External finance | เงินทุนจากภายนอก [เศรษฐศาสตร์] |
Annual dose | ปริมาณรังสีรอบปี, ปริมาณรังสีรวมในรอบปีที่ได้รับจากภายนอกร่างกาย และจากนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย, Example: [นิวเคลียร์] |
Bone marrow syndrome | กลุ่มอาการทางไขกระดูก, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Cerebrovascular syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Central nervous system syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Terrestrial radiation | รังสีจากพื้นโลก, รังสีจากสารกัมมันตรังสีที่มีอยู่บนพื้นโลก เป็นรังสีที่มนุษย์ได้รับจากภายนอกร่างกายปีละประมาณ 410 ไมโครซีเวิร์ต ส่วนที่มีผลเป็นปริมาณรังสีต่อมนุษย์คือรังสีแกมมา ซึ่งปลดปล่อยมาจากนิวไคลด์รังสีที่มีกำเนิดมาพร้อมกับโลก (ดู Primordial radionuclides) ได้แก่ สารกัมมันตรังสีในอนุกรมยูเรเนียม อนุกรมทอเรียม และสารกัมมันตรังสีโพแทสเซียม (K-40) [นิวเคลียร์] |
Spontaneous fission | ฟิชชันเกิดเอง, การแบ่งแยกนิวเคลียสที่เกิดขึ้นโดยไม่มีตัวกระตุ้นจากภายนอก ไอโซโทปของธาตุหนักหลายชนิดสลายตัวในลักษณะนี้เป็นส่วนใหญ่ เช่น แคลิฟอร์เนียม-252 เฟอร์เมียม-257 และ ไอน์สไตน์เนียม-255 วัสดุเกิดฟิชชันได้ทุกชนิดสามารถเกิดกระบวนการนี้ได้เช่นกันเป็นบางครั้ง [นิวเคลียร์] |
Radiation syndrome | กลุ่มอาการป่วยจากรังสี, กลุ่มอาการที่ปรากฏเมื่อมนุษย์ได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ มี 3 กลุ่มอาการขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ ได้แก่ กลุ่มอาการทางไขกระดูกหรือกลุ่มอาการทางระบบเลือด กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร และกลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง ทุกกลุ่ม จะแสดงอาการเป็น 3 ระยะ คือ <br>-ระยะเริ่มต้น (prodromal stage) มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย</br> <br>-ระยะแอบแฝง (latent stage) เป็นระยะที่ไม่แสดงอาการ</br> <br>-ระยะแสดงอาการที่แท้จริง (manifest illness stage) มีอาการที่แสดงถึงความเสียหายของอวัยวะ</br> <br>(ดู bone marrow syndrome, cerebrovascular syndrome และ gastrointestinal syndrome ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Primordial radionuclide | นิวไคลด์กัมมันตรังสีเกิดพร้อมโลก, นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่มีกำเนิดมาพร้อมกับโลก ประกอบด้วยนิวไคลด์ในอนุกรม ยูเรเนียม ทอเรียม และแอกทิเนียม รวมทั้งนิวไคลด์กัมมันตรังสีอื่นๆ ที่มีในธรรมชาติ เช่น โพแทสเซียม-40 (K-40) รูบิเดียม-87 (Rb-87) มนุษย์ได้รับรังสีจากนิวไคลด์กัมมันตรังสีกลุ่มนี้ตลอดเวลา ทั้งจากภายนอกและภายในร่างกาย (ดู radioactive series ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Hematopoietic syndrome | กลุ่มอาการทางระบบเลือด, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่าง กายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Gastrointestinal syndrome | กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 10 เกรย์ขึ้นไป มีอาการท้องร่วง คลื่นไส้ และอาเจียนอย่างรุนแรง และจะเสียชีวิตภายใน 2 สัปดาห์ [นิวเคลียร์] |
National Missile Defence | โครงการต่อต้านขีปนาวุธพิสัยกลางและไกล " เป็นโครงการพัฒนาขีปนาวุธต่อต้านขีปนาวุธพิสัยกลางและไกล เพื่อป้องกันขีปนาวุธจากภายนอกประเทศของสหรัฐอเมริกา NMD จัดตั้งภายในประเทศ ส่วน Theatre Missile Defence (TMD) เป็นระบบขีปนาวุธในยุทธบริเวณนอกประเทศ อาทิ พื้นที่ที่สหรัฐอเมริกามีฐานทัพ อยู่ เป็นต้น " [การทูต] |
Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] |
Sovereignty | อธิปไตย ประเทศที่มีอธิปไตยนั้นมีอิสระ ไม่ตกอยู่ภายใต้การควบคุมจากภายนอกประเทศ ในการดำเนินกิจการของประเทศตนทั้งภายในและภายนอกประเทศ [การทูต] |
Amines, Exogenous | อะมีนจากภายนอก [การแพทย์] |
Contaminants | สิ่งแปลกปลอมจากภายนอก, สารปนเปื้อน, สิ่งปนเปื้อน, เชื้อที่ปนเปื้อน [การแพทย์] |
Control, Extrinsic | การควบคุมจากภายนอกหัวใจ [การแพทย์] |
Distractibility | ความตั้งใจเปลี่ยนแปลงง่ายตามสิ่งเร้าต่างๆ, ถูกดึงโดยสิ่งเร้าจากภายนอกได้ง่าย, วอกแวกง่าย [การแพทย์] |
Electrical Stimulation, External | กระตุ้นด้วยไฟฟ้าจากภายนอก [การแพทย์] |
Environment, Extrahospital | สิ่งแวดล้อมจากภายนอกโรงพยาบาล [การแพทย์] |
Exogenous | นอกร่างกาย, การได้รับเชื้อโดยตรงจากภายนอก, ภายนอก, นอกกาย, จากภายนอก, สิ่งที่อยู่ภายนอก, สาเหตุภายนอก, ได้รับจากภายนอกร่างกาย [การแพทย์] |
Exogenous Factors | ปัจจัยจากภายนอกร่างกาย [การแพทย์] |
Exogenous Sources | จากเหตุภายนอก, ได้รับจากภายนอก, เหตุภายนอกกาย, ภายนอกร่างกาย, เหตุภายนอก [การแพทย์] |
Extracellular Fluid | น้ำเยื่อ, ของเหลวที่อยู่นอกเซลล์, ของเหลวนอกเซลล์, ของเหลวภายนอกเซลล์, น้ำนอกเซลล์, ภาคน้ำหล่อเลี้ยง, ของเหลวที่อยู่นอกเซลล์, สารน้ำภายนอกเซลล์, น้ำส่วนนอกเซลล์, ของเหลวจากภายนอกเซลล์, ของเหลวภายนอกเซลล์, น้ำที่อยู่นอกเซลล์ [การแพทย์] |
Extrinsic Factors | ปัจจัยที่มาจากภายนอกปัจจัยภายนอก [การแพทย์] |
Fixators, External | เครื่องตรึงกระดูกจากภายนอก [การแพทย์] |
electrolytic cell | เซลล์อิเล็กโทรไลต์, อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วจุ่มอยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ จะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ก็ต่อเมื่อได้รับพลังงานไฟฟ้าจากภายนอกเท่านั้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คืออุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการอิเล็กโทรลิซิสนั่นเอง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
engine | เครื่องยนต์, เครื่องกลใด ๆ ที่ต้องใช้พลังงานจากภายนอกมาทำให้เครื่องกลนั้นทำงานได้ ซึ่งหมายถึงเครื่องกลที่ใช้พลังงานจากไอน้ำ น้ำมัน และแก๊ส เช่น เครื่องจักรไอน้ำ เครื่องยนต์ดีเซล เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
free electron | อิเล็กตรอนอิสระ, อิเล็กตรอนที่ไม่ถูกยึดไว้กับอะตอมใดอะตอมหนึ่งโดยเฉพาะ จึงเคลื่อนที่ไปมาอย่างอิสระ เมื่อได้รับแรงกระทำจากสนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กจากภายนอก ก็จะเคลื่อนที่ได้อย่างมีทิศทางแน่นอน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
passive transport | แพสสีฟทรานสปอร์ต, การเคลื่อนที่ของโมเลกุลหรือไอออนของสารจากบริเวณหนึ่งไปสู่อีกบริเวณหนึ่งโดยไม่ใช้พลังงานจากภายนอกระบบ เช่น การออสโมซิส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
twisted pair cable | สายคู่บิดเกลียว, สายนำสัญญาณ แต่ละคู่สายที่เป็นสายทองแดงจะถูกพันบิดเป็นเกลียว เพื่อลดการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในสายเดียวกันหรือจากภายนอก ทำให้สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลจำนวนมากเป็นระยะทางไกลได้หลายกิโลเมตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Ilium, Sup Spine of, Posterior | สันกระดูกสะโพกส่วนล่าง, ส่วนที่ยื่นจากภายนอกของกระดูกสะโพก [การแพทย์] |
Infection, Exogenous | ติดเชื้อจากที่อื่น, การติดเชื้อจากภายนอก [การแพทย์] |
Macroscropic Features | ลักษณะที่เห็นจากภายนอก [การแพทย์] |
Messengers, Extracellular | ตัวนำข่าวจากภายนอกเซลล์ [การแพทย์] |
Competent cell | เซลล์ที่พร้อมรับดีเอ็นเอจากภายนอกเข้าไปในเซลล์, Example: <p>ในงานด้านพันธุวิศวกรรม เมื่อต้องการส่งถ่ายพลาสมิด (ดีเอ็นเอชนิดหนึ่ง) เข้าสู่เซลล์แบคทีเรีย E. coli (เซลล์ผู้รับ) ต้องอาศัยขบวนการที่เรียกว่า transformation ปัจจัยที่ทำให้ขั้นตอน transformation ประสบผลสำเร็จปัจจัยหนึ่งคือ ประสิทธิภาพของ competent cell ที่ถูกเตรียมขึ้นมา การเตรียม competent cell มีหลายวิธีแต่ที่นิยมคือ ใช้ calcium chloride ผสมกับเซลล์นั้น แต่ผลสำเร็จของการ transformation จะสูงกว่าเมื่อใช้ DMSO ขั้นตอนการส่งถ่ายพลาสมิดเข้าสู่เซลล์ E. coli เริ่มจากนำ competent cell ที่เตรียมได้ผสมกับพลาสมิดที่อุณหภูมิต่ำ แล้วปรับอุณหภูมิให้ร้อนขึ้นอย่างรวดเร็วโดยแช่ในอ่างน้ำอุ่น ผลก็คือ พลาสมิดสามารถผ่านเข้าสู่เซลล์ E. coli ได้ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. "การโคลนยีน" ในพันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. หน้า 106-125. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |