ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ซึ้ง, -ซึ้ง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ อภิเชษฐ์ | [อะ-พิ-เชด] (n, vt) ความซาบซึ้ง, รู้สึกซาบซึ้ง, รู้สึกขอบคุณเป้นอย่างยิ่ง, See also: S. appreciate |
|
| ซึ้ง | (adv) profoundly, See also: deeply, Example: เธอมองซึ้งเข้าไปในหัวใจของเขา, Thai Definition: ลึกมากจนยากที่จะหยั่งรู้ได้ | ซึ้ง | (v) impress, See also: be effective, be impressive, affect, touch, Syn. ซาบซึ้ง, ประทับใจ, จับใจ, Example: เธอคนนั้นหน้าหวาน ผมดำ ซึ้งบาดใจผมจริงๆ, Thai Definition: รู้สึกเอิบอาบซาบซ่านแผ่ไปทั่วร่างกายและจิตใจ | ซึ้งใจ | (v) be impressed with, Syn. ซาบซึ้งใจ, Example: หล่อนเป็นผู้หญิงที่ฉันซึ้งใจในความเป็นแม่ผู้ประเสริฐเพราะไม่ว่าลูกจะทุกข์จะสุข หล่อนก็พร้อมที่จะช่วยเหลือเสมอ, Thai Definition: รู้สึกเอิบอาบซาบซ่านแผ่ไปทั่วร่างกายและจิตใจ | ซาบซึ้ง | (v) appreciate, See also: be grateful, be thankful for, Syn. ประทับใจ, จับใจ, ปลื้มปิติ, Example: ราษฎรซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, Thai Definition: อาการที่รู้สึกจับใจอย่างลึกซึ้ง, อาการที่รู้สึกปิติปลาบปลื้ม | รู้ซึ้ง | (v) realize, See also: know well, understand, Syn. รู้ดี, Example: ผมได้รู้ซึ้งถึงอุปสรรคขวากหนามนานัปการที่รออยู่เบื้องหน้า | ลึกซึ้ง | (adv) profoundly, See also: deeply, reconditely, Example: เราคงไม่ต้องพิจารณาอะไรกันให้ลึกซึ้งนัก, Thai Definition: ลึกยิ่งนัก, ยากที่จะหยั่งถึง | ลึกซึ้ง | (adj) profound, See also: deep, abstruse, recondite, wise, Example: ความเข้าใจภาษาของมนุษย์ก็เป็นสิ่งที่ลึกซึ้งเกินกว่าคอมพิวเตอร์ในยุคสมัยปัจจุบันจะทำได้, Thai Definition: ลึกยิ่งนัก, ยากที่จะหยั่งถึง | สุดซึ้ง | (adv) gratefully, See also: appreciatively, Syn. ซาบซึ้ง, Example: รัฐบาลของข้าพเจ้ารู้สึกเสียใจอย่างสุดซึ้งที่ท่านมิได้แจ้งให้ทราบล่วงหน้า จึงมิได้ต้อนรับให้สมเกียรติ, Thai Definition: อย่างซาบซึ้งเป็นที่สุด | ความซึ้ง | (n) impressiveness, See also: appreciation, profoundness, Syn. ความซึ้งใจ, ความซาบซึ้งใจ | ซาบซึ้งใจ | (v) be impressive, See also: be impressed, be satisfied, Syn. จับใจ, Example: เจ้านายซาบซึ้งใจที่ลูกน้องทุกคนจำวันเกิดของเขาได้, Thai Definition: อาการที่รู้สึกจับใจอย่างลึกซึ้ง, อาการที่รู้สึกปีติ ปลาบปลื้ม | ซาบซึ้งใจ | (adj) appreciative, See also: impressive, admiring, Syn. จับใจ, Example: คำขวัญนี้มีความหมายที่ซาบซึ้งใจ จึงได้รับรางวัลชนะเลิศ, Thai Definition: ที่รู้สึกจับใจอย่างลึกซึ้ง, ที่รู้สึกปีติ ปลาบปลื้ม | ซาบซึ้งใจ | (v) be deeply impressed (by), See also: be captivated (by), Syn. ซาบซึ้งตรึงใจ, Example: แม้พวกเขาจะอยู่ห่างไกล แต่ก็ยังส่งน้ำใจมาให้ พวกเราซาบซึ้งใจจริงๆ ครับ, Thai Definition: รู้สึกจับใจลึกซึ้ง, รู้สึกปีติ ปลาบปลื้ม | ความลึกซึ้ง | (n) profundity, Syn. ความลึกล้ำ, Example: กลอนบทนี้มีความลึกซึ้งกินใจมาก | อย่างลึกซึ้ง | (adv) deeply, See also: profoundly, Syn. อย่างถ่องแท้, Ant. อย่างผิวเผิน, Example: สังคมไทยมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง |
| ความผิดซึ่งหน้า | น. ความผิดซึ่งเห็นกำลังกระทำ หรือพบในอาการใดซึ่งแทบจะไม่มีความสงสัยเลยว่าเขาได้กระทำผิดมาแล้วสด ๆ. | ซาบซึ้ง | ว. อาการที่รู้สึกจับใจอย่างลึกซึ้ง, อาการที่รู้สึกปีติปลาบปลื้มมาก. | ซึ่ง | ส. คำใช้แทนนามหรือข้อความที่อยู่ข้างหน้า เช่น บ้านของเขาอยู่ในป่าซึ่งห่างจากชุมชน. | ซึ่ง | บ. คำสำหรับนำหน้านามที่เป็นผู้ถูกกระทำ เช่น รักษาไว้ซึ่งความยุติธรรม. | ซึ่งหน้า, ซึ่ง ๆ หน้า | ว. ต่อหน้า เช่น กระทำความผิดซึ่งหน้า. | ซึ้ง ๑ | น. ภาชนะสำหรับนึ่งของ ทำด้วยโลหะมีลักษณะทรงกระบอกเตี้ย ๆ ซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ๒-๓ ชั้น ชั้นล่างใส่น้ำสำหรับต้มให้มีไอน้ำร้อน ชั้นที่ซ้อนข้างบนเจาะเป็นรู ๆ ที่ก้น เพื่อให้ไอน้ำร้อนผ่านให้ของในชั้นที่ซ้อนสุก มีฝาครอบคล้ายฝาชี, ลังถึง หรือ ถึง ก็ว่า. | ซึ้ง ๒ | ว. รู้สึกเอิบอาบซาบซ่านแผ่ไปทั่วร่างกายและจิตใจ เช่น ภาพนี้มองดูซึ้ง ฟังเขาพูดแล้วรู้สึกซึ้งมาก. | ซึ้ง ๓ | ว. ลึก เช่น น้ำลึกพานเชี่ยวซึ้ง สุดพาย (โลกนิติ), เขียนเป็น ซรึ้ง ก็มี เช่น คูคอบสามชั้นซรึ้ง ขวากแขวง (ยวนพ่าย). | ดูหมิ่นซึ่งหน้า | น. เป็นฐานความผิดอาญาลหุโทษ ที่ผู้กระทำ ดูถูกเหยียดหยามผู้อื่นซึ่งหน้า หรือด้วยการโฆษณา. | ลึกซึ้ง | ว. ลึกมากจนยากที่จะหยั่งรู้ได้ เช่น ปัญหาลึกซึ้ง คิดลึกซึ้ง. | กงพัด ๒ | น. ไม้เหลี่ยมสอดในรูซึ่งเจาะที่โคนเสาเรือน ปลายทั้ง ๒ ยื่นออกมาวางอยู่บนหมอน (ซึ่งเรียกว่า งัว) ข้างละต้น, หรือถ้าไม่เจาะรู ก็ใช้เป็น ๒ อัน ตีขวางขนาบโคนเสาข้างละอันวางอยู่บนหมอนเหมือนกัน เพื่อกันทรุด. | กงวาน | น. กงที่มีรูสำหรับนํ้าเดินที่ท้องเรือ เช่น สำเภาลำใดของพาณิชซึ่งจะตกแต่งต่อติดเป็นกงวาน (ม. ร่ายยาว กุมาร). | กงสุล | น. ชื่อตำแหน่งของบุคคลซึ่งรัฐบาลของประเทศหนึ่งแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนประจำอยู่ในเมืองต่าง ๆ ของอีกประเทศหนึ่ง เพื่อทำหน้าที่ช่วยเหลือคนชาติของตนและดูแลผลประโยชน์ทั่วไปของประเทศของตน. | กฎหมายตราสามดวง | น. ประมวลกฎหมายโบราณของไทยซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้ชำระและปรับปรุงแก้ไขตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่ใช้กันมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงต้นรัตนโกสินทร์ เมื่อทำเสร็จแล้วได้ประทับดวงตราพระราชสีห์ พระคชสีห์ และบัวแก้ว ไว้เป็นสำคัญ จึงเรียกว่า กฎหมายตราสามดวง. | กฎหมายเหตุ | กฎเกณฑ์การปฏิบัติที่ตราขึ้นหรือเนื่องจากประเพณีซึ่งมีค่าบังคับ. | กฐิน, กฐิน- | คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน). | กตเวที | (กะตะ-) ว. ซึ่งประกาศคุณท่าน, ซึ่งสนองคุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตัญญู. [ ป. กต ว่า อันเขาทำแล้ว + เวที ว่า ซึ่งรู้, ซึ่งประกาศให้รู้ ]. | กตัญญู | (กะตัน-) ว. ซึ่งรู้อุปการะที่ท่านทำให้, ซึ่งรู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวที. [ ป. กต ว่า อันเขาทำแล้ว + ญู ว่า ซึ่งรู้ ]. | ก้นกรอง | น. ส่วนท้ายของบุหรี่ชนิดที่มีที่กรองสารพิษเช่นนิโคตินซึ่งอยู่ในควันบุหรี่, เดิมเรียกว่า ก้นก๊อก, เรียกบุหรี่ที่มีที่กรองสารพิษนี้ ว่า บุหรี่ก้นกรอง. | กรกฎาคม | (กะระกะ-, กะรักกะ-) น. ชื่อเดือนที่ ๗ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๑ วัน, (เลิก) ชื่อเดือนที่ ๔ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน. | กรมศักดิ์ | (กฺรมมะสัก) น. ชื่อกฎหมายลักษณะหนึ่ง ซึ่งกำหนดระวางโทษปรับตามศักดินา อายุของฝ่ายที่ชนะคดีหรือฝ่ายที่แพ้คดี และความร้ายแรงหนักเบาของความผิดที่กระทำ. (สามดวง), พรมศักดิ หรือ พรหมศักดิ ก็ว่า. | กรม ๓ | (กฺรม) น. หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกำลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในราชการและเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็นเจ้ากรม ปลัดกรม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายปกครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่าตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างหากออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีอำนาจตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามบรรดาศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมหลวงกรมพระ และกรมพระยา หรือ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น. | กรม ๓ | แผนกใหญ่ในราชการ ตามลักษณะปกครองในสมัยโบราณ ซึ่งในปัจจุบัน เรียกว่า กระทรวง เช่น กรมพระกลาโหม คือ กรมฝ่ายทหาร เป็นกระทรวงกลาโหม, กรมมหาดไทย คือ กรมฝ่ายพลเรือน เป็นกระทรวงมหาดไทย, กรมเมือง หรือ กรมนครบาล รวมอยู่ในกระทรวงมหาดไทย, กรมวัง แยกเป็นกระทรวงวัง และกระทรวงยุติธรรม (ปัจจุบันกระทรวงวังไม่มีแล้ว), กรมพระคลัง แยกเป็นกระทรวงการคลัง และกระทรวงการต่างประเทศ, กรมนา เป็นกระทรวงเกษตราธิการ (ปัจจุบัน คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์). | กรมการ | (กฺรมมะ-) น. ตำแหน่งพนักงานปกครองที่มีมาแต่สมัยโบราณ และได้กำหนดไว้ในข้อบังคับลักษณะการปกครองหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๖ เรียกว่า กรมการเมือง ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ พวก คือ กรมการในทำเนียบ และกรมการนอกทำเนียบ. | กรมการในทำเนียบ | น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งข้าราชการที่มีเงินเดือน ซึ่งจัดเป็น ๒ พวก กรมการชั้นผู้ใหญ่ ประกอบด้วย ปลัด ยกกระบัตร และผู้ช่วยราชการ กับกรมการชั้นผู้น้อย ประกอบด้วย จ่าเมือง สัสดี แพ่ง ศุภมาตรา และสารเลข. | กรมการอำเภอ | น. คณะพนักงานปกครองซึ่งประกอบด้วยนายอำเภอ ปลัดอำเภอ และสมุห์บัญชีอำเภอ มีหน้าที่ร่วมกันในการดำเนินการให้การปกครองอำเภอเรียบร้อย ในปัจจุบันอำนาจหน้าที่ของกรมการอำเภอถูกโอนไปเป็นของนายอำเภอ. | กรมธรรม์ | (กฺรมมะทัน) น. เอกสารสัญญาซึ่งทำขึ้นตามที่กฎหมายกำหนด เช่น เอกสารที่ทาสลูกหนี้ยินยอมให้กรมการอำเภอทำให้ไว้แก่เจ้าหนี้นายเงิน สัญญาขายฝากที่ไร่ที่สวน, คำนี้เรียกเต็มว่า สารกรมธรรม์ หรือย่อว่า สารกรม, บางทีเรียกเพียงคำเดียวว่า กรม ก็มี เช่น กู้หนี้ถือสีนกันเข้าชื่อในกรมหลายคน (สามดวง). | กรมนา | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง เก็บหางข้าวขึ้นฉางหลวง ทำนุบำรุงอาชีพเกษตรกรรมและเก็บค่าภาษีอากรเกี่ยวกับการนั้น รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับที่นาและโคกระบือเป็นต้น | กรมพระคลัง | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการคลัง การต่างประเทศ และการค้ากับต่างประเทศ รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความเกี่ยวข้องด้วยพระราชทรัพย์หลวง และคดีความต่างประเทศ, พระคลัง หรือ พระคลังกรมท่า ก็เรียก | กรมเมือง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ในการรักษาความสงบเรียบร้อยในราชธานีและปริมณฑล ปราบปรามโจรผู้ร้าย รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความอุกฉกรรจ์และดูแลคุก (เรือนจำ) มหันตโทษ, เวียง หรือ กรมพระนครบาล ก็เรียก | กรมวัง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่รักษาพระราชมนเทียร พระราชวังชั้นนอก พระราชวังชั้นใน บริหารกิจการในพระราชสำนัก และบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับสมใน ได้แก่ ศาลแพ่งวัง ศาลอาชญาวัง และศาลนครบาลวัง รวมทั้งบังคับบัญชาศาลมรดก | กรร- ๓ | (กัน-) ใช้เป็นพยางค์หน้า (ซึ่งโบราณเขียนเป็น กนน หรือ กัน ก็มี) แทน กระ เช่น กรรชิง-กันชิง-กระชิง, กรรเช้า-กรนนเช้า-กระเช้า, กรรเชอ-กนนเชอ- กระเชอ, กรรโชก-กันโชก-กระโชก, กรรพุ่ม-กระพุ่ม, กรรลึง-กระลึง. | กรรเชียงปู | (กัน-) น. เรียกขาคู่สุดท้ายของปูในวงศ์ Portunidae เช่น ปูม้า ปูทะเล ซึ่งปล้องปลายมีลักษณะแบนคล้ายใบพาย, กระเชียงปู ก็เรียก. | กรรม ๑, กรรม- ๑ | การกระทำที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบัน หรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปในอนาคต เช่น บัดนี้กรรมตามทันแล้ว ระวังกรรมจะตามทันนะ. | กรรมการ ๑ | (กำมะกาน) น. บุคคลซึ่งได้รับเลือกหรือได้รับแต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการบางอย่างเป็นคณะ. (ส. กรฺม + การ; ป. กมฺม + การ). | กรรมการิณี | (กำมะ-) น. กรรมการซึ่งเป็นเพศหญิง. | กรรมเวร | (กำเวน) น. การกระทำที่สนองผลร้ายซึ่งทำไว้แต่ปางก่อน, เวรกรรม ก็ว่า | กรรมาธิการ | (กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ. | กระ ๔ | ใช้เป็นพยางค์หน้า (๑) ซึ่งเดิมเป็น ก กำ กุ ข ต ส เช่น กบิล-กระบิล, กำแพง-กระแพง, กุฎี-กระฎี, ขจัด-กระจัด, ตวัด-กระหวัด, สะท้อน-กระท้อน. (๒) โบราณใช้แทน ตระ เช่น ตระกูล-กระกูล, ตระลาการ-กระลาการ. (อัยการเบ็ดเสร็จ). (๓) เติมหน้าคำโดยไม่มีความหมายก็มี เช่น ซุ้ม-กระซุ้ม, โดด-กระโดด, พุ่ม-กระพุ่ม, ยาจก-กระยาจก, เติมให้มีความหมายแน่นแฟ้นขึ้นก็มี เช่น ทำ-กระทำ, ทุ้ง-กระทุ้ง, เสือกสน-กระเสือกกระสน. (๔) ยํ้าหน้าคำอันขึ้นต้นด้วย ก ในบทกลอน คือ กระกรี๊ด กระกรุ่น กระกลับกลอก กระเกริ่น กระเกรียม กระเกรียว กระเกรี้ยว กระเกริก. (๕) นอกนี้เป็น กระ มาแต่เดิม เช่น กระทรวง กระบือ. | กระจง | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์ Tragulidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้องที่เล็กที่สุด กระเพาะมี ๓ ส่วน รูปร่างคล้ายกวาง แต่ไม่มีเขา ตัวผู้มีเขี้ยวบนที่แหลมคมงอกออกมาซึ่งมีผู้นิยมใช้เป็นเครื่องราง มี ๒ ชนิด คือ กระจงควาย [ Tragulus napu (Cuvier) ] สูงประมาณ ๓๕ เซนติเมตร และกระจงเล็ก [ T. javanicus (Osbeck) ] สูงประมาณ ๒๐ เซนติเมตร, พายัพเรียก ไก้. | กระจัง ๒ | น. ชื่อปลานํ้ากร่อยชนิด Periophthalmodon schlosseri (Pallas) ในวงศ์ Gobiidae พบในบริเวณป่าชายเลน รูปร่าง การเคลื่อนไหว และความสามารถขึ้นมาพ้นนํ้าได้คล้ายปลาจุมพรวดซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า มีครีบอกเป็นกล้ามเนื้อใช้ต่างตีน ช่วยครีบหาง ทำรูลึกอยู่ในเลน เคลื่อนไหวได้รวดเร็วบนผิวเลนและผิวนํ้า ปีนเกาะบนที่ชันและกระโจนเป็นห้วง ๆ ได้ ขนาดยาวได้ถึง ๒๗ เซนติเมตร, กะจัง ก็เรียก. | กระจับบก | น. ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งขึ้นในป่าตํ่าตามที่นํ้าท่วม มักขึ้นปะปนกับเถากรด ซึ่งดูผาด ๆ คล้ายคลึงกัน ใบคู่ ขอบใบตอนบนที่ใกล้หรือติดกับก้านมีต่อมข้างละต่อม ผลนัยว่าแบน ๆ รูปสามเหลี่ยม ไม้ใช้ทำฟืน. | กระแจะ ๓ | น. ชื่อรูปปลอกเหล็กสำหรับจับช้างดุ ทางปลายสัณฐานปากเปิดอย่างคีมคีบเบ้าทองเหลือง มีกำลังหดตัวให้ปลายจดเข้าหากันได้ ที่ริมปากมีงาแซงทำด้วยเหล็กปลายแหลมข้างละอัน ที่โคนปลอกมีที่สำหรับสวมคันไม้ไผ่ที่ทะลวงให้กลวง ร้อยเชือกซึ่งผูกจากปลอกลอดออกมาจากคันไม้ ใช้สำหรับพุ่งเข้าไปเกาะขาช้างข้างใดข้างหนึ่งไว้ เมื่อเกาะได้แล้ว โรยปลายไปผูกกับขอนไม้ไว้เพื่อช้างจะได้ลาก ช้างกำลังดุก็ลากไป งาแซงก็จะฝังลึกเข้าไปทุกทีจนไม่สามารถจะก้าวขาได้ ก็เป็นอันจับได้ | กระโจมไฟ | น. หอสูงซึ่งตามไฟฉายแสงอย่างแรงไว้บนยอดเพื่อใช้บอกสัญญาณในการเดินเรือเป็นต้น, ประภาคาร หรือ เรือนตะเกียง ก็เรียก. | กระชอมดอก | น. ดอกเพศผู้ของพรรณไม้เลื้อย เช่น ฟักทอง บวบ ซึ่งเรียกกันว่า ดอกถวายพระ. | กระชาย | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. ในวงศ์ Zingiberaceae สูงประมาณ ๖๐ เซนติเมตร มีลำต้นอยู่ใต้ดินเป็นหัวกลม ๆ มีรากสะสมอาหาร ซึ่งเรียวยาว อวบนํ้า ออกเป็นกระจุก ใช้เป็นผักและเป็นเครื่องปรุงประกอบอาหาร, พายัพเรียก กะแอน หรือ ละแอน. | กระโชกโฮกฮาก | ว. อาการพูดกระชากเสียงหรือพูดกระแทกเสียงซึ่งไม่น่าฟัง, โฮกฮาก ก็ว่า. | กระดาน ๑ | ลักษณนามเรียกการแข่งขันที่เดินบนตากระดานซึ่งถึงที่สุดแล้ว เช่น เล่นหมากรุกชนะ ๒ กระดาน | กระดานชนวน | น. แผ่นหินชนวนหน้าเรียบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เข้ากรอบไม้ ใช้เขียนด้วยดินสอหินซึ่งทำด้วยหินชนวนตัดและฝนเป็นแท่ง สำหรับฝึกเขียนหนังสือในสมัยก่อน. | กระดานเลียบ | น. ไม้กระดานแผ่นเดียวที่ปูไว้ด้านข้างของเรือนทรงไทยซึ่งเป็นด้านที่ก้าวลงสู่ระเบียง สำหรับนั่งหรือวางสิ่งของต่าง ๆ |
| | Deep listening | การฟังอย่างลึุกซึ้ง [การจัดการความรู้] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Depth | ลึกซึ้ง [การแพทย์] |
| อัตราส่วนซึ่งมากกว่า 2 พจน์ | [attrāsuan seung māk kwā søng phot] (n, exp) EN: ratios with more than two terms | บริษัทซึ่งให้เงินกู้ | [børisat seung hai ngoenkū] (n, exp) EN: loan company | จำนวนคดีซึ่งรับผิดชอบอยู่ | [jamnūan khadī seung rapphitchøp yū] (n, exp) EN: caseload | โจทนาว่ากล่าวซึ่งกันและกัน | [jōtthanā wā klāo seung kan lae kan] (v, exp) EN: indulge in mutual recriminations | คงไว้ซึ่งความเป็นกลาง | [khong wai seung khwām penklāng] (v, exp) EN: remain neutral FR: rester neutre | ลึกซึ้ง | [leukseung] (adj) EN: profound ; deep ; penetrating ; abstruse ; recondite ; wise FR: approfondi ; profond ; impressionnant | ลึกซึ้ง | [leukseung] (adv) EN: profoundly ; deeply ; reconditely | นำมาซึ่ง | [nam mā seung] (v, exp) EN: bring about ; lead to ; bring in | รองเท้าซึ่งทำด้วยมือ | [røngthāo seung tham dūay meū] (n, exp) EN: handmade shoes FR: chaussures faites main [ fpl ] | ซาบซึ้ง | [sāpseung] (v) EN: appreciate ; be grateful (for) ; be overwhelmed (by) | ซาบซึ้ง | [sāpseung] (adj) EN: heartfelt ; sentimental | ซึ่ง | [seung] (x) EN: who ; that ; so that ; which ; where FR: qui ; que ; dont ; où | ซึ้ง | [seung] (adj) EN: deep ; profound FR: profond ; pénétrant | ซึ่งดูด | [seung dūt] (adj) FR: absorbant | ซึ่งกันและกัน | [seung kan lae kan] (adv) EN: each other FR: mutuellement | ซึ่งกัด | [seung kat] (adj) FR: mordant | ซึ่งละลายได้ | [seung lalāi dāi] (adj) FR: liquéfiable | ซึ่งไม่มีดอก | [seung mai mī døk] (adj) FR: ananthe (vx) | ซึ่งมากกว่า | [seung māk kwā] (x) EN: with more than FR: de plus de ; supérieur à | ซึ่งมีอำนาจสนับสนุน | [seung mī amnāt sanapsanun] (adj) EN: authoritative | ซึ่งมีแบบแผน | [seung mī baēpphaēn] (adj) EN: methodical | ซึ่งมีการแข่งขันสูง | [seung mī kān khaengkhan sūng] (adj) EN: competitive FR: compétitif | ซึ่งมีพยางค์เดียว | [seung mī phayāng dīo] (adj) EN: monosyllabic FR: monosyllabique | ซึ่งมีปีก | [seung mī pīk] (adj) FR: ailé ; alifère (vx) | ซึ่งมีรูปเป็นปีก | [seung mī rūp pen pīk] (adj) FR: aliforme (vx) | ซึ่งมีสารส้ม | [seung mī sānsom] (adj) FR: aluneux (vx) | ซึ่งมีสภาเดียว | [seung mī saphā dīo] (adj) EN: unicameral FR: unicaméral | ซึ่งหน้า | [seung nā] (x) EN: face to face ; in one's face FR: devant tout le monde | ซึ่งเป็นเอกฉันท์ | [seung pen ēkchan] (adv) EN: by common consent | ซึ่งเป็นระเบียบ | [seung pen rabīep] (adj) EN: methodical | ซึ่งเป็นระบบ | [seung pen rabop] (adj) EN: systematic | ซึ่งพิมพ์ได้ | [seung phim dāi] (adj) FR: publiable | ซึ่งเพิ่มเข้า | [seung phoēm khao] (adj) FR: additionnel | ซึ่งระบาดไปทั่ว | [seung rabāt pai thūa] (adj) EN: pandemic FR: pandémique | ซึ่งรมควัน | [seung romkhwan] (adj) FR: fumigène | ซึ่งรวมกัน | [seung rūam kan] (adj) FR: agrégatif (vx) | ซึ่งรุกราน | [seung rukrān] (adj) FR: agressif | ซึ่งเศร้าใจ | [seung saojai] (adj) FR: mélancolique | ซึ่ง ๆ หน้า | [seung-seung nā] (adv) EN: face to face | ซึ่งเตี้ยล่ำ | [seung tīa lam] (adj) EN: dumpy | ซึ่งต้องพิสูจน์ (ซ.ต.พ.) | [seung tǿng phisūt] (x) EN: Q.E.D. ; quod erat demonstrandum | ซึ่งหวังไว้ | [seung wangwai] (adj) EN: prospective | ซึ่งยึดติด | [seung yeuttit] (adj) EN: adhesive FR: adhésif |
| adore | (vt) รัก, See also: รักอย่างลึกซึ้ง, Syn. love, cherish | cogitative | (adj) ที่สามารถคิดได้ลึกซึ้ง, Syn. thoughtful, meditative | contemplative | (adj) ที่คิดลึกซึ้ง, Syn. thoughtful, pensive | deep | (adj) ลึกซึ้ง (เช่น ความคิด, ความรู้), See also: ล้ำลึก ฉลาด, Syn. astute, discerning, intelligent, Ant. superficial | deepen | (vi) ทำให้ลึกซึ้ง | deepen | (vt) ทำให้ลึกซึ้ง | deeply | (adv) อย่างสุดซึ้ง, See also: อย่างลึกซึ้ง, อย่างมากมาย, อย่างแรงกล้า, Syn. greatly, thoroughly, intensely, profoundly | depth | (n) ความลึกซึ้ง, See also: ความรู้สึกซาบซึ้ง, ความรู้สึกสุดซึ้ง, ความซึมซาบ, Syn. abyss, intensity, profundity | foresight | (n) การมองการไกล, See also: ความคิดลึกซึ้งเกี่ยวกับเหตุการณ์ล่วงหน้า, สายตายาวไกล | get inside | (phrv) เข้าถึง, See also: เข้าใจรู้ซึ้ง | grasp | (vt) เข้าใจ, See also: รู้ซึ้ง, Syn. understand, apprehend, Ant. misunderstand | gratefulness | (n) ความกตัญญู, See also: ความตื้นตันใจ, ความซาบซึ้งใจ, Syn. appreciation, gratitude | gratitude | (n) ความรู้สึกขอบคุณ, See also: ความรู้สึกซาบซึ้งใจ, ความรู้สึกสำนึกในบุญคุณ, ความกตัญญ, Syn. appreciation, thankfulness, Ant. ingratitude | get the feel of | (idm) เข้าใจ, See also: รู้ซึ้ง | impress | (vt) ทำให้ประทับใจ, See also: ทำให้ซาบซึ้งตรึงใจ, ทำให้ติดอกติดใจ, Syn. affect, influence | impress | (vi) ประทับใจ, See also: ซาบซึ้งใจ, จับใจ, ติดอกติดใจ, ตรึงใจ, Syn. affect, influence | impressible | (adj) ที่ซาบซึ้งใจ, See also: ที่ประทับใจ, Syn. moved, susceptible, touched | impression | (n) ความประทับใจ, See also: ความซาบซึ้ง, ความรู้สึกชื่นชม | impressive | (adj) ซึ่งน่าประทับใจ, See also: ซึ่งจับใจ, น่าทึ่ง, น่าชื่นชม, น่าซาบซึ้งใจ, Syn. admirable, notable, striking | impressively | (adv) อย่างน่าประทับใจ, See also: อย่างน่าทึ่ง, อย่างน่าชื่นชม, อย่างน่าซาบซึ้งใจ, อย่างจับใจ, Syn. admirably | impressiveness | (n) ความประทับใจ, See also: ความซาบซึ้งใจ, ความน่าชื่นชม, Syn. admiration | in-depth | (adj) ลึกซึ้ง, See also: ถี่ถ้วน | inly | (adv) ไปข้างใน (วรรณคดี), See also: อย่างสนิทสนม, ที่เข้าใจอย่างลึกซึ้ง, Syn. inwardly, intimately, inside | inmost | (adj) สุดซึ้ง, See also: ลึกที่สุด, Syn. deepest, intimate, secret, innermost | insight | (n) ความเข้าใจลึกซึ้ง, See also: เชาวน์ปัญญา, Syn. comprehension, understanding | meditate on | (phrv) คิดถึงอย่างลึกซึ้งและจริงจังเกี่ยวกับ (โดยเฉพาะทางศาสนาหรือต้องการหาความสงบของจิตใจ), See also: เข้าฌาน | passionate | (adj) ลึกซึ้ง, See also: ซาบซึ้ง, ดูดดื่ม, Syn. excited, impassioned, Ant. calm, cool | plumb | (vt) เข้าใจอย่างลึกซึ้ง, Syn. fathom | profound | (adj) ซึ่งคิดลึกซึ้ง, Syn. learned, recondite, Ant. superficial, shallow | profoundly | (adv) อย่างสุดซึ้ง, See also: อย่างลึกซึ้ง, Syn. deeply extremely | run deep | (phrv) คนพูดน้อยแต่มีความลึกซึ้งหรือ / ดูเข้มแข็ง | schmaltz | (n) ความซาบซึ้งอย่างมากมาย (คำไม่เป็นทางการ), See also: ความรู้สึกอ่อนไหวมากเกินไป | schmaltzy | (adj) ซึ่งซาบซึ้ง | schmalz | (n) ความซาบซึ้งอย่างมากมาย (คำไม่เป็นทางการ), See also: ความรู้สึกอ่อนไหวมากเกินไป | schmalzy | (adj) ซึ่งซาบซึ้ง | sentimental | (adj) ซึ่งรู้สึกมากกว่าปกติ, See also: ซึ่งรู้สึกเกินควร, ซึ่งสะเทือนอารมณ์, ซึ่งซาบซึ้ง, Syn. emotional, idealistic, susceptible | shallow | (adj) ไม่ลึกซึ้ง, See also: ผิวเผิน, Syn. superficial, simple, silly, Ant. profound, philosophic | superficial | (adj) ผิวเผิน, See also: ไม่ลึกซึ้ง, ไม่สำคัญ, Syn. frivolous, not profound, shallow, Ant. deep, learned, profound | slop over | (phrv) แสดงความรักสุดซึ้งกับ | touched | (adj) ประทับใจ, See also: ซาบซึ้ง, จับใจ, Syn. moved, impressed | touchingly | (adv) อย่างซาบซึ้ง, See also: อย่างประทับใจ, อย่างจับใจ |
| abyss | (อะบิส') n., adj. ห้วงเหว, ปลัก, นรก, อเวจี, ความสุดซึ้ง, ทะเลลึก -abyssal adj. | abyssal | (อะบิส' ซัล) adj. ลึกซึ้ง, สุดหยั่ง, วัดไม่ได้ | apercu | (อะเพอซี') n., (pl. -cus) fr. การมองแวบเดียว, ความเข้าใจลึกซึ้ง, การสรุป | appeal | (อะพีล') n., vi. อุทธรณ์, ร้องขอ, อ้อนวอน, เรียกร้อง, ใช้, อาศัย, ดึงดูดใจ, ซาบซึ้ง. -appealer n., Syn. request, call | beholden | (บิโฮล'เดิน) adj. ได้รับความเมตตา, รู้สึกทราบซึ้ง, Syn. obliged | cyclopaedic | (ไซ'คละพี'ดิค) adj. คล้ายหรือเกี่ยวกับสารานุกรม, คลุมกว้าง, ลึกซึ้ง | cyclopedic | (ไซ'คละพี'ดิค) adj. คล้ายหรือเกี่ยวกับสารานุกรม, คลุมกว้าง, ลึกซึ้ง | deep | (ดีพ) adj., adv. ลึก, ลึกล้ำ, ลึกซึ้ง, มาก, เหลือเกิน, ห่างไกล, อยู่ตามเส้นขอบ, มีใจจดจ่อ, ใจจริง n. ส่วนลึกของทะเล แม่น้ำ, ความกว้างใหญ่ไพศาล ส่วนที่เข้มข้นน้อยที่สุด | deep-felt | (ดีพ'เฟลทฺ) adj. ซาบซึ้ง, รู้สึกอย่างลึกล้ำ | deep-going | adj. เข้าไปมาก, ลึกล้ำ, ลึกซึ้ง | depth | (เดพธฺ) n. ความลึก, ความซับซ้อน, ความรุนแรง, ความคิดลึกซึ้ง, ความเข้มข้น, ความต่ำของระดับเสียง, ส่วนลึก, -Phr. (in depth อย่างยิ่ง, เต็มที่) adj. มาก, ละเอียด, Syn. bottom, Ant. surface | engaging | adj. เป็นที่ดึงดูดใจ, มีเสน่ห์, น่ารัก, ซึ้ง, ทำให้คนติด | feel | (ฟีล) { felt, felt, feeling, feels } v. รู้สึก, สำนึก, ทราบซึ้ง, เห็นใจ, เข้าใจ, สัมผัส, คล้ำ, คลำหา -n. การรู้สึก, การสัมผัส, ประสาทสัมผัส. -Phr. (feel one's way ไปข้างหน้าระมัดระวัง), Syn. sense, perceive, touch | grasp | (กราสพฺ) vt., vi., n. (การ) ยึด, จับ, กำแน่น, คว้า, เข้าใจ, รู้ซึ้ง, See also: grasper n. | heartstrings | n., pl. ความรู้สึกในใจ, เอ็นรั้งหัวใจ, ความรู้สึกอันลึกซึ้ง, ความรักสุดเหวี่ยง | heavy | (เฮฟ'วี) adj. หนัก, ขนาดหนัก, ใหญ่มาก, เพียบ, หนา, ดก, อุ้ยอ้าย, จำนวนมาก, มาก, สำคัญมาก, ลึกซึ้ง, รุนแรง (พายุ) , เป็นภาระมาก, ดีมาก | imbue | (อิมบิว') vt. กระตุ้นจิต, ทำให้ซาบซึ้ง, ทำให้เปียกชุ่ม, ทำให้เปื้อน., See also: imbuement n. | imposing | (อิมโพ'ซิง) adj. ประทับใจมาก, ซาบซึ้งใจมาก, เด่น, โอ่อ่า., See also: imposingly adv. imposingness n. very impressive | impressive | (อิมเพรส' ซิฟว) adj. ประทับใจ, ซาบซึ้งใจ, รุนแรง, เหลือขนาด., See also: impressively adv. impressiveness n., Syn. convincig, remarkabke, inspiring | in-depth | (อิน' เดพธฺ) adj. ลึกซึ้ง, ถี่ถ้วน, เจริญเติบโตเต็มที่, Syn. intensive, thorough | incisive | (อินไซ' ซิฟว) adj. แหลม, คม, ลึกซึ้งหลักแหลม, เกี่ยวกับฟันตัด., See also: incisively adv. incisiveness n., Syn. penetrating | inly | (อิน'ลี) adv. ไปข้างใน, อย่างสนิทสนม, อย่างลึกซึ้ง | inmost | (อิน'โมสทฺ) adj. ซึ่งอยู่ลึกเข้าไปที่สุด, ในสุดลึกซึ้ง, ส่วนก้นบึง, Syn. intimate | insight | (อิน'ไซทฺ) n. การเข้าใจอย่าถ่องแท้, การเข้าใจอย่างลึกซึ้ง, การมองทะลุ, Syn. judgment | intimacy | (อิน'ทะมาซี) n. ความคุ้นเคย, ความใกล้ชิด, ความสนิทสนม, ความเข้าใจลึกซึ้ง, ความสนิทสนมในทางเพศ, ความเป็นเรื่องส่วนตัว, Syn. closeness | intimate | อิน'ทะเมท) adj. คุ้นเคย, ใกล้ชิด, สนิทสนม, ละเอียด, ส่วนตัว, สนิทสนมในทางเพศ, ในสุด, ลึกซึ้ง, แก่นแท้. n. เพื่อนสนิท., See also: intimately adv. intimateness n. vt. แนะนำ, ชี้แนะ, แย้ม, บอกเป็นนัย, ประกาศ, แจ้ง. intimater n. intimation n. | intuition | (อินทูอิช'เชิน) n. การรู้โดยสัญชาตญาณ, การรู้โดยความรู้สึกที่เกิดขึ้นเองในใจ, การหยั่งรู้ความเข้าใจอันซาบซึ้ง, ความสามารถในการเข้าใจโดยสัญชาตญาณ, สหัชญาณ., See also: intuitional adj. intuitionly adv., Syn. feeling, sixth se | inwardness | (อิน'เวิร์ดนิส) n. ความในใจ, ความรู้สึกในใจ, ความหมายที่ลึกซึ้ง, แก่นสาร, ธาตุแท้ | nucleoli | เป็นจุดเล็ก ๆ ในนิวเคลียส ซึ่งเป็นก้อนของ RNA มี chromaitin granule เป็นเม็ดเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วไปใน nucleoplasm ประกอบด้วย deoxyribonucleic acid (DNA) ซึ้งเป็นส่วนสำคัญในการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ | perspective | (เพอสเพค'ทิฟว) n. เทคนิคการเขียนภาพให้ได้ส่วนสัด เช่นเดียวกับที่เห็นด้วยตาจริง, ภาพที่ได้จากการเขียนด้วยเทคนิคดังกล่าว, ทัศนียภาพ, ทิวทัศน์, ทัศนวิสัย, ความซึ้ง, ภาพซึ้งที่มองไปข้างหน้า. adj. เกี่ยวกับเทคนิค หรือภาพดังกล่าว, Syn. discr | profound | (พระเฟาดฺ') adj. ลึกซึ้ง, ล้ำลึก, สุดซึ้ง, สนิท, แน่นแฟ้น, ถ้วนทั่ว, ต่ำ. n. ทะเลลึก, มหาสมุทร, ความลึก, ความล้ำลึก., See also: profoundness n., Syn. intense | recondite | (เรค'เคินไดทฺ', รีคอน'ไดทฺ) adj. ลึกซึ้งมาก, ลึกลับมาก, ซอกแซก, รู้จักกันน้อย, คลุมเครือ, See also: reconditeness n., Syn. deep, occult, secret | savant | (เซวานทฺ'แซฟ'เวินทฺ) n. ชายที่มีความรู้มากและลึกซึ้ง, นักปราชญ์, เมธี, ผู้คงแก่เรียน | sentimental | (เซนทะเมน'เทิล) n. รู้สึกมากกว่าปกติ, รู้สึกเกินควร, มีอารมณ์อ่อน ไหว, ซาบซึ้ง, สะเทือนอารมณ์ได้ง่าย, เห็นอกเห็นใจ, Syn. warm, sympathetic, loving | shallow | (แชล'โล) adj. ตื้น, ตื้น ๆ , ไม่ลึก, ไม่ลึกซึ้ง, ผิวเผิน. n. ที่ตื้น, หาดตื้น, น้ำตื้น. vt., vi. ทำให้ตื้น, กลายเป็นตื้น., See also: shallowly adv. shallowness n., Syn. slight, shoal | skin-deep | adj. ผิวเผิน, ตื้น ๆ , ไม่ลึกซึ้ง, เล็กน้อย, เกี่ยวกับความหนาของผิวหนัง | soppy | (ซอพ'พี) adj. เปียกชุ่ม, เปียกโชก, เปียกชื้น, มีฝนตกมาก, มีอารมณ์อ่อนไหวมากเกินไป, ซาบซึ้งใจมากเกินไป, เศร้าหมอง., See also: soppiness n. | suffuse | (ซะฟิวซฺ') vt. แผ่, กระจาย, ระบาย, ป้าย, ทำให้นอง, ทำให้เปียกชุ่ม, ทำให้ซาบซึ้ง., See also: suffusedly adv. suffusion n. suffusive adj., Syn. pervade, spread | superficial | (ซูเพอพีช'เชิล) adj. ผิวเผิน, อยู่ผิวนอก, ใกล้ผิวหน้า, ตื้น ๆ , ไม่ลึกซึ้ง, ไม่สำคัญ., See also: superficialness n. superficiality n., Syn. cursory |
| appreciate | (vt) เห็นคุณค่า, เล็งเห็น, ยกย่อง, ชมเชย, สำนึกบุญคุณ, ซาบซึ้ง | beholden | (adj) เป็นหนี้บุญคุณ, รู้สึกซาบซึ้ง, ได้รับความเมตตา | dearly | (adv) โดยรักใคร่, อย่างสุดซึ้ง, แพง | deep | (adj) ลึก, ลึกซึ้ง, เข้ม, สุดซึ้ง, ห่างไกล | depth | (n) ความลึก, ความลึกซึ้ง, ความเข้มข้น, ความรุนแรง, ส่วนลึก | FAR-far-fetched | (adj) กว้างขวาง, ลึกซึ้ง, ไกลจากความจริง | grasp | (vt) ฉวย, คว้า, จับแน่น, เข้าใจ, กำ, รู้ซึ้ง | imbue | (vt) ทำให้เต็ม, ทำให้ซาบซึ้ง, ทำให้ชุ่ม, ทำให้โชก | impress | (vt) กด, พิมพ์, ทำให้ซาบซึ้ง, ประทับตรา, ยึด | impressive | (adj) เร้าความรู้สึก, ประทับใจ, ซาบซึ้งใจ | incomprehensive | (adj) ไม่ลึกซึ้ง, ไม่กว้างขวาง, ไม่ครอบคลุม | intimate | (adj) คุ้นเคย, ใกล้ชิด, ส่วนตัว, สนิทสนม, ลึกซึ้ง | profound | (adj) สุดซึ้ง, เต็มที่, สนิท, แน่นแฟ้น | profundity | (n) ความคิดลึกซึ้ง, ความเต็มที่, การหลับสนิท | radical | (adj) สุดขีด, รุนแรง, ลึกซึ้ง, เป็นรากฐาน, เป็นรากศัพท์ | recondite | (adj) ลึกลับ, ลึกซึ้ง, เคลือบคลุม, คลุมเครือ | sentimental | (adj) ซาบซึ้ง, เห็นใจ, มีอารมณ์อ่อนไหว | sentimentality | (n) ความซาบซึ้ง, ความเห็นอกเห็นใจ | superficial | (adj) ตื้นๆ, เพียงผิวเผิน, ไม่ลึกซึ้ง, ไม่สำคัญ | thrill | (n) ความเสียวซ่าน, ความตื่นเต้น, ความซาบซึ้ง | thrill | (vi, vt) เสียวซ่าน, ซาบซึ้ง, ตื่นเต้น, สั่น | thrilling | (adj) เสียวซ่าน, ซาบซึ้ง, น่าตื่นเต้น, เนื้อเต้น |
| introspective | (adj) คิดลึก, คิดอย่างลึกซึ้ง, คิดภายในใจ, ภายใน | เป็นแฟนกันมั้ย | เป็นเพลง เพราะๆ ที่ มีเด็กสาวคนนึง ร้องไ ชายหนุ่มฟัง ทั้ง2 ซึ้งมากมาย โอ้วๆๆๆ ซึ้งมากมาย เพราะๆๆๆๆจับใจ ในคืนวันที่ 12/10/08 maday Tomahawk | เป็นแฟนกันมั้ย | เป็นเพลง เพราะๆ ที่ มีเด็กสาวคนนึง ร้องให้ ชายหนุ่มฟัง ทั้ง2 ซึ้งมากมาย โอ้วๆๆๆ ซึ้งมากมาย เพราะๆๆๆๆจับใจ ในคืนวันที่ 12/10/08 maday Tomahawk | แฟนกันมั้ย | เป็นเพลง เพราะๆ ที่ มีเด็กสาวคนนึง ร้องให้ ชายหนุ่มฟัง ทั้ง2 ซึ้งมากมาย โอ้วๆๆๆ ซึ้งมากมาย เพราะๆๆๆๆจับใจ ในคืนวันที่ 12/10/08 maday Tomahawk |
| 感謝 | [かんしゃ, kansha] (n, vt) ซาบซึ้ง, รู้สึกขอบคุณ |
| 感動 | [かんどう, kandou] (n) ความตื้นตันใจ, ความซาบซึ้ง | 痛み入る | [いたみいる, itamiiru] ซาบซึ้ง(ในความกรุณา) |
| 深める | [ふかめる, fukameru] TH: ศึกษาให้ลึกซึ้ง | 深まる | [ふかまる, fukamaru] TH: ลึกซึ้งขึ้น EN: to deepen (vi) |
| kontemplativ | (adj) ที่คิดลึกซึ้ง, ที่คิดไตร่ตรองอย่างแน่วแน่, ที่ตั้งใจพิจารณาอย่างรอบคอบ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |