ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ดรรชนี, -ดรรชนี- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ดรรชนี | (n) index, Syn. ดัชนี, Example: เวลาเราค้นหนังสือ เราสามารถค้นได้ทั้งดรรชนีผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง หรือดรรชนีหัวเรื่อง, Thai Definition: บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้นๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนี | (n) index finger, See also: forefinger, second finger, Syn. นิ้วชี้, ดัชนี, Example: อิงอรเป็นผู้แต่งเรื่องดรรชนีนาง, Count Unit: นิ้ว, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนี | (n) index, See also: list, Syn. ดัชนี, Thai Definition: ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนี | (n) index number, Syn. ดัชนี, Thai Definition: ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนี | (n) index finger, See also: forefinger, Syn. นิ้วชี้, Example: อิงอรเป็นผู้แต่งเรื่องดรรชนีนาง, Count Unit: นิ้ว, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนี | (n) index, Syn. ดัชนี, Example: เวลาเราค้นหนังสือ เราสามารถค้นได้ทั้งดรรชนีผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง หรือดรรชนีหัวเรื่อง, Thai Definition: บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้นๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนีหักเห | (n) refractive index, See also: index of refraction, Syn. ดัชนีหักเห, Example: เมื่อเขาโยนลูกบอลกระดอนแตะพื้นไปยังกำแพง ดรรชนีหักเหจะเป็นเท่าไร, Thai Definition: ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง | ดรรชนีหักเห | (n) refractive index, See also: index of refraction, Syn. ดัชนีหักเห, Example: เมื่อเขาโยนลูกบอลกระดอนแตะพื้นไปยังกำแพง ดรรชนีหักเหจะเป็นเท่าไร, Thai Definition: ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง |
|
| ดรรชนี ๑ | (ดัดชะนี) น. นิ้วชี้, นิ้วที่อยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วกลาง, ราชาศัพท์ว่า พระดรรชนี, ดัชนี ก็ใช้. | ดรรชนี ๒ | (ดัดชะนี) น. จำนวนที่เขียนไว้บนมุมขวาของอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ฐาน เพื่อแสดงการยกกำลังของฐานนั้น เช่น ๓<sup>๒</sup> ๒ เป็นดรรชนีของ ๓ | ดรรชนี ๒ | ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง เช่น ดรรชนีค่าครองชีพ | ดรรชนี ๒ | ดัชนี ก็ใช้. | ดรรชนีหักเห | น. ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง, ดัชนีหักเห ก็ใช้. | ดรรชนี ๓ | น. บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญ ๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้น ๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, ดัชนี ก็ใช้. | ดัชนี ๑ | (ดัดชะนี) น. นิ้วชี้, นิ้วที่อยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วกลาง, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระดัชนี, ดรรชนี ก็ใช้. | ดัชนี ๒ | ดรรชนี ก็ใช้. | ดัชนีหักเห | น. ดัชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง, ดรรชนีหักเห ก็ใช้. | ดัชนี ๓ | น. บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญ ๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้น ๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, ดรรชนี ก็ใช้. | นวนิยาย | น. บันเทิงคดีร้อยแก้วขนาดยาวรูปแบบหนึ่ง มีตัวละคร โครงเรื่อง เหตุการณ์ในเรื่อง และสถานที่ ที่ทำให้เนื้อเรื่องมีความสมจริง เช่น เรื่องหญิงคนชั่ว ของ ก. สุรางคนางค์ เรื่องเรือมนุษย์ ของ กฤษณา อโศกสิน, ถ้ามีขนาดสั้น เรียกว่า นวนิยายขนาดสั้น เช่น เรื่องดรรชนีนาง ของ อิงอร เรื่องสร้อยทอง ของ นิมิต ภูมิถาวร. | ละครเวที | น. ละครแบบหนึ่ง แสดงบนเวที มีฉากสมจริงและมีการปิดเปิดม่าน ผู้แสดงดำเนินเรื่องด้วยบทเจรจา เช่น เรื่องผกาวลี ดำเนินเรื่องโดยการแสดงบทและเจรจาอาจมีเพลงแทรกบ้าง เช่น ละครอิงประวัติศาสตร์ของหลวงวิจิตรวาทการ ดรรชนีนาง ขุนศึก ศรอนงค์ พันท้ายนรสิงห์. |
| plasticity index (PI) | ดรรชนีพลาสติก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | refractive index | ดรรชนีหักเห [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | refractometer | มาตรดรรชนีหักเห [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | superscript | ดรรชนีบน, ตัวยก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | superscript | ๑. ดรรชนีล่าง, ตัวห้อย๒. ดรรชนีกำกับ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | superscript | ตัวยก, ดรรชนีบน, ดัชนีบน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | subscript | ๑. ดรรชนีล่าง, ตัวห้อย๒. ดรรชนีกำกับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | subscript | ดรรชนีบน, ตัวยก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | subscript | ตัวห้อย, ดรรชนีล่าง, ดัชนีล่าง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | antiknock index | ดรรชนีต้านการน็อก [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | antiknock index | ดรรชนีกันน็อก [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | alkali-lime index | ดรรชนีแอลคาไล-ไลม์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | Abbe refractometer | มาตรดรรชนีหักเหแอบเบ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | clearness index | ดรรชนีความใส [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | floating-point | ๑. -จุดลอยตัว๒. อิงดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | fixed-base index | ดรรชนีฐานตรึง, ดัชนีฐานตรึง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | fixed-point | ๑. -จุดตรึง๒. ไม่อิงดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | indices; index; indexes; indices (pl.) | ดัชนี, ดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | index file | แฟ้มเก็บดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | index fossil | ซากดึกดำบรรพ์ดรรชนี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | index mineral | แร่งดรรชนี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | index number | เลขดัชนี, เลขดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | index number | เลขดรรชนี, เลขดัชนี [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | indices (pl.); index; indexes; indices | ดัชนี, ดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | ISAM (indexed sequential access method) | ไอแซม (วิธีเข้าถึงลำดับดรรชนี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | index | ๑. นิ้วชี้ [ มีความหมายเหมือนกับ forefinger ]๒. ดรรชนี, ดัชนี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | index; indexes; indices; indices (pl.) | ดัชนี, ดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | index | ดรรชนี, ดัชนี [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | indexed address | เลขที่อยู่เชิงดรรชนี [ มีความหมายเหมือนกับ variable address ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | indexed addressing | การกำหนดเลขที่อยู่โดยดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | indexed file | แฟ้มดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | indexed sequential access method (ISAM) | วิธีเข้าถึงลำดับดรรชนี (ไอแซม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | indexed sequential file | แฟ้มลำดับดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | indexed word | คำดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | indexes; index; indices; indices (pl.) | ดัชนี, ดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | index register | เรจิสเตอร์ดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | VI (viscosity index) | วีไอ (ดรรชนีความหนืด) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | viscosity index (VI) | ดรรชนีความหนืด (วีไอ) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Periodical index | ดรรชนีวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา] | Title index | ดรรชนีชื่อเรื่อง [เทคโนโลยีการศึกษา] | Thumb index | ดรรชนีหัวแม่มือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Index | ดรรชนี หรือ ดัชนี, Example: ดรรชนี หรือ บัญชีค้นคำ (index) เป็นการนำหัวข้อย่อยๆ และคำบางคำ ที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง มาจัดเรียงตามลำดับอักษร แล้วกำกับด้วยเลขหน้าที่หัวข้อย่อย และคำบางคำนั้นปรากฏอยู่ เพื่อช่วยให้ผู้อ่าน ได้ค้นหาเรื่องราวไปยังข้อมูลและแหล่งข้อมูลได้ตามต้องการและรวดเร็วขึ้น และเป็นการควบคุมทางบรรณานุกรมสำหรับสารสนเทศในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งตามวัตถุประสงค์ของผู้จัดทำดรรชนี <p>โครงสร้างของดรรชนี ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน ดังนี้คือ <p>1. คำ กลุ่มคำ วลี ข้อความ ที่ใช้แทนเนื้อหา อาจเป็นคำที่ปรากฏอยู่ในเอกสาร เป็นคำที่ปรากฏใช้บ่อบในเอกสาร หรือเป็นคำศัพท์มาตรฐานที่นำมาจากคู่มือหัวเรื่อง หรือศัพท์สัมพันธ์ <p>2. ข้อมูลชี้แหล่งหรือตำแหน่งของสารสนเทศ เช่น ข้อมูลทางบรรณานุกรมของดรรชนีวารสาร ได้แ่ก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ วันเดือนปี และเลขหน้า เล่มที่ และหน้าที่ปรากฏเนื้อหา เป็นต้น <p>ประเภทของดรรชนี จำแนกได้ ดังนี้ <p>1. จำแนกตามทรัพยากรสารสนเทศที่นำมาจัดทำ 3 ประเภท คือ <p>1.1 ดรรชนีวารสาร (Periodical index) <p>1.2 ดรรชนีหนังสือพิมพ์ (Newsapers index) <p>1.3. ดรรชนีหนังสือเล่ม (Book index) <p>2. จำแนกตามวิธีการจัดทำ แบ่งเป็น <p>2.1 ดรรชนีที่ทำด้วยระบบมือ (Manual system) จำแนกเป็น ใช้วิธีค้นคำหรือกลุ่มคำจากเอกสารตามที่ปรากฏ หรือการกำหนดคำหรือวลีซึ่งใช้เป็นตัวแทนเนื้อหา ได้แก่ ภาษาดรรชนี เช่น หัวเรื่อง ศััพท์สัมพันธ์ <p>2.2 ดรรชนีที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยกำหนดให้คอมพิวเตอร์ดึงคำ วลี หรือกลุ่มคำจากเอกสาร <p>3. จำแนกตามองค์ประกอบหรือลักษณะของดรรชนี มีรายละเอียด ดังนี้ <p>3.1 มีข้อมูลตัวแทน ข้อมูลระบุลักษณะ และข้อมูลชี้แหล่ง เช่น ดรรชนีวารสาร จะระบุคำหัวเรื่องซึ่งเป็นตัวแทนเนื้อหา ระบุชื่อผู้เขียนบทความ ชื่อบทความ ซึ่งเป็นข้อม฿ูลระบุลักษณะ และระบุข้อมูลชี้แหล่ง คือ ชื่อวารสาร วันเดือนปี และเลขหน้าที่เรื่องนั้นๆ ปรากฏ <p>3.2 มีข้อมูลตัวแทนและข้อมูลชี้แหล่ง แต่ไมีมีข้อมูลระบุลักษณะ ได้แก่ ดรรชนีท้ายเล่มหนังสือ ซึ่งมีตำ หรือวลี เป็นข้อมูลตัวแทนเนื้อหา และระบุเลขหน้าที่คำนั้นๆ ปรากฏ <p>3.3 มีข้อมูลตัวแทนและข้อมูลระบุลักษณะ แต่อาจมีหรือไม่มีข้อมูลชี้แหล่ง เช่น ดรรชนีควิก (Kwic index) และดรรชนีควอก (Wkoc index) <p>4. จำแนกตามแหล่งที่อยู่ของดรรชนี ได้แก่ <p>4.1 ดรรชนีที่อยู่กับแหล่งสารสนเทศ ได้แก่ ท้ายเล่มหนังสือ (Book index) ประกอบด้วย ดรรชนีชื่อผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง ดรรชนีหัวเรื่อง และดรรชนีคำสำคัญ <p>4.2 ดรรชนีที่อยู่ต่างหาก (Independent index) เช่น ดรรชนีในรูปบัตร รูปเล่ม และฐานข้อมูลดรรชนี เช่น ดรรชนีวารสารและหนังสือพิมพ์ ฐานข้อมูลสำเร็จรูปต่างๆ เช่น ERIC, DAO เป็นต้น และรายการในบัตรรายการประเภทต่างๆ เป็นต้น <p>รายการอ้าอิง: <p>ทัศนา หาญพล. "การทำดรรชนี" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ หน้า 224-248. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Indexing | การทำดรรชนี, Example: <p>การทำดัชนี Indexing <p>การจัดทำดรรชนี (Indexing) เป็นกระบวนการวิเคราะห์เนื้อหาของความรู้ โดยนำเอาเนื้อหาสำคัญและแนวคิด (concept) ที่ได้จากความรู้นั้นมาจัดทำเป็นภาษาในระบบการจัดทำดรรชนี และนำมาจัดเรียงตามลำดับอักษร เพื่อสะดวกในการค้นหาเรื่องที่ต้องการ ดรรชนีช่วยผู้ใช้ให้เข้าถึงสารนิเทศที่ต้องการได้อย่างสมบูรณ์ ดรรชนีเป็นเครื่องมือที่มีการสร้างไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่เนื้อหาของหัวข้อ เรื่องที่ผู้ใช้ต้องการ หรือชี้แนะไปยังแหล่งสารนิเทศที่มีเอกสารที่ต้องการ มีส่วนประกอบสำคัญคือ <p>1 คำสำคัญ (Keyword / descriptor) เป็นคำที่ใช้แทนสาระของเอกสาร <p>2 รายการทางบรรณานุกรม (Bibliographic description) แสดงถึงลักษณะทางกายภาพของเอกสารพร้อมด้วยรหัสของเอกสาร เพื่อแสดงแหล่งที่ปรากฎของสารนิเทศ <p>คุณลักษณะของเนื้อหาที่จำเป็นสำหรับการจัดทำดรรชนี <p>1 เลขหมู่หนังสือ (Classification code) <p> 2 หัวเรื่อง (Subject headings) <p>บรรณานุกรม : เพชราภรณ์ จันทรสูตร์, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนำดรรชนีและสาระสังเขป กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliometric | ดัชนีวรรณกรรม, ดรรชนีวรรณกรรม, Example: <p>Bibliometrics คือการศึกษาหรือวิธีการวัด (Measure) สารสนเทศ หรือข้อความชุดหนึ่ง มีพัฒนาการมายาวนานกว่า 40 ปี นับเป็นเครื่องมือมาตรฐานในการประเมินงานวิจัย จัดอยู่ในสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สามารถนำไปประยุกต์ในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้มากมาย <p>การใช้วิธีการ Bibliometrics เพื่อค้นหาผลกระทบ (Impact) ในทุกระดับ คือ ระดับบทความ (Paper) ระดับสาขาวิชา (Field) ระดับนักวิจัย (Researcher) ระดับสถาบัน (Institutes / Affiliations ) และระดับประเทศ (Country ) <p>วิธีการของ Bibliometrics มีการนำไปใช้เพื่อตรวจสอบถึงความสัมพันธ์ระหว่างการอ้างอิงของวารสารวิชาการ ข้อมูลการอ้างอิงถือว่ามีความสำคัญ ดัชนีการอ้างอิงที่ผลิตโดยบริษัท Thomson Reuters ในฐานข้อมูล Web of Science และ Elsevier B.V. ในฐานข้อมูล Scopus ผู้สืบค้นสามารถค้นบทความที่อ้างอิงกันไปมาได้ ดัชนีการอ้างอิงสามารถสื่อถึงความเป็นที่นิยม มีผลกระทบต่อบทความ ผู้แต่ง และวารสาร <p>Bibliometrics เป็น Truly Interdisciplinary Research มีกลุ่มเป้าหมายหลักที่ศึกษา 3 กลุ่ม คือ <p>1 .Bibliometrics for Bibliometricians (Methodology เน้นหาวิธีการ เทคนิคต่าง ๆ) <p>2. Bibliometrics for scientific disciplines (Scientific information) เป็นกลุ่มที่มีความสนใจกว้างขวางมากที่สุด <p>3. Bibliometrics for Sciences Policy & Management (ศึกษาในระดับชาติ ภูมิภาค สถาบัน ด้วยการแสดงแบบเปรียบเทียบหรือพรรณา) <p>การประยุกต์ดัชนี Bibliometrics แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. เชิงปริมาณ (Quantitative) <p>- จำนวนบทความ (No. of Publications) ตามรายปี สถาบัน ประเทศ สาขาวิชา เป็นต้น <p>- จำนวนการได้รับการอ้างอิง (No. of Citations : Citing, Cited) <p>- จำนวนที่มีผู้เขียนร่วม (No. Co-Authors) <p>- จำนวนสิทธิบัตร (No. Patents) การยื่นขอจดสิทธิบัตรจากพลเมืองตนเองหรือต่างชาติ <p>2. เชิงความสัมพันธ์ (Relation) <p>- ดัชนีผลงานตีพิมพ์ร่วมกัน (ความเป็นนานาชาติ) <p>- ดัชนีเชื่อมโยงจากบทความอ้างอิง (หาคำตอบประเทศใดอ้างอิงถึงประเทศใดบ้าง) <p>- ดัชนีสัมพันธ์บทความวิชาการกับสิทธิบัตร <p>- ดัชนีอ้างอิงบทความร่วมกัน (วัดหาการอ้างอิงถึงบทความ 2 บทความ ในบทความเดียวกัน) <p>บรรณานุกรม <p>รังสิมา เพ็ชรเม็ดใหญ่. ความรู้พื้นฐาน Bibliometrics ประวัติ พัฒนาการ & การประยุกต์. 2551. Available at : http://www.slideshare.net/nstda/bibliometrics. Accessed August 6, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Indexer | ผู้ทำดรรชนี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Periodical index | ดรรชนีวารสาร, Example: <p>ดรรชนีวารสาร (Periodical Index) เป็นดรรชนีที่จำแนกตามลักษณะของทรัพยากรสารสนเทศ จัดทำขึ้นเพื่อนำผู้ใช้ไปยังวารสารที่มีบทความนั้นๆ ปรากฏอยู่ ดรรชนีวารสารจำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ <p>1. ใช้้ค้นบทความทั่วๆ ไป ที่ลงในวารสารต่างๆ ไม่เจาะจงชื่อวารสารชื่อใดชื่อหนึ่ง เช่น Reader's Guide to Periodical Literature ซึ่งเป็นดรรชนีวารสาร นิตยสาร วารสารทางวิชาการ จัดทำขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1901 โดย H.W. Wilson Company <p>ตัวอย่าง Reader's Guide to Periodical Literature <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Readers-Guide.jpg" alt="Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>วิธีการใช้ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Sample-Readers-Guide.jpg" width="640" higth="200" alt="How to Use Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งเป็น 2 ฐานข้อมูล คือ Readers' Guide to Periodical Literature ซึ่งครอบคลุมข้อมูลตั้งแต่ปี 1983 ถึงปัจจุบัน (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-to-periodical-literature) และ Readers' Guide Retrospective: 1890-1982 ครอบคลุมข้อมูลของปี 1890-1982 (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-retrospective) <p>2. ใช้ค้นเรื่องที่ลงในวารสารชื่อเรื่องใดชื่อเรื่องหนึ่ง อาจเป็นสำนักพิมพ์ที่จัดพิมพ์วารสารนั้นๆ จัดทำขึ้น เช่น ดรรชนีราชกิจจาบุเบกษา <p>3. ใช้ค้นเรื่องในสาขาเฉพาะที่ตีพิมพ์ในวารสาร เช่น Applied Science & Technology Index ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ โดย EBSCO <p>รายการอ้างอิง: <p>ทัศนา หาญพล. "การทำดรรชนี" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ หน้า 224-248. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. <p>City College of San Francisco. Finding Periodical Articles Using Print Indexes. Available: http://www.ccsf.edu/Librar/printindexes.pdf. Accessed: 20120416. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Relative index | ดรรชนีสัมพันธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Thumb index | ดรรชนีหัวแม่มือ, ดรรชนีริมกระดาษ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Title index | ดรรชนีชื่อเรื่อง, Example: <p>เป็นการทำดรรชนีโดยการนำชื่อเรื่องของหนังสือ บทความ และเอกสารอื่นๆ มาลงรายการดรรชนีเป็นรายการหลัก และปรากฏอยู่ที่ท้ายเล่มของดรรชนีของหนังสือ ดรรชนีวารสาร และดรรชนีหนังสือพิมพ์ หรือปัจจุบันมีการทำดรรชนีชื่อเรื่องให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตด้วย <p>ตัวอย่าง ดรรชนีชื่อเรื่อง ของวารสารประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p><p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Pop-Ti-Index.jpg" width="640" higth="200" alt="Population Science Title Index"> <p>ตัวอย่าง การให้บริการดรรชนีชื่อเรื่องทางอินเทอร์เน็ตของ TDRI <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-TDRI-Ti2.jpg" width="640" higth="200" alt="TDRI Title Index"> <p>การทำดรรชนีชื่อเรื่องเป็นลักษณะฐานข้อมูลและให้บริการทางอินเทอร์เน็ตนั้น เอื้ออำนวยเป็นอย่างมากในการเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลโดยตรง <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-TDRI-Ti-Full-Text.jpg" width="640" higth="200" alt="TDRI Title Index Full Text"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Thumb index | ดรรชนีริมกระดาษ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Abstracting and Indexing | สาระสังเขปและดรรชนี, การทำสาระสังเขปและดรรชนี [การแพทย์] | Acetabular Index | ค่าดรรชนีอะเซตาบูลัม [การแพทย์] | Birth Rate Ratio | ดรรชนีชีพ, ดัชนีชีพ [การแพทย์] | Cephalic Index | ดรรชนีศีรษะ [การแพทย์] | Factors, Difficulty | ดรรชนีความสามารถ [การแพทย์] | Icing index | ดรรชนีการจับแข็ง [อุตุนิยมวิทยา] | Key-Word-in-Context | ดรรชนีควิก, Example: ดรรชนีควิก (KWIC: Key-Word-in-Context) เป็นการทำดรรชนีคำสำคัญจากชื่อเรื่อง มีลักษณะเป็นดรรชนีเวียนคำ (permutation index) คือ หมุนเวียนใช้คำนาม หรือคำแทนนามทุกคำที่ปรากฏในชื่อเรื่องมาเป็นดรรชนี เรียงตามลำดับอักษร ให้ทุกคำอยู่ในตำแหน่งที่ตรงกันไม่ว่าคำนั้นจะเป็นคำที่เท่าใดของชื่อเรื่อง <p>การทำดรรชนีแบบ KWIC มีกำเนิดมาจาก แอนเดรีย เครสตาโดโร (Andria Crestadoro) เป็นผู้คิดจัดทำเครื่องมือช่วยค้นหาสิ่งพิมพ์ในห้องสมุดประชาชนแมนเชสเตอร์ แต่การทำดรรชนีแบบของ เครสตาโดโร นี้ บรรณารักษ์เป็นผู้จัดทำเองทั้งหมด ยังไม่ได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำงาน จนกระทั่ง Hans Peter Luhn ได้นำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการทำดรรชนีแบบ permutation index โดยการหมุนเวียนเอาคำสำคัญในชื่อบทความที่ปรากฏอยู่ในวารสาร Chemical Abstracts มาเรียงตามลำดับอักษร <p>ส่วนประกอบที่สำคัญ <p>1. รหัสที่ใช้กำกับเอกสารหรือบทความที่นำมาทำดรรชนี เพื่อระบุแหล่งที่ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมของเอกสารหรือบทความ ส่วนมากจะให้เป็นหมายเลขลำดับที่ของเอกสารหรือบทความนั้น <p>2. คำสำคัญทุกคำที่ปรากฏอยู่ในชื่อเรื่องของเอกสารหรือบทความที่นำมาหมุนเวียนทำดรรชนี การจะกำหนดว่าคำใดเป็นคำสำคัญในชื่อเรื่องของเอกสาร ผู้จัดทำดรรชนีจะเป็นผู้ป้อนโปรแกรมคำสั่งต่างๆ แก่คอมพิวเตอร์โดยกำหนดให้ทุกคำที่ปรากฏในชื่อเรื่องถือเป็นคำสำคัญ ยกเว้น คำนำหน้านาม คำสันธาน คำบุพบท คำสรรพนาม <p>คำสำคัญเหล่านั้น จะถูกหมุนเวียนกันเป็นคำสำคัญ จัดเรียงตามลำดับอักษร และจัดรูปแบบการพิมพ์ออกเป็น 3 คอลัมน์ จะถูกจัดพิมพ์ในบรรทัดเดียวกัน ข้อมูลแต่ละบรรทัดจัดเรียงตามลำดับอักษรของคำสำคัญซึ่งปรากฏอยู่คอลัมน์กลาง ส่วนคอลัมน์ซ้ายและขวาที่ติดกับคำสำคัญ คือ คำอื่นๆ ในชื่อเรื่องของเอกสาร และคอลัมน์ขวาสุดคือส่วนที่เป็นรหัสที่ใช้กำกับเอกสารที่จะนำผู้ใช้ไปสู่รายละเอียดทางบรรณานุกรมของเอกสาร <p>3. คำทุกคำที่ปรากฏในชื่อเรื่องของเอกสารซึ่งในขณะนั้นไม่ได้เป็นคำสำคัญ จึงเป็นส่วนที่ปรากฏอยู่ด้านหน้าและหลังคำสำคัญ ซึ่งจะช่วยให้ความหมายของคำสำคัญเด่นชัดขึ้น และช่วยให้ผู้ใช้ทราบชื่อเรื่องทั้งหมดของเอกสารด้วย หากชื่อเรื่องของเอกสารยาวและมีจำนวนอักขระเกินกว่าจำนวนที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์พิมพ์ในแต่ละบรรทัด ข้อความส่วนที่เกินจะไม่ปรากฏ และจะมีเครื่องหมาย / ปรากฏเมื่อจบชื่อเรื่องนั้นๆ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120708-KWIC.jpg" width="640" higth="200" alt="ดรรชนีควิก"> <p>ภาพแสดงส่วนประกอบของดรรชนีควิก 3 คอลัมน์ (Luhn, 162) <p>จะเห็นว่า GAMMA RAYS IN GE72 อยู่ภายใต้คำว่า Gamma และ GE72 <p> รายการอ้างอิง <p>กุลธิดา ท้วมสุข. KWIC index. บรรณารักษศาสตร์ มข. 3(3) ส.ค. 2528 : 37-45. <p>นวนิตย์ อินทรามะ. "ดรรชนีและสาระสังเขป" หน้า 229-231. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา สารนิเทศศาสตร์เบื้องต้น หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2532. <p>Luhn, H.P. Keyword-in-Context Index for Technical Literature (KWIC Index) p. 159-167 in Readings in Automatic Language Processing. edited by David G. Hays. New York : American Elsevier Publishing Company Inc., 1966. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Key-Word-out-of-Context Index | ดรรชนีควอก, Example: ดรรชนีควอก (KWOC - Key-Word-out-of-Context Index) เป็นการจัดทำดรรชนีที่อาศัยคำสำคัญจากชื่อเรื่องเช่นเดียวกับการทำดรรชนีควิก ต่างกันเพียงการจัดรูปแบบการพิมพ์ กล่าวคือ แทนที่คำสำคัญที่เป็นดรรชนีจะอยู่ตรงคอลัมน์กลางเหมือนการทำดรรชนีควิก ก็จะปรากฏอยู่ที่คอลัมน์ริมหน้ากระดาษหรือคอลัมน์ซ้ายมือ ตามด้วยชื่อเรื่องทั้งหมดของเอกสาร และเมื่อคำสำคัญมิได้อยู่ในตำแหน่งที่เป็นชื่อเรื่องแต่กลับปรากฏที่คอลัมน์ริมสุด จึงเรียกดรรชนีประเภทนี้ว่า Key-Word-out-of-Context <p>ตัวอย่าง: จากรายชื่อของเอกสารดังต่อไปนี้ <p> Blue-eyed Cats in Texas <p> The Cat and the Fiddle <p> Dogs and Cats and Their Diseases <p> The Cat and the Economy <p>เมื่อเป็นดรรชนีควอก คำสำคัญจากชื่อเรื่องอยู่คอลัมน์ซ้ายมือ คอลัมน์กลาง เป็นชื่อเรื่อง และขวาสุดเป็นแหล่งที่มาของเอกสาร ดังภาพ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120710-KWOC-Example.jpg" width="640" higth="200" alt="ดรรชนีควอก"> <p> รูปแบบการจัดทำดรรชนีแบบควิกและควอก เป็นอุปสรรคอย่างหนึ่งที่คนไม่นิยมใช้ ดรรชนีประเภทนี้นัก ด้วยเหตุผลของการไม่สะดวกในการค้นหา กล่าวคือ ชื่อเรื่องมีความคลุมเครือ ไม่มีระบบควบคุมคำศัพท์ ผู้ใช้จะต้องนึกถึงคำศัพท์ที่จะใช้ค้นหาเอง เนื่องจากไม่มีระบบการเชื่อมโยงหัวเรื่องที่ไม่ใช้ไปยังหัวเรื่องที่ใช้ ผู้ใช้จะต้องเป็นผู้ที่รู้เรื่องที่จะค้นอย่างแท้จริง แล้ว การที่ต้องพิมพ์ซ้ำชื่อเรื่องหนึ่งๆ ตามจำนวนคำสำคัญที่ปรากฎในชื่อเรื่อง ทำให้ต้องพิมพ์ตัวขนาดเล็ก เพื่อประหยัดกระดาษ ผู้ใช้ต้องใช้สายตามากในการใช้ดรรชนีควิกและควอก แต่ดรรชนีควิกและควอก เหมาะกับงานประเภท Current notification เพื่อแจ้งให้ผู้ใช้ทราบถึงรายชื่อหนังสือใหม่ในสาขาวิชาต่างๆ โดยรวดเร็ว เพราะหนังสือที่รวบรวมนั้น มีจำนวนไม่มาก ไม่ต้องใช้เวลาในการตรวจสอบนาน คำสำคัญในชื่อเรื่องมักเป็นคำที่เฉพาะเจาะจงที่ผู้ใช้มักให้ความสนใจเป็นพิเศษ และสามารถติดตามความเคลื่อนไหวในวงการได้อย่างรวดเร็ว <p>รายการอ้างอิง: <p>สุนทรี รสสุธาธรรม. “ดรรชนีแบบ KWIC และ KWOC : การทำดรรชนีแบบไม่ควบคุมคำศัพท์”. บรรณสาร สพบ. ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (พ.ค.-มิ.ย. 23) : 154-159. <p>Cleveland, Donald B. and Cleveland, Ana D. Introduction to Indexing and Abstracting. 2nd ed. Englewood, Colo. : Libraries Unlimited, 1990. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | total reflection | การสะท้อนกลับหมด, ปรากฏการณ์ที่แสงผ่านจากตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหมากไปยังตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อยกว่า เมื่อมุมตกกระทบโตกว่ามุมวิกฤต ลำแสงจะไม่ทะลุผ่านไปยังตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อยกว่าแต่จะสะท้อนกลับเข้ามาในตัวกลางเดิม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | refractive index [ index of refraction ] | ดรรชนีหักเห, อัตราส่วนของ sine มุมตกกระทบกับ sine ของมุมหักเห หรืออัตราส่วนระหว่างอัตราเร็วของคลื่นในตัวกลางที่คลื่นตกกระทบ กับอัตราเร็วของคลื่นในตัวกลางที่คลื่นหักเห ดูรูป n คือ ดรรชนีหักเหของตัวกลางที่ 2 เมื่อเทียบกับตัวกลางที่ 1 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | index of refraction | ดรรชนีหักเห, ดู refractive index [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | critical angle | มุมวิกฤต, มุมตกกระทบของแสงซึ่งทำให้มุมหักเหเป็น 90 องศา เกิดขึ้นเมื่อแสงผ่านจากตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหสูงไปยังตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหต่ำกว่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Index | เครื่องบ่งชี้, ดรรชนี, เข็มชี้ [การแพทย์] | Index, Acceptable | ดรรชนีความสามารถ [การแพทย์] | Index, Difficulty | ค่าดรรชนีความยาก [การแพทย์] | Index, Maturation | ดรรชนีของการเจริญเติบโต, มาเจอเรชั่นอินเด็กซ์ [การแพทย์] | Index, Summation | ดรรชนีผลรวม [การแพทย์] | Mortality Index, Comparative | ดรรชนีเปรียบเทียบอัตราตาย [การแพทย์] |
| | ดรรชนี = ดัชนี | [datchanī] (n) EN: index ; rate ; list FR: index [ m ] ; indice [ m ] ; taux [ m ] ; liste [ f ] | ดรรชนี = ดัชนี | [datchanī] (n) EN: index finger ; forefinger FR: index [ m ] | ดรรชนีชื่อหนังสือ | [datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index FR: bibliographie [ f ] | ดรรชนีชื่อผู้แต่ง | [datchanī cheū phūtaeng] (n, exp) EN: author index FR: index des auteurs [ m ] | ดรรชนีหักเห | [datchanī hakhē] (n, exp) EN: refractive index | ดรรชนีค้นคำ | [datchanī khon kham] (n, exp) EN: index FR: index [ m ] | ดรรชนีค้นเรื่อง | [datchanī khon reūang] (n, exp) EN: subject index | ดรรชนีผู้แต่ง | [datchanī phūtaeng] (n, exp) EN: author index FR: index des auteurs [ m ] | ดัชนีราคา = ดรรชนีราคา | [datchanī rākhā] (n, exp) EN: price index | ดรรชนีวารสาร | [datchanī wārasān] (n, exp) EN: periodical index |
| card | (n) บัตรรายการ, See also: บัตรเรียงดรรชนี | forefinger | (n) นิ้วชี้, See also: ดรรชนี, ดัชนี, Syn. index finger | index | (n) ดัชนี, See also: ดรรชนี, Syn. inventory, register, directory, list | indices | (n) ดัชนี (คำนามพหูพจน์ของคำนาม index), See also: ดรรชนี, Syn. directory file, inventory, roll | price index | (n) ดรรชนีราคา, See also: ดรรชนีแสดงระดับการเปลี่ยนแปลงของสินค้ากับการบริการ, Syn. index |
| concordance | (คอนคอร์'เดินซฺ) n. การตกลงกัน, ความสอดคล้องกัน, ดรรชนีเรื่องตามอักษร | index | (อิน' เดคซฺ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้, เข็มชี้, นิ้วชี้, เลขกำลังในเครื่องหมายพีชคณิต, สารบัญสิ่งตีพิมพ์ที่ต้องห้ามในศาสนาโรมันคาทอลิก (Index Librorum Prohibitorum) , หนังสือหรือวัตถุที่ต้องห้าม, สารบัญ, คำนำ. -vt. จัดให้มีสารบัญ, จัดให้มีดรรชนี, ใส่ดรรชนี, เ | indexed file | แฟ้มดรรชนีหมายถึง แฟ้มพิเศษต่างหากที่บอกตำแหน่งที่อยู่ของระเบียนต่าง ๆ ที่เก็บ ไว้ในแฟ้มฐานข้อมูล (database file) การหาข้อมูลด้วยวิธีนี้ จะทำได้เร็วมาก | indexed sequential access | วิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนีใช้ตัวย่อว่า ISAM (อ่านว่า ไอแซม) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล | indicative | (อินดะเค' ทิฟว) adj. เป็นการชี้บอก, ซึ่งชี้แนะ, เป็นดรรชนี. -n. มาลาเล่าในไวยาการณ์, คำกริยาในมาลาบอกเล่าของไวยากรณ์., See also: indicatively adv., Syn. guiding | indicator | (อิน' ดิเคเทอะ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้นำ, สิ่งชี้นำ, Syn. pointer, guide, sign หมายถึง อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวชี้บอกสภาพบางประการของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้นว่า มีไฟแดงขึ้นที่หน่วยขับจานบันทึก disk drive เพื่อบอกว่าอุปกรณ์ส่วนนี้กำลังทำงาน หรืออาจเป็นสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโผล่ขึ้นบนจอภาพในระหว่างการกระทำการ execution เช่น มีสัญลักษณ์แสดงว่า ข้อมูลล้นหน่วยความจำ overflow เป็นต้น | inverted file | แฟ้มผกผันหมายถึง โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดหนึ่ง ที่มีดรรชนีคอยบ่งบอกถึงที่อยู่ (location) ของระเบียน (record) ที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ หรือระเบียนที่มีลักษณะตามที่กำหนด | isam | (ไอแซม) ย่อมาจาก indexed sequential access method (แปลว่า วิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนี) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล | price index | n. ดรรชนีราคา, ดรรชนีแสดงระดับการเปลี่ยนแปลงของสินค้ากับการบริการ |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |