนาร่วมกัน. | ถือ | นับถือ เช่น ถือศาสนา | นับถือ | ก. เชื่อถือยึดมั่น เช่น นับถือศาสนา, เคารพ เช่น นับถือผู้ใหญ่, ยกย่อง เช่น นับถือว่าเป็นครูบาอาจารย์, ใช้เป็นคำลงท้ายจดหมายแสดงความสุภาพว่า ด้วยความนับถือ หรือ ขอแสดงความนับถือ. | มุสลิม | (มุดสะลิม) น. ผู้นับถือศาสนาอิสลาม. | ล้างบาป | น. พิธีทางศาสนาคริสต์ซึ่งทำแก่ทารกที่บิดามารดานับถือศาสนาคริสต์ หรือแก่บุคคลที่เดิมนับถือศาสนาอื่น แล้วหันมานับถือศาสนาคริสต์ โดยจุ่มหัวหรือตัวลงในน้ำศักดิ์สิทธิ์ ๓ ครั้งหรือเทน้ำศักดิ์สิทธิ์ลงบนหน้าผาก ซึ่งถือกันว่าเป็นสัญลักษณ์แห่งการล้างบาปเพื่อรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน เรียกว่า พิธีศีลล้างบาปหรือพิธีศีลจุ่ม. | ศาสนิกชน | น. บุคคลที่นับถือศาสนา เช่น ศาสนิกชนของพระพุทธศาสนา เรียกว่า พุทธศาสนิกชน ศาสนิกชนของคริสต์ศาสนา เรียกว่า คริสต์ศาสนิกชน. | สิกข์, สิข | ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาสิกข์ ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาบ ประเทศอินเดีย | สุลต่าน | (สุนละ-) น. ประมุขของบางประเทศหรือเจ้าครองนครบางรัฐที่นับถือศาสนาอิสลาม. | เสรีภาพ | น. ความสามารถที่จะกระทำการใด ๆ ได้ตามที่ตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา, ความมีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. | หุ้ยหุย ๒ | น. พวกจีนฮ่อที่นับถือศาสนาอิสลาม. | อะมีรุ้ลฮัจย์, รออิสบิซาตุลฮัจย์ อัลรัสมียะห์ | น. บุคคลผู้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนฮัจย์ทางการของประเทศไทยนำชาวไทยผู้นับถือศาสนาอิสลามเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย. | อิสลาม | น. ศาสนาที่สำคัญศาสนาหนึ่งของโลก มีศาสดาชื่อมุฮัมมัด นับถือพระเจ้าองค์เดียวคืออัลลอฮ์ มีคัมภีร์อัลกุรอานเป็นหลัก ไม่มีนักบวช, เรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามว่า มุสลิม. | ฮินดู | น. ชื่อศาสนาหนึ่งที่เกิดในอินเดีย มีวิวัฒนาการมาจากศาสนาพราหมณ์, ผู้นับถือศาสนาฮินดู. ว. ที่เกี่ยวกับศาสนาฮินดู. |
|
| agnostic | ผู้ไม่ถือศาสนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | confirmation list | รายชื่อผู้ปฏิญาณตนเข้าถือศาสนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
| Freedom of religion | เสรีภาพในการนับถือศาสนา [TU Subject Heading] | Jains | ผู้นับถือศาสนาเชน [TU Subject Heading] | Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] | Dean (of the Diplomatic Corps) | คณบดีคณะทูต เอกอัครราชทูตที่อาวุโสที่สุด (ยื่นสาส์นตราตั้งก่อนผู้อื่น) ในประเทศนั้น ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหรือผู้แทนของคณะทูตานุทูต (ในกรณีที่รัฐผู้รับนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาธอลิก สมณทูตวาติกันจะดำรงตำแหน่งคณบดีทูต) [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | The Great Wonders of Suwannabhumi | โครงการสิ่งมหัศจรรย์แห่งสุวรรณภูมิ หมายถึง โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวระหว่างกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคที่นับถือศาสนาพุทธ อันประกอบด้วย ไทย ลาว กัมพูชา และพม่า โดยร่วมกันจัดรายการนำเที่ยวในโบราณสถานที่สำคัญต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของ 4 ประเทศ ได้แก่ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในกรุงเทพฯ นครวัดในกัมพูชา โบราณสถานในพุกาม/มัณฑะเลย์ในพม่า และแขวงหลวงพระบางในลาว เพื่อที่จะดึงดูดชาวต่างชาติให้มาสนใจในดินแดนแห่งนี้ และนำมาซึ่งการพัฒนาสถานที่ดังกล่าว รวมทั้งยังจะเป็นการเชื่อมโยงการเดินทางระหว่าง 4 ประเทศอย่างสมบูรณ์ โครงการนี้เสนอโดย ฯพณฯ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลาว กัมพูชา และพม่า เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2542 ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 3 ที่กรุงมะนิลา [การทูต] |
| นับถือศาสนาอิสลาม | [naptheū sātsanā itsalām] (v, exp) FR: être de confession musulmane | นับถือศาสนาคริสต์ | [naptheū sātsanā Khris] (v, exp) FR: être de confession chrétienne | นับถือศาสนาพุทธ | [naptheū sātsanā Phut] (v, exp) FR: pratiquer la religion bouddhiste ; être de confession bouddhiste | นับถือศาสนายิว | [naptheū sātsanā Yiū] (v, exp) FR: être de confession judaïque | ถือศาสนา | [theū sātsanā] (x) FR: croyant |
| Baptist | (n) ผู้นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนต์ | Buddhist | (n) ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ | Christian | (n) คริสตศาสนิกชน, See also: ผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์ | christianize | (vt) เปลี่ยนเป็นนับถือศาสนาคริสต์ | disbeliever | (n) ผู้ที่ไม่นับถือศาสนา | evangelism | (n) การเผยแผ่ศาสนาคริสต์ (โดยเฉพาะโดยคริสตศาสนิกชนที่พยายามชักชวนให้คนอื่นหันมานับถือศาสนาคริสต์) | evangelize | (vi) เปลี่ยนคนอื่นให้หันมานับถือศาสนาคริสต์ โดยเฉพาะด้วยการเทศน์หรืองานของมิชชันนารี, Syn. convert, proselytize | evangelize | (vt) เปลี่ยนคนอื่นให้หันมานับถือศาสนาคริสต์ โดยเฉพาะด้วยการเทศน์หรืองานของมิชชันนารี, Syn. convert, proselytize | Hindu | (n) ผู้นับถือศาสนาฮินดู | Jew | (n) ผู้นับถือศาสนายิว | profession | (n) การนับถือศาสนา, See also: การประกาศความนับถือในศาสนา | Roman Catholic | (n) ผู้นับถือศาสนาคริสต์นิการโรมันคาทอลิก | sultan | (n) สุลต่าน, See also: ประมุขของประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม, ประมุขของประเทศมุสลิม, Syn. emperor, king, ruler | toleration | (n) เสรีภาพในการนับถือศาสนา | vizierate | (n) เจ้าหน้าที่ระดับสูงของประเทศนับถือศาสนาอิสลาม | vizierial | (adj) เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ระดับสูงของประเทศนับถือศาสนาอิสลาม | Wahabi | (n) ผู้นับถือศาสนาอิสลามนิกายหนึ่งอย่างเคร่งครัด, Syn. Wahhabi | Wahhabi | (n) ผู้นับถือศาสนาอิสลามนิกายหนึ่งอย่างเคร่งครัด, Syn. Wahabi | Wahhabism | (n) การนับถือศาสนาอิสลามนิกายหนึ่งอย่างเคร่งครัด |
| christian | (คริส'เชิน) adj. เกี่ยวกับพระเยซูคริสต์, เกี่ยวกับศาสนาคริสต์, เกี่ยวกับคริสเตียน, ถูกต้องตามจารีตประเพณี. -n. คริสเตียน, นับถือศาสนาคริสต์, Syn. of Christ, respectable | heathen | (ฮี'เธิน) n. คนนอกศาสนา, คนที่ไม่ยอมเชื่อว่ามีพระเจ้า, คนที่ไม่นับถือศาสนาคริสต์หรือยิว, คนป่าเถื่อน adj. ไม่มีศาสนา, นอกศาสนา, นอกรีต, ป่าเถื่อน., See also: heathenness n., Syn. infidel, pagan, idolater, atheist, agnostic คำศั | jew | (จู) { Jewed, Jewing, Jews } n. ชาวยิว, ผู้นับถือศาสนายิว (Judaism) , ผู้สืบเชื้อสายจากชนชาติฮิบรู, ชาวอิสราเอล vt. ต่อรองราคาให้ต่ำลง, กด, ราคาให้ต่ำลง | parsee | (พาร์'ซี, พาร์ซี') n. ชื่อผู้นับถือศาสนาบูชาไฟ, See also: parseeism, Parsiism n. | profession | (โพรเฟส'เชิน) n. อาชีพ, วิชาชีพ, บรรดาผู้มีอาชีพเดียวกัน, การยอมรับ, การแสดงตัว, การปฏิญาณตัว, การนับถือศาสนา, การประกาศความศรัทธา, Syn. calling, avowal | toleration | (ทอล'เลอเร'เชิน) n. ความอดทน, ความทนทาน, การมีรัฐบาลยอมให้มีการนับถือศาสนาอื่นที่ไม่ใช่ศาสนาประจำชาติ., See also: tolerationism n. tolerationist n., Syn. tolerance |
| communion | (n) กลุ่มคนที่นับถือศาสนาเดียวกัน, พิธีศีลมหาสนิท | freethinker | (n) คนที่ถือศาสนาโดยอิสระ, คนนอกรีต, ผู้มีความคิดอิสระ | heathenish | (adj) นอกศาสนา, ป่าเถื่อน, นอกรีต, ที่ไม่นับถือศาสนา | irreligious | (adj) ไม่มีศาสนา, ไม่นับถือศาสนา |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |