Soil biochemistry | ชีวเคมีของดิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Clinical biochemistry | ชีวเคมีคลินิก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Veterinary clinical niochemistry | ชีวเคมีคลินิกทางสัตวแพทยศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Biochemical engineering | วิศวกรรมชีวเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Biochemical engineering | วิศวกรรมชีวเคมี [TU Subject Heading] |
Biochemical genetics | พันธุศาสตร์ชีวเคมี [TU Subject Heading] |
Biochemical oxygen demand | ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี [TU Subject Heading] |
Biochemistry | ชีวเคมี [TU Subject Heading] |
Biochemical Oxygen Demand, BOD | ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี, บีโอดี, Example: เป็นค่าวัดความสกปรกของน้ำในรูปปริมาณอินทรีย์ สารอย่างหยาบ ๆ [สิ่งแวดล้อม] |
Ultimate Biochemical Oxygen Demand | ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมีสูงสุด (บีโอดีสูงสุด), Example: โดยทั่วไปหมายถึงปริมาณออกซิเจนทั้งหมดเพื่อ ให้พบกับบีโอดีขั้นแรก โดยเฉพาะแล้ว หมายถึงปริมาณออกซิเจนที่ต้องการให้พอกับบีโอดีทั้งในขั้นแรกและขั้นสอง [สิ่งแวดล้อม] |
Positron Emission Tomography | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะในร่างกายที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน โดยการตรวจวัดสารกัมมันตรังสีบางชนิด ซึ่งให้แก่ร่างกายในรูปของสารเภสัชรังสี เพื่อใช้ในการตรวจวัดเชิงปริมาณของขบวนการทางชีวเคมีในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ไอโซโทปรังสีที่ใช้จะเป็นชนิดที่ปลดปล่อยโพซิตรอนออกมา เช่น ออกซิเจน-15 ไนโตรเจน-13 และคาร์บอน-11 โพซิตรอนที่ปล่อยออกมานี้จะเข้าทำปฏิกิริยาประลัย (annihilation) เกือบจะทันทีทันใดกับอิเล็กตรอนที่โคจรอยู่รอบนิวเคลียสในอะตอมของสาร ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสารเภสัชรังสีนั้น และมีรังสีแกมมาพลังงาน 511 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ปลดปล่อยออกมาพร้อมกันในสองทิศทางตรงกันข้าม สามารถตรวจวัดได้ด้วยหัววัดรังสีที่อยู่ตรงข้ามกัน จากหัววัดหลายๆ หัวที่ล้อมรอบคนไข้ ทำให้ทราบตำแหน่งที่ผิดปกติในร่างกายได้ โดยการแปลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ เนื่องจากส่วนใหญ่ของไอโซโทปรังสีที่ใช้กับเทคนิคนี้ เป็นไอโซโทปของธาตุที่เป็นส่วนประกอบของอินทรีย์วัตถุ จึงทำให้ PET มีประโยชน์ในการศึกษากระบวนการทางสรีรวิทยาและชีวเคมีที่ผิดปกติด้วย ในทางปฏิบัติ PET จำเป็นต้องใช้ไอโซโทปรังสีที่ผลิตขึ้นจากการระดมยิงที่เป้า ด้วยโปรตรอนพลังงานสูงภายในเครื่องไซโคลตรอน การศึกษาโดยใช้ PET จะมุ่งเน้นไปยังระบบประสาทส่วนกลางเป็นหลัก ด้วยการวัดตัวแปรเสริมอื่นๆ ประกอบ เช่น การไหลเวียนของเลือด กระบวนการสร้างและสลายน้ำตาลกลูโคส และการเผาผลาญออกซิเจน จึงมีความเป็นไปได้ที่จะหาสมุฏฐานของโรคลมบ้าหมู หรือหาขนาดที่แน่นอนของบริเวณที่พิการในสมองได้ ในการศึกษาที่เกี่ยวกับหัวใจและหน้าที่ของหัวใจ การตรวจโดยใช้ PET จะเป็นวิธีที่เฉพาะเจาะจง และให้ผลดีกว่าการตรวจสอบโดยวิธีอื่นๆ [พลังงาน] |
Biochemical Aspect | ลักษณะทางชีวเคมี, ชีวเคมี [การแพทย์] |
Biochemical Assessment | การวัดการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี, การวัดทางชีวเคมี [การแพทย์] |
Biochemical Examination | การตรวจทางชีวเคมี, ตรวจหาสารอาหารทางชีวเคมี, การตรวจทางชีวเคมี [การแพทย์] |
Biochemical Function | หน้าที่ทางชีวเคมี [การแพทย์] |
Biochemical Method | วิธีการทางชีวเคมี [การแพทย์] |
Biochemical Properties | คุณสมบัติทางชีวเคมี [การแพทย์] |
Biochemical Survey | สำรวจทางชีวเคมี [การแพทย์] |
Biochemical Test | การตรวจทางชีวเคมี, วิธีทางชีวเคมี [การแพทย์] |
Biochemicals | ชีวเคมีภัณฑ์ [การแพทย์] |
Biochemistry | ชีวเคมี [การแพทย์] |
Biochemists | นักชีวเคมี [การแพทย์] |
Biomedical Activities, Basic | ปฏิกิริยาชีวเคมีพื้นฐาน [การแพทย์] |
Defence, Biochemical Systems of | แนวป้องกันทางชีวเคมี [การแพทย์] |
genetic research | genetic research, หมายถึงการวิเคราะห์ (analysis) ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ โครโมโซม โปรตีน และสารชีวเคมี เพื่อที่จะวินิจฉัยยีนหรือสารพันธุกรรมที่ถ่ายทอดได้ ลักษณะการกลายพันธุ์ ลักษณะที่เป็นผลของยืน (phenotypes) หรือลักษณะของโครโมโซม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความชุก อัตราการแสดงออก [ชีวจริยธรรม] |
biochemical oxygen demand (BOD) | ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี (บีโอดี), ปริมาณของออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ไปในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำ ค่าบีโอดีเป็นเกณฑ์อย่างหนึ่งในการวัดคุณภาพของน้ำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
enzyme | เอนไซม์, สารอินทรีย์จำพวกโปรตีนที่ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในปฏิกิริยาชีวเคมี เฉพาะอย่างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีอันจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของเซลล์ เช่น ในปฏิกิริยาย่อยแป้งไปเป็นน้ำตาลมอลโทส จะต้องมีเอนไซม์ชื่ออะไมเลส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Genetics, Biochemical | พันธุศาสตร์ชีวเคมี [การแพทย์] |
Metabolism, Inborn Errors | ความผิดปกติของเมตาโบลิสม์, การผิดปกติของการครองธาตุและชีวเคมีมาแต่กำเนิด [การแพทย์] |