ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ตุลาการ, -ตุลาการ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ตุลาการ | (n) judge, See also: justice, Thai Definition: ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี | อำนาจตุลาการ | (n) judicial power, Example: พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจตุลาการผ่านทางศาล, Notes: (กฎหมาย) | อนุญาโตตุลาการ | (n) arbitrator, See also: umpire, Example: เธอจะเสนอเรื่องให้อนุญาโตตุลาการชี้ขาด, Thai Definition: บุคคลคนเดียวหรือหลายคนที่คู่กรณีในสัญญาอนุญาโตตุลาการตกลงเสนอข้อพิพาททางแพ่งที่เกิดขึ้นแล้วหรือจะเกิดขึ้นในอนาคตให้ชี้ขาด, Notes: (กฎหมาย) | อนุญาโตตุลาการ | (n) arbitrator, Example: เขาเป็นอนุญาโตตุลาการคนหนึ่งของข้อพิพาทนี้, Thai Definition: บุคคลที่คู่กรณีตกลงกันตั้งขึ้นเพื่อให้เป็นคนกลางชี้ขาดในข้อพิพาท | สำนักงานส่งเสริมงานตุลาการ | (n) Office of the Judicial Affairs |
| ตุลาการ | น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี. | อนุญาโตตุลาการ | น. บุคคลที่คู่กรณีพร้อมใจกันตั้งขึ้นเพื่อให้ชำระตัดสินในข้อพิพาท. | กบฏ | เป็นฐานความผิดอาญา ที่เกี่ยวกับการล้มล้างรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ และการแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครอง. | -การ ๒ | น. ผู้ทำ, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาสคำบาลีและสันสกฤต เช่น กรรมการ ตุลาการ, ถ้าอยู่หลังคำอื่นที่ไม่ใช่คำศัพท์ มีความหมายเป็นเฉพาะก็มี เช่น กงการ เจ้าการ นักการ ผู้บังคับการ ผู้กำกับการ. | ข้าราชการ | บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง ทบวง กรม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้าราชการทหาร ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ. | ดะโต๊ะยุติธรรม | น. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม. | ผู้พิพากษาสมทบ | น. บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายจัดตั้งศาลชำนัญพิเศษ ให้เป็นองค์คณะร่วมกับผู้พิพากษาซึ่งเป็นข้าราชการตุลาการ มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดี เช่น ผู้พิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครัว ผู้พิพากษาสมทบในศาลแรงงาน. | พิพากษา | ก. ตัดสินคดีโดยศาล, เรียกตุลาการผู้ทำหน้าที่ตัดสินดังกล่าว ว่า ผู้พิพากษา, เรียกคำตัดสินนั้น ว่า คำพิพากษา. | แมยิสเตร็ด | น. ผู้ทำหน้าที่ตุลาการในศาลชั้นต้นของต่างประเทศซึ่งอาจจะเป็นผู้พิพากษาอาชีพหรืออาสาสมัครก็ได้. | ศาล | (สาน) น. องค์กรฝ่ายตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี, ผู้พิพากษาหรือตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ | น. องค์กรใหญ่ฝ่ายตุลาการขององค์การสหประชาชาติ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีอำนาจจำกัดเฉพาะการพิจารณาตัดสินคดีแพ่งที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศสมาชิกขององค์การสหประชาชาติด้วยกัน ซึ่งประเทศคู่กรณียินยอมให้ศาลเป็นผู้พิจารณาตัดสินเท่านั้น. | ศาลหลวง | น. ที่พิจารณาตัดสินคดีความของคณะตุลาการตั้งอยู่นอกพระราชวังหลวง, ศาลาลูกขุนนอก ก็เรียก. | ศาลาลูกขุนนอก | น. ที่พิจารณาตัดสินคดีความของคณะตุลาการตั้งอยู่นอกพระราชวังหลวง, ศาลหลวง ก็เรียก. | สุภา | น. ตุลาการ. |
| power, judicial | อำนาจตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Lord Chancellor; Lord High Chancellor | ประธานฝ่ายตุลาการอังกฤษ (เป็นประธานสภาขุนนางด้วย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | arbitrator | อนุญาโตตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | award | คำวินิจฉัยของอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | award | ๑. คำตัดสินชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ๒. รางวัลเกียรติคุณ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | arbitrament | คำวินิจฉัยชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | arbitration | การอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | arbitration | การใช้อนุญาโตตุลาการ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | arbitration | การอนุญาโตตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | arbitration clause | ข้อกำหนดการใช้อนุญาโตตุลาการ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | arbitration, compulsory | การอนุญาโตตุลาการโดยบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | arbitrator | อนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Judicial Service Commission | คณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Judicial Service Commission | คณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) (ไทย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judiciary | ฝ่ายตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judiciary | ฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | justice in eyre | ตุลาการจร [ ดู itinerant justices ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicial authority | เจ้าหน้าที่ฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicature | องค์การฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicial | เกี่ยวกับฝ่ายตุลาการ, เกี่ยวกับการศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicial function | ตำแหน่งฝ่ายตุลาการ, อำนาจหน้าที่ฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicial immunity | ความคุ้มกันทางตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judicial immunity | ความคุ้มกันทางตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicial power | อำนาจตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judicial power | อำนาจตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | quasi-judicial | กึ่งตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | quasi-judicial | กึ่งตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | quasi-arbitrator | คล้ายอนุญาโตตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Military Judicial Commission | คณะกรรมการตุลาการทหาร (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | compulsory arbitration | การอนุญาโตตุลาการโดยบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional tribunal | คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional tribunal | ศาลรัฐธรรมนูญ, คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Commission, Judicial Service | คณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | itinerant justices | ตุลาการจร [ ดู justice in eyre ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | immunity, judicial | ความคุ้มกันทางตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | tribunal, constitutional | คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | tribunal, constitutional | ศาลรัฐธรรมนูญ, คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Arbitration | อนุญาโตตุลาการ, Example: การระงับข้อพิพาททางเลือก (alternative dispute resolution) วิธีหนึ่ง โดยการที่คู่กรณีตกลงเสนอข้อพิพาทให้บุคคลหรือคณะบุคคลที่เรียกว่า “อนุญาโตตุลาการ” ทำหน้าที่พิจารณาชี้ขาดข้อพิพาทนั้น และคู่กรณีตกลงที่จะเห็นด้วยตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้ สำนักงานได้จัดให้มีกระบวนการระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการตามนโยบายของคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่เห็นสมควรให้มีมาตรการคุ้มครองสิทธิของผู้ลงทุนซึ่งเป็นลูกค้าของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์หรือที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ หรือผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เนื่องจากมีผู้ลงทุนได้รับความเสียหายจากการที่ผู้ประกอบการดังกล่าวไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งการที่ผู้ลงทุนจะได้รับการชดเชยความเสียหายดังกล่าวอาจมีภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมากจนไม่คุ้มกับความเสียหายที่ได้รับ หรืออาจต้องใช้ระยะเวลานานในการดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรมทั่วไป จึงได้เพิ่มช่องทางให้ผู้ลงทุนมีทางเลือกในการเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้ประกอบการผ่านวิธีอนุญาโตตุลาการ ซึ่งเป็นวิธีการระงับข้อพิพาทที่สะดวก รวดเร็ว เป็นธรรม และประหยัดค่าใช้จ่าย โดยกำหนดกระบวนการระงับข้อพิพาทเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนแรก คือ กระบวนการรับข้อร้องเรียนภายในของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์หรือที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ หรือผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า โดยเมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้นระหว่างผู้ลงทุนกับผู้ประกอบการดังกล่าว ผู้ลงทุนต้องดำเนินการร้องเรียนตามกระบวนการรับข้อร้องเรียนภายในของผู้ประกอบการก่อน ขั้นตอนที่สอง คือ กระบวนการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการของสำนักงาน โดยในกรณีที่ไม่สามารถระงับข้อพิพาทได้ในขั้นตอนแรก เช่น ลูกค้าและผู้ประกอบการไม่สามารถตกลงกันได้ หรือผู้ประกอบการไม่ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนภายในระยะเวลาที่กำหนด เป็นต้น คู่กรณีสามารถเข้าสู่กระบวนการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการ โดยผ่านการตกลงด้วยความสมัครใจของทั้งสองฝ่ายหากเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับธุรกิจหลักทรัพย์หรือกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือเข้ามาโดยผลของกฎหมายผ่านการแสดงความประสงค์เป็นหนังสือของลูกค้าไปยังผู้ประกอบการหากเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ทั้งนี้ ไม่ว่าในกรณีใด ผู้ร้องสามารถเลือกที่จะให้สำนักงานเป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนเริ่มกระบวนการอนุญาโตตุลาการได้ หากคู่กรณียังไม่สามารถตกลงกันได้จึงจะเข้าสู่กระบวนการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการต่อไป [ตลาดทุน] | Arbitration agreements, Commercial | อนุญาโตตุลาการการค้า [TU Subject Heading] | Arbitration and award | อนุญาโตตุลาการและการตัดสิน [TU Subject Heading] | Arbitration and award, International | อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศและการตัดสิน [TU Subject Heading] | Arbitration, International | อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ [TU Subject Heading] | Arbitrators | อนุญาโตตุลาการ [TU Subject Heading] | Compensation for judicial error | ค่าสินไหมทดแทนสำหรับความผิดพลาดทางตุลาการ [TU Subject Heading] | Convention on the Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Award (1958) | อนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับและใช้บังคับตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ (ค.ศ. 1958) [TU Subject Heading] | Judicial error | ความผิดพลาดทางตุลาการ [TU Subject Heading] | Judicial ethics | จรรยาบรรณของตุลาการ [TU Subject Heading] | Judicial independence | ความเป็นอิสระแห่งอำนาจตุลาการ [TU Subject Heading] | Judicial power | อำนาจตุลาการ [TU Subject Heading] | award | คำตัดสินอนุญาโตตุลาการ (ใช้ในแง่การระงับกรณีพิพาท) [การทูต] | arbitration | การอนุญาโตตุลาการ [การทูต] | Convention on Elimination of All Forms of Discrimination Against Women | อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ได้รับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2522 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน 2527 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบและเพื่อความ เสมอภาคระหว่างสตรีและบุรุษในทุกด้าน ขณะนี้มีประเทศต่าง ๆ เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 167 ประเทศ (ข้อมูลถึงกรกฎาคม 2543) ไทยยังคงมีข้อสงวนอีก 2 ข้อ ในอนุสัญญาฯ คือ ข้อ 16 เรื่องความเสมอภาคในด้านครอบครัวและการสมรส และ ข้อ 29 เรื่องการระงับการตีความ การระงับข้อพิพาท โดยรับอนุญาโตตุลาการ [การทูต] | Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] | Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] | The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] |
| You had to. - (cash till rings) | ใช่ฉันจะมีหนึ่งในตุลาการ How I Won the War (1967) | There will be a trial, a great trial... before a powerful magistrate. | จะมีการไต่สวนคดีความ การไต่สวนครั้งใหญ่ ต่อหน้าตุลาการที่ทรงอำนาจ และคุณ คุณจะมีความผิด The Red Violin (1998) | Justice. | ไพ่ตุลาการ The Red Violin (1998) | The Executive, the Legislative, and the Judicial. | บริหารนิติบัญญัติและตุลาการ Sex Trek: Charly XXX (2007) | All I need is a jury to like me, isn't that what you told me? | งหมด ที่ ฉัน ต้องการ คือ คณะ ตุลาการ เพื่อ ต้องการ ฉัน \ Nisn't ว่า สิ่ง ที่ คุณ บอก ฉัน Law Abiding Citizen (2009) | You know, the one with the 12 judges... that decide to hand out the wrong form of justice? | เอ่อ ไอ้ที่มีตุลาการ 12 คน ที่มันตกลงกันยื่นแบบอย่างที่ผิดๆกับความยุติธรรม Wrong Turn 3: Left for Dead (2009) | 23 years on the bench, I've never been swayed by anyone or anything. | อยู่บนบัลลังก์ของตุลาการมา23 ปี ฉันไม่เคยถูกใครครอบงำทั้งนั้น Fa Guan (2009) | What, like a jury? | สิ่งเช่นคณะตุลาการหรือไม่ Justice (2009) | Lord Chief Justice. That would be the official title | ตุลาการสูงสุด ซึ่งคงเป็นตำแหน่งคุณ Sherlock Holmes (2009) | I will now introduce the the esteemed members of the judiciary who have graced this event with their participation to present the Certificates of Appointment. | ผมขอแนะนะ คณะตุลาการที่น่านับถือ ผู้มีพระคุณที่มีส่วนร่วมในงานนี้ Prosecutor Princess (2010) | Between the Judiciary and Congress, daggers have been drawn. | ฝ่ายตุลาการและฝ่ายนิติบัญญัติก็ชักมีดเข้าหากัน Dae Mul (2010) | Uh, first contention is a broad claim that the separation of powers doctrine precludes judicial review of a claim of privilege... | ข้อโต้แย้งแรกคือ การเรียกร้องทั่วไป ให้หลักการแบ่งแยกอำนาจ ต้องห้ามไม่ให้ตุลาการภิวัฒน์ ในข้อเรียกร้องของเอกสิทธิ์ Taking Account (2011) | The separation of powers doctrine precludes judicial review of a claim of privilege... | หลักการแบ่งแยกอำนาจ ต้องห้ามไม่ให้ตุลาการภิวัฒน์ ในข้อเรียกร้องของเอกสิทธิ์ Taking Account (2011) | The news was talking about a grand jury, but they didn't say when. | ในข่าวเขาพูดถึง คณะตุลาการ แต่เขาไม่ได้บอกว่าตอนไหน Granite State (2013) | How long has the Department of Justice been watching the BAU? | ตุลาการจับตามองหน่วย BAU มานานเท่าไหร่แล้ว Brothers Hotchner (2013) | We believe that this unsub is targeting the rest of us, and we've determined that he's someone within the highest levels of the justice system and he's been reading the details of my reports. | เราเชื่อว่าอันซับคนนี้พุ่งเป้ามาที่พวกเราที่เหลือ และเราคิดว่าเขาเป็นคนนึง ที่มีอำนาจสูงในคณะตุลาการ Brothers Hotchner (2013) | Minister of Justice, Chancellor, it's an honor to have you here. | รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ท่านตุลาการใหญ่ เป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ท่านมาที่นี่ครับ Episode #1.2 (2013) | You have all called on Stormwind in the past. Either for troops or arbitration. | ในอดีตพวกเจ้าเคยขอให้สตอร์มวินด์ช่วยเหลือ ไม่ว่าด้านกำลังหรือทางตุลาการ Warcraft (2016) | He went for senior judiciary to crush HAN. | เขาไปพบกับฝ่ายตุลาการรุ่นพี่ เพื่อบดขยี้ หน.ฮัน The King (2017) |
| อำนาจตุลาการ | [amnāt tulākān] (n, exp) EN: judicial power ; judiciary power ; judiciary FR: pouvoir judiciaire [ m ] | อนุญาโตตุลาการ | [anuyātōtulākān] (n) EN: arbitrator ; umpire FR: arbitre [ m ] | ฝ่ายตุลาการ | [fāi tulākān] (n, exp) EN: judiciary | การบริหารงานตุลาการ | [kān børihān ngān tulākān] (n, exp) EN: judicature | คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ | [khamchīkhāt khøng anuyātōtulākān] (n, exp) EN: arbitration award | กฎหมายอนุญาโตตุลาการ | [kotmāi anuyātōtulākān] (n, exp) EN: arbitrator | ตุลาการ | [tulākān] (n) EN: judge ; arbitrator ; arbiter ; adjudicator ; body of judges ; bench FR: juge [ m ] ; magistrat [ m ] ; magistrature [ f ] | ตุลาการ | [tulākān] (n) EN: judicial service ; justice ; judiciary FR: système judiciaire [ m ] |
| | | arbiter | (อาร์'บิเทอะ) n. ผู้ตัดสิน, ตุลาการ, คนชี้ขาด, ผู้กำชะตาชีวิต, อนุญาโตตุลาการ (judge) | arbitrage | (อาร์'บิทราซฺ) n. การค้ากำไร, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ | arbitrament | (อาร์บิท'ระเมินทฺ) n. การตัดสิน, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ | arbitrate | (อาร์'บิเทรท) vt., vi. ตัดสิน (โดยอนุญาโตตุลาการ) , เสนอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาด (อนุญาโตตุลาการ) . -arbitrable adj., -arbitrator n. (judge, mediate, intercede) | arbitration | (อาร์บิเทร'เชิน) n. การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ, การชี้ขาด, การตัดสิน. | bench | (เบนชฺ) { benched, benching, benches } n. ม้านั่ง, บัลลังก์ (ตุลาการ) , ผู้พิพากษา, ศาล, ม้านั่งยาวสำหรับหลายคนนั่ง vt. วาง (ม้านั่ง) ตั้งไว้, วางแสดง, ทำให้นั่งอยู่ที่นั่ง | chancellery | (ชาน'ชะเลอรี) n. ตำแหน่งเสนาบดี, สำนักงานเสนาบดี, รัฐมนตรี, ตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีของบางประเทศ, สถานเอกอัครราชฑูต, สถานกงสุลใหญ่, เจ้าหน้าที่ทั้งหมดของสถานเอกอัครราชฑูต (หรือกงสุล) , เลขานุการเอกอัครราชทูต (หรือกงสุล) , นายกรัฐมนตรี (ของบางประเทศ) , ตุลาการใหญ่ของบางประเ | chancellor | (ชาน'ซะเลอ) n. เสนาบดี, อัครมหาเสนาบดี, นายกรัฐมนตรี, เอกอัครราชทูต, ตุลาการใหญ่, See also: chancellorship n. | judge | (จัดจฺ) { judged, judging, judges } n. ผู้พิพากษา, ตุลาการ, ผู้ตัดสิน v. พิพากษา, ตัด, สิน, ชี้ขาด, วินิจฉัย, เดา, ประมาณ, ปกครอง., See also: judgeable adj. ดูjudge judger n. ดูjudge judgeship n. ดูjudge | juror | (จัว'เรอะ) n. ลูกขุน, ตุลาการ, กรรมการตัดสิน, ผู้ให้คำปฏิญาณ | jury | (จัว'รี) n. คณะลูกขุน, คณะตุลาการ, คณะกรรมการผู้พิจารณา การให้รางวัลและการตัดสิน adj. ใช้ชั่วคราว, ชั่วคราว | justiciar | (จัสทิช'ชีเออะ) n. เจ้าหน้าที่ตุลาการชั้นสูง, See also: justiciarship n. | justiciary | (จัสทิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการพิจารณาอรรถคดีโดยศาลยุติธรรม n. ที่ทำการหรืออำนาจหน้าที่ของตุลาการ | squire | (สไคว'เออะ) n. (ในอังกฤษ) ผู้ดีบ้านนอก, คหบดีบ้านนอก, ผู้รับใช้นักรบสมัยก่อน, นาย, ทนายความ, ตุลาการ, ผู้เอาอกเอาใจสตรี, เจ้าหน้าที่รักษาความสงบ. vt. รับใช้นักรบ, ปรน-นิบัติ, เอาอกเอาใจ., Syn. valet, attendant, page | tribunal | (ไทรบิว'เนิล) n. ศาลยุติธรรม, บัลลังก์ตุลาการ, บัลลังก์พิจารณาพิพากษาอรรถคดี |
| arbiter | (n) ผู้ตัดสิน, ตุลาการ, ผู้ชี้ขาด | judge | (n) ผู้พิพากษา, ผู้พิจารณา, ผู้ตัดสิน, ตุลาการ | judiciary | (n) ศาล, ตุลาการ, ผู้พิพากษา, การพิจารณาคดี | jury | (n) คณะตุลาการ, คณะลูกขุน | juryman | (n) ตุลาการ, ลูกขุน |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |