ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: จกร, -จกร- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ มนุษย์ป้า | คำที่ใช้เรียกผู้ที่มีพฤติกรรมที่มีลักษณะที่เห็นแก่ตัว ทำสิ่งต่างๆ โดยไม่สนใจว่าจะทำให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น การแย่งที่นั่งว่างในรถโดยสาธารณะ, การแซงคิวไม่ยอมต่อแถวคอยเวลาขึ้นรถไฟฟ้า, โดยส่วนมากจะเป็นสุภาพสตรีในวัยกลางคนจนถึงสูงอายุ จึงเป็นที่มาถึงคำว่า "ป้า" เริ่มเป็นที่ใช้กันแพร่หลายในเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในช่วงปี 2557 โดยล่าสุดมีลือกันถึงกรณีมีผู้เปิดประตูรถแท็กซี่มีผู้โดยสารอยู่ขณะที่กำลังจอดติดไฟแดง ขอขึ้นไปนั่งด้วยหน้าตาเฉยโดยอ้างว่าขอติดรถไปด้วยตามเส้นทางที่ผ่าน |
|
| featuring | ผู้ร่วมกิจกรรมรับเชิญ มักใช้กับการแสดงดนตรีหรือภาพยนต์ เช่น การแสดงดนตรีวงนี้มี "นักร้องรับเชิญ" ที่มีชื่อเสียง | นัยประหวัด | (n) คำที่มีความหมายให้ย้อนนึกถึง เช่น ความหมายนัยตรงแปลว่า ก้อนเนื้อร้าย ความหมายโดยนัย เช่น “อย่าทำตัวเป็นมะเร็งในที่ทำงาน” มะเร็ง หมายถึง ผู้ที่ไม่มีประโยชน์ให้กับบริษัท ความหมายนัยประหวัด เช่น “ กิจกรรมในงานวันมะเร็งแห่งชาติได้รับความสนใจมาก“ มะเร็ง หมายถึง การย้อนนึกถึงความทรมานจความเจ็บปวดจากเนื้อร้าย โรคร้ายนี้คร่าชีวตผู้คนจำจวนมาก |
| One day, Father Khwan Khao brought Khwan Khao to leave with Grandpa. | วันหนึ่งคุณพ่อของขวัญข้าวพาขวัญข้าวมาฝากไว้กับคุณปู่ เพราะคุณพ่อต้องไปขับรถส่งผู้โดยสารที่กรุงเทพมหานคร วันนี้คุณปู่พาขวัญข้าว มาดูข้าวที่คุณปู่ได้ปลูกไว้ จนถึงเย็นฝนก็ตกลงมา ขวัญข้าวจึงพูดว่าคุณปู่ตะรีบเข้าบ้านเดี๋ยวไม่สบาย คุณปู่จึงพูดว่าฝนไม่ได้ทำให้ไม่สบายหรอก แต่ต้องไปอาบน้ำ ตอนกลางคืนฝนก็ตกหนักมาก จนขวัญข้าวนอนไม่หลับ ขวัญข้าวตื่นมาให้คุณปู่เล่านิทานให้ฟังปู่เล่านิทานให้ฟังก็ได้ปู่ตอบ มีอยู่วันหนึ่งในดินเเดนแห้งเเร้งทุกคนไม่มีน้ำดื่ม จนกระทั่งวันหนึ่งมีจอบตกลงมาจากบนท้องฟ้า ทุกคนจึงหยิบจอบมาเพื่อขุด แต่ในดินแดนก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทุกคนจึงเลิกขุด เเต่มีเด็กผู้ชายคนหนึ่งขุดไปเรื่อยๆจากที่ขุด1ไร่กลายเป็น2ไร่จากที่ขุด2ไร่กลายเป็น4ไร่ จนเด็กผู้ชายคนนั้นก็ล้มลง จากนั้นฝนก็ได้ตกลงมา ทุกคนจึงมีชีวิตอยู่ พอคูณปู่เล่าเสร็จคุณปู่หันไปไหว้รูปในหลวงรัชกาลที่่9 วันต่อมาโรงเรียนของขวัญข้าวมีกิจกรรมขายของ ขวัญข้าวจึงทำวุ้นมะพร้าวจากสีธรรมชาติ จอมขายมะม่วงกวน วันต่อมาคุณพ่อของขวัญข้าวมาหาขวัญข้าว แล้วทุกคนจึงเปิดโครงการ"ของขวัญจากดิน" เพราะทุกอย่างที่นำมาขายล้วนแต่ปลูกมาจากดbo |
| 扫墓 | [sǎo mù, ㄙㄠˇ ㄇㄨˋ, 扫 墓] กิจกรรมการไปทำความสะอาดหลุมศพ เอากระดาษริ้วๆ ไปวางทับหรือกดติดไว้บริเวณที่ฝังศพ ในเทศกาลเช็งเม้งของคนจีน |
| 동방신기 | [ทงบังชินกิ] (n, uniq) เป็นบอยแบนด์จากเกาหลีใต้ ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 2003 ในสังกัดเอสเอ็มเอ็นเตอร์เทนเมนต์ชื่อวงแปลว่า "เหล่าเทวาผู้เจิดจรัสแห่งบุรพทิศ" แรกก่อตั้ง วงประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ ยูโน ยุนโฮ หัวหน้าวง, ชเวคัง ชางมิน, ยองอุง แจจุง, มิกกี ยูชอน และซีอา จุนซู กระทั่งเดือนกรกฎาคม 2009 แจจุง ยูชอน และจุนซู ฟ้องร้องตันสังกัด กิจกรรมต่าง ๆ ของวงจึงหยุดเป็นเวลา 2 ปี 3 เดือน ภายหลัง สมาชิกทั้งสามลาออกไปตั้งวงใหม่ชื่อ เจวายเจ (JYJ) สังกัดซีเจสเอนเตอร์เทนเมนต์ (C-JeS Entertainment) ทงบังชินกีจึงกลายเป็นกลุ่มนักร้องคู่โดยเหลือสมาชิกคือ ยุนโฮ และ ชางมิน |
| ลัญจกร | (n) seal, Syn. ตราลัญจกร, Example: เครื่องหมายที่อยู่ในรูปไข่ ตรงกลางดวงตรานั้นคือ พระราชลัญจกรประจำรัชกาลปัจจุบัน, Thai Definition: ตรา สำหรับใช้ตีหรือประทับ, Notes: (บาลี) | กระจกรถ | (n) windshield, See also: windscreen, Example: ขอทานที่สี่แยกไฟแดงมาเคาะกระจกรถเพื่อขอเศษเงิน, Count Unit: บาน | กิจกรรม | (n) activity, See also: operation, Example: ปัจจุบันนักศึกษาตื่นตัวกันมากในเรื่องกิจกรรมการเมือง, Thai Definition: สิ่งที่ปฏิบัติ, การปฏิบัติงาน | อนิจกรรม | (n) death, See also: demise, Syn. ความตาย, Example: ข้าพเจ้าเริ่มประเดิมเขียนเกี่ยวกับท่านในวันที่ท่านอนิจกรรมนั้นเอง | ถึงอนิจกรรม | (v) die, See also: pass away, Syn. ถึงแก่อนิจกรรม, ตาย, สิ้นชีวิต, Example: ท่านเจ้าคุณป่วยและเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลก่อนถึงอนิจกรรม 3 วันเท่านั้น | ถึงแก่อนิจกรรม | (v) pass away, See also: die, dead, perish, Syn. ตาย, มรณะ, เสีย, สิ้นใจ, มรณกรรม, ดับ, ถึงมรณกรรม, ถึงแก่มรณกรรม, ถึงแก่กรรม, ถึงมรณภาพ, มรณภาพ, Ant. เกิด, ประสูติ, กำเนิด, Example: พอท่านรับประทานอาหารนี้แล้ว ท่านก็เป็นลมสิ้นสติไปจนถึงแก่อนิจกรรมดังกล่าว, Thai Definition: ตาย (ใช้แก่พระยาพานทองหรือเทียบเท่า) | กิจกรรมเข้าจังหวะ | (n) rhythmic activities | กิจกรรมนอกหลักสูตร | (n) extracurricular activity, Example: ทางโรงเรียนจัดให้มีกิจกรรมนอกหลักสูตรสำหรับนักเรียน |
| กระเหน็จกระแหน่ | น. เชิงชั้น, เล่ห์กล, เช่น กระเหน็จกระแหน่รณรงค์ (สมุทรโฆษ). | กิจกรรม | น. การที่ผู้เรียนปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อการเรียนรู้ | กิจกรรม | กิจการ. | ถึงแก่อนิจกรรม | ก. ตาย (ใช้แก่พระยาพานทองหรือเทียบเท่า). | ราชลัญจกร | (ราดชะลันจะกอน) น. ตราของพระมหากษัตริย์สำหรับประทับในเอกสารสำคัญ เรียกว่า พระราชลัญจกร, ใช้ว่า พระราชลัญฉกร ก็มี. | ลัญจกร, ลัญฉกร | (ลันจะกอน, ลันฉะกอน) น. ตรา (สำหรับประทับ), ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระราชลัญจกร เช่น ประทับพระราชลัญจกร. | ไวยาวัจกร | (-วัดจะกอน) น. คฤหัสถ์ผู้ได้รับแต่งตั้งให้มีหน้าที่เบิกจ่ายนิตยภัตและมีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษาจัดการทรัพย์สินของวัดตามที่เจ้าอาวาสมอบหมายเป็นหนังสือ. | อนิจกรรม | น. ความตาย, ใช้แก่ผู้ตายที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทยขึ้นไป หรือทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ว่า ถึงแก่อนิจกรรม. | กฎหมายปกครอง | น. กฎหมายสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชนที่วางหลักเกี่ยวกับการจัดระเบียบในทางปกครองของรัฐ และการดำเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะ รวมทั้งวางหลักความเกี่ยวพันในทางปกครองระหว่างฝ่ายปกครองกับเอกชน. | กรรมวาจาจารย์ | (กำมะวาจาจาน) น. อาจารย์ผู้ให้สำเร็จกรรมวาจา คือ คู่สวด. | กระดูกแทบออกนอกเนื้อ | ว. เหนื่อยยากแสนสาหัส เช่น กว่าจะทำสำเร็จกระดูกแทบออกนอกเนื้อ. | กระโดด | ก. ใช้กำลังเท้าดันพื้นให้ตัวลอยสูงขึ้นหรือเคลื่อนจากที่เดิม เช่น กระโดดสูง ดีใจกระโดดจนตัวลอย, ภาษาปากว่า โดด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปลากระโดด ตัวพิมพ์กระโดด. | กระหมอบ | ว. แขม่ว ๆ เช่น หายใจกระหมอบหอบเต็มที (คาวี). | กลอักษร | (กน-, กนละ-) น. กลบทที่ซ่อนเงื่อนไว้ให้อ่านฉงน ตัวอย่างว่า โอ้อกเอ๋ยแสนวิตก กระไรเลยระกำใจ จะจากไกลไม่เคย ให้อ่านว่า โอ้อกเอ๋ยแสนวิตกโอ้อกเอ๋ย กระไรเลยระกำใจกระไรเลย จะจากไกลไม่เคยจะจากไกล. (กลอักษรงูกลืนหาง). | ก๊วน | น. กลุ่มคนที่สนิทสนมและร่วมทำกิจกรรมเดียวกันเป็นประจำ เช่น เขาสนิทกับรัฐมนตรีคนนี้เพราะเล่นกอล์ฟก๊วนเดียวกัน | กางเกงเล | น. กางเกงแบบชาวประมง เป็นกางเกงที่ตัดแบบกางเกงขาก๊วยหรือกางเกงแพร ใช้ผ้าฝ้ายสีต่าง ๆ เช่น นักศึกษาสมัยนี้ชอบนุ่งกางเกงเลเวลาทำกิจกรรมกัน. | การออกเสียงประชามติ | น. การขอความเห็นชอบจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อาจกระทบถึงประโยชน์ส่วนได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน โดยวิธีการให้ออกเสียงลงมติโดยตรง. | กินนรเก็บบัว | น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า ฉิใจฉะใจกระไรสมร หวังสวาทปลิดสวาทบำราศจร ตัดอาลัยตัดอาวรณ์ให้นอนเดียว. | กีฬา | น. กิจกรรมหรือการเล่นที่มีกฎกติกากำหนด เพื่อความสนุกเพลิดเพลินผ่อนคลายความเครียด หรือเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง และอาจใช้เป็นการแข่งขันเพื่อความเป็นเลิศ เช่น ฟุตบอล ว่ายน้ำ หมากรุก ปีนเขา ล่าสัตว์. (ป.). (ดู กรีฑา ๑). | เก็บตก | เก็บเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือเรื่องเบื้องหลังจากงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ข่าวนี้เก็บตกมาจากพิธีเปิดฟุตบอลโลกที่เยอรมนี เรื่องนี้ฉันเก็บตกมาจากที่ประชุม. | เกม ๑ | น. การแข่งขันที่มีกติกากำหนด เช่น เกมกีฬา, การเล่นเพื่อความสนุก เช่น เกมคอมพิวเตอร์, การแสดงเพื่อสาธิตกิจกรรม เช่น เกมการบริหาร, โดยปริยายหมายถึงการแสดงที่ใช้กลวิธีหรือเล่ห์เหลี่ยมเพื่อหักล้างกัน เช่น เกมการเมือง, ลักษณนามเรียกการแข่งขันหรือการเล่นที่จบลงด้วยการแพ้ชนะกันครั้งหนึ่ง ๆ เช่น เล่นแบดมินตัน ๓ เกม. | แข่งเกมวิบาก | น. การเล่นชนิดหนึ่ง ผู้เล่นต้องวิ่งข้ามสิ่งกีดขวางหรือทำกิจกรรมที่ยาก ๆ เช่น ใช้ปากควานหาสตางค์ในแป้ง สนเข็ม เป่าลูกโป่งให้แตก ใครทำเสร็จและวิ่งถึงเส้นชัยก่อนเป็นผู้ชนะ. | ค่ายเยาวชน | น. สถานที่ซึ่งจัดขึ้นหรือใช้ฝึกอบรมเยาวชนให้รู้จักการดำรงชีวิตเป็นหมู่คณะ โดยให้ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ให้รู้จักช่วยตัวเอง ช่วยหมู่คณะ รู้จักระเบียบวินัย. | งาน ๑ | น. สิ่งหรือกิจกรรมที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ การ เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน | จะกรุน, จะกรูน | ว. สีดำ, โบราณเขียนเป็น จกรูน ก็มี เช่น ช้างสารชำนิเมามัน หลากหลากหลายพรรณ แลหน้าจกรูนแสงนิล (อนิรุทธ์). | จำรูญ | ว. รุ่งเรือง, งาม, เช่น ลางหมู่หน้าแดงจกูรล ดูจำรูญจกราด (ม. คำหลวง มหาราช). | แดดิ้น | ก. ใจกระสับกระส่าย, ใจทุรนทุราย. | ตะพัด ๑ | ว. อาการที่เคลื่อนไหวเรื่อยไปอย่างรวดเร็วดุจกระแสนํ้าไหล, สะพัด ก็ว่า. | ตัวตั้งตัวตี | น. ผู้เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการทำกิจกรรมต่าง ๆ, ผู้ที่ตั้งตัวเป็นหัวหน้าในการทำงาน. | โต้โผ | น. หัวหน้าคณะมหรสพ มีละคร งิ้ว เป็นต้น, ตั้วโผ ก็เรียก, โดยปริยายหมายถึงหัวหน้าหรือหัวเรี่ยวหัวแรงในการทำกิจกรรมต่าง ๆ. | ธรรมเกษตร | คนมีใจกรุณา. | ธุรกรรม | น. กิจกรรมที่เกี่ยวกับการทำนิติกรรม สัญญาหรือการดำเนินการใด ๆ กับผู้อื่น ทางการเงิน ทางธุรกิจ หรือการดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สิน. | นันทนาการ | (นันทะ-) น. กิจกรรมที่ทำตามสมัครใจในยามว่าง เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและผ่อนคลายความตึงเครียด, การสราญใจ. | นิทรรศการ | (นิทัดสะกาน) น. การแสดงผลงาน สินค้า ผลิตภัณฑ์ หรือกิจกรรม ให้คนทั่วไปชม. | ปรำ | (ปฺรำ) ก. ทำอาการดุจกระทุ้ง | แปรอักษร | ก. ทำให้มีตัวอักษรหรือภาพปรากฏขึ้น โดยใช้คนจำนวนมากที่อยู่บนอัฒจันทร์ ยกกระดาษ ผ้า หรือวัสดุอื่น ๆ ขึ้นมาพร้อม ๆ กัน ให้เห็นเป็นตัวหนังสือหรือภาพ (มักใช้ประกอบในการเชียร์กีฬา การแสดงกลางแจ้ง หรือกิจกรรมสำคัญ ๆ ). | ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ | น. วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจซึ่งเกี่ยวกับการครองชีพของมนุษย์ ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติ การผลิต การใช้. | มือที่สาม | น. บุคคลฝ่ายที่ ๓ ซึ่งมิใช่คู่กรณี แต่สอดเข้ามาเกี่ยวข้องในกิจกรรมหรือชีวิตของผู้อื่น มักจะเข้ามายุแหย่ให้เกิดความแตกแยกหรือบ่อนทำลาย. | ยุทโธปกรณ์ | น. วัสดุอุปกรณ์ทั้งปวงและยุทธภัณฑ์ทุกชนิดซึ่งใช้ในราชการทหาร รวมทั้งเครื่องมือยานยนต์ ชิ้นส่วนอะไหล่สาธารณูปโภคอันจำเป็นเพื่อปฏิบัติการรบหรือเพื่อดำรงและสนับสนุนกิจกรรมทางทหารโดยไม่คำนึงถึงว่าจะมีความมุ่งหมายทางธุรการหรือทางการรบ. | ละล่ำละลัก | ก. อาการที่พูดไม่ได้เร็วอย่างใจกระอึกกระอักติด ๆ ขัด ๆ เพราะเหนื่อย ตกใจ ดีใจ หรือรีบร้อน เป็นต้น. | วัจฉละ | (วัดฉะละ) ว. มีใจกรุณา, เอ็นดู, อ่อนโยน, มีความรักใคร่. | วัฏจักร | น. ช่วงระยะเวลาของเหตุการณ์หรือกิจกรรมชุดหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นและดำเนินติดต่อกันไปอย่างมีระเบียบจนจบลง ณ จุดเริ่มต้นนั้นอีก เช่น วัฏจักรแห่งฤดูกาล วัฏจักรแห่งพืช. | ศาลาประชาคม | น. สถานที่หรืออาคารที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประชุมประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ของประชาชนในชุมชนนั้น ๆ. | ศูนย์เยาวชน | น. สถานที่ซึ่งจัดไว้ให้เยาวชนไปประกอบกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ศูนย์เยาวชนไทย–ญี่ปุ่น ดินแดง. | สถานการณ์ฉุกเฉิน | น. สถานการณ์อันกระทบหรืออาจกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐหรืออาจทำให้ประเทศหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของประเทศตกอยู่ในภาวะคับขันหรือมีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย การรบหรือการสงคราม. | สมัคร | (สะหฺมัก) ก. ยื่นความจำนงขอเข้าร่วมเป็นสมาชิกหรือร่วมในกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นต้น เช่น สมัครเป็นสมาชิกสมาคม สมัครเข้าทำงาน, บางทีก็มีคำ ใจ ประกอบอยู่ด้วย ซึ่งเป็นคำผสมชนิดที่ต้องการเน้น เช่น ใจสมัคร ว่า ใจที่สมัคร, สมัครใจ ว่า สมัครด้วยความเต็มใจ. | สมาชิก ๑ | (สะมา-) น. ผู้มีสิทธิและมีส่วนร่วมในสมาคม องค์การ หรือกิจกรรมใด ๆ เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสมาคมศิษย์เก่า สมาชิกวารสาร, (ปาก) ลูกค้า, ขาประจำ, เช่น หมู่นี้สมาชิกไม่ค่อยมาอุดหนุนที่ร้านเลย. | ส่วนร่วม | น. ส่วนได้ส่วนเสียในกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น เช่น มีส่วนร่วมในการบำเพ็ญกุศล มีส่วนร่วมในการทุจริต มีส่วนร่วมในการลงทุนบริษัท. | สะพัด ๑ | ว. อาการที่เคลื่อนไหวเรื่อยไปอย่างรวดเร็วดุจกระแสนํ้าไหล เช่น ข่าวแพร่สะพัด เงินหมุนเวียนสะพัด, ตะพัด ก็ว่า. | สายสูตร | เส้นด้ายที่เจ้านายหรือสมเด็จพระสังฆราชจับโยงไปเพื่อกระทำกิจกรรมทางศาสนา เช่น ยกช่อฟ้าหรือเททองหล่อพระพุทธรูปเป็นต้น. |
| | Asynchronous Learning | กิจกรรมการเรียนแบบไม่ประสานเวลา [เทคโนโลยีการศึกษา] | Synchronous Learning | กิจกรรมการเรียนแบบประสานเวลา , กิจกรรมการเรียนแบบประสานเวลา [เทคโนโลยีการศึกษา] | Experiencing Collaborative | กิจกรรมความร่วมมือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Pre-instructional Activites | กิจกรรมก่อนการเรียนการสอน [เทคโนโลยีการศึกษา] | Experiencing Collaborative | กิจกรรมความร่วมมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | อนิจกรรม | ความตาย, ใช้กับผู้ตายที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้น ประถมาภรณ์มงกุฎไทยขึ้นไป หรือ ทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ว่า ถึงแก่อนิจกรรม [ศัพท์พระราชพิธี] | Activity analysis | การวิเคราะห์กิจกรรม [เศรษฐศาสตร์] | Dose limit | ขีดจำกัดปริมาณรังสี, ค่ากำหนดสูงสุดของปริมาณรังสียังผลหรือปริมาณรังสีสมมูลที่บุคคลอาจได้รับจากการดำเนินกิจกรรมทางรังสี ซึ่งคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านการป้องกันรังสี (International Commission on Radiation Protection, ICRP) ได้กำหนดขีดจำกัดปริมาณรังสีไว้ดังนี้ 1. ผู้ปฏิบัติงาน -ปริมาณรังสียังผลเฉลี่ยไม่เกิน 20 มิลลิซีเวิร์ตต่อปีในระยะเวลา 5 ปีติดต่อกัน โดยในปีใดปีหนึ่งต้องได้รับปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 50 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่เลนส์ตา ไม่เกิน 150 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่มือและเท้า หรือที่ผิวหนัง ไม่เกิน 500 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี 2. บุคคลทั่วไป ปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 1 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี โดยไม่รวมปริมาณรังสีจากธรรมชาติและปริมาณรังสีจากการรักษาพยาบาลทางการแพทย์ ทั้งนี้ในทางปฏิบัติต้องจำกัดให้ได้รับรังสีน้อยที่สุด (ดู sievert ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Knowledge practitioner | ผู้ดำเนินกิจกรรมจัดการความรู้ [การจัดการความรู้] | Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Nuclear safety | ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์, มาตรการสำหรับป้องกันหรือลดอุบัติเหตุที่จะเกิดจากสถานปฏิบัติการ หรือกิจกรรมที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ รวมทั้งมาตรการบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้นแก่ผู้ปฏิบัติงาน ประชาชน และสิ่งแวดล้อม ภายหลังเกิดอุบัติเหตุ, Example: [นิวเคลียร์] | Nuclear accident | อุบัติเหตุนิวเคลียร์, เหตุการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้นในโรงงานนิวเคลียร์โดยไม่เจตนา รวมถึงความผิดพลาดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจกรรมทางนิวเคลียร์ หรือของอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับระบบความปลอดภัย ทำให้มีการปลดปล่อย หรือ เกือบมีการปลดปล่อยสารกัมมันตรังสี ออกสู่สิ่งแวดล้อม (ดู INES ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Normal exposure | การรับรังสีตามปกติ, การรับรังสีที่คาดไว้จากการดำเนินงานตามสภาวะปกติ ในโรงงานหรือกิจกรรมทางนิวเคลียร์ รวมถึงความผิดปกติเล็กน้อยที่สามารถควบคุมได้ระหว่างการดำเนินงาน [นิวเคลียร์] | Assistive Technology | เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก, เครื่องมือ อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือบริการที่ใช้สำหรับคนพิการหรือผู้สูงวัย หรือที่มีการดัดแปลงหรือปรับใช้ให้ตรงกับความต้องการจำเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล เพื่อเพิ่ม รักษา คงไว้ หรือพัฒนาความสามารถและศักยภาพที่จะเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร การสื่อสาร รวมถึงกิจกรรมอื่นใดในชีวิตประจำวันเพื่อการดำรงชีวิตอิสระ [Assistive Technology] | Activity based costing | การบัญชีต้นทุนกิจกรรม [TU Subject Heading] | Activity programs | โปรแกรมกิจกรรม [TU Subject Heading] | Activity programs in education | โปรแกรมกิจกรรมทางการศึกษา [TU Subject Heading] | Civic action | กิจกรรมทางพลเรือน [TU Subject Heading] | Confidential communications | กิจกรรมที่เป็นความลับ [TU Subject Heading] | Endoscopy, Gastrointestinal | การส่องตรวจกระเพาะอาหารและลำไส้ด้วยกล้อง [TU Subject Heading] | Evaluation research (Social action programs) | วิจัยประเมินผล (โปรแกรมกิจกรรมทางสังคม) [TU Subject Heading] | Games with music | กิจกรรมเข้าจังหวะ [TU Subject Heading] | Gastroscopes | กล้องส่องตรวจกระเพาะอาหาร [TU Subject Heading] | Gastroscopy | การส่องตรวจกระเพาะอาหารด้วยกล้อง [TU Subject Heading] | Lay ministry | ไวยาวัจกร [TU Subject Heading] | Mass screening | การตรวจกรองหมู่มาก [TU Subject Heading] | Pentathlon | ปัญจกรีฑา [TU Subject Heading] | Political activity | กิจกรรมทางการเมือง [TU Subject Heading] | Recreational dive industry | อุตสาหกรรมกิจกรรมดำน้ำ [TU Subject Heading] | Student activities | กิจกรรมของนักศึกษา [TU Subject Heading] | Student activities | กิจกรรมของนักเรียน [TU Subject Heading] | Subversive activities | กิจกรรมบ่อนทำลาย [TU Subject Heading] | Precycling | กิจกรรมลดขยะ, Example: กิจกรรมต่าง ๆ ที่ช่วยในการลดปริมาณและควบคุมลักษณะของขยะ เช่น การเลือกชื้อสินค้าใช้ การไม่ซื้อสินค้าที่ใช้กระบวนการผลิตซึ่งก่อสารมลพิษ การใช้ถุงผ้าแทนทุงพลาสติก เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] | ASEAN Cultural Fund | กองทุนวัฒนธรรมอาเซียน จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นกองทุนสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม/โครงการความ ร่วมมือของอาเซียนทางด้านวัฒนธรรมและสนเทศ โดยในปี พ.ศ. 2521 รัฐบาลญี่ปุ่นได้บริจาคเงินจำนวน 5, 000 ล้านเยน หรือประมาณ 25 ล้านเหรียญสหรัฐ ให้แก่กองทุนฯ เพื่อนำดอกผลไปใช้ในการสนับสนุนโครงการ/กิจกรรมความร่วมมือต่าง ๆ [การทูต] | Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] | ASEAN Foundation | มูลนิธิอาเซียน จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการสร้าง จิตสำนึกของความเป็นอาเซียนในหมู่ประชาชน และเพื่อให้การสนับสนุนกิจกรรม/โครงการเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกอาเซียนอย่างเท่าเทียมกัน มีสำนักงานอยู่ที่กรุงจาการ์ตา [การทูต] | APSC | แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียน เป็นเอกสารที่รวบรวมรายการกิจกรรมต่างๆ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนจะทำร่วมกันเพื่อสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียนภายในปี 2558 แผนงานฯ ได้รับการรับรองโดยผู้นำในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 โดยแผนงาน มีวิสัยทัศน์ 3 ประการ ให้อาเซียนเป็น(1) ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน (2)เป็นประชาคมที่สงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสำหรับ ประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้าน และ (3)เป็นประชาคมที่มีพลวัตรและร่วมมือปฎิสัมพันธ์กับโลกภายนอก [การทูต] | ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] | APEC Study Centers | ศูนย์ศึกษาเอเปค มีการจัดตั้งศูนย์ศึกษาเอเปคในแต่ละประเทศสมาชิก 15 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคด้วยการ ศึกษา การพัฒนาฝีมือแรงงาน และอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรม ตลอดจนส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างสมาชิกเอเปคในภูมิภาค ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาเอเปคได้มีบทบาทสำคัญในกิจกรรมต่าง ๆ ของประเทศสมาชิก เช่น กิจกรรมการประเมินผลการดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการของเอเปค เป็นต้น [การทูต] | ASEAN Standing Committee | คณะกรรมการประจำอาเซียน " ประกอบด้วยอธิบดีกรมอาเซียนของทุกประเทศสมาชิก มีหน้าที่ ควบคุม ดูแล ติดตามการดำเนินงานของกลไกและกิจกรรมต่าง ๆ ของอาเซียน ปกติจะประชุมปีละ 6 ครั้ง เป็นการประชุมในนามของ รัฐมนตรีต่างประเทศ ในช่วงกลางระหว่างการประชุมประจำปีของ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน " [การทูต] | Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] | Cultural Diplomacy | การทูตวัฒนธรรม หมายถึง กิจกรรมด้านวัฒนธรรมในกรอบกว้าง ทั้งภาษา ความคิด อุดมการณ์ ทัศนคติ ประเพณี วิทยาการความรู้ การกีฬาและวิถีชีวิต (ไม่เพียงแต่การส่งคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในต่างประเทศเท่านั้น) ทั้งนี้ เพื่อ ใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในลักษณะซึมลึกเพื่อให้เข้าถึงประชาชน [การทูต] | Diplomacy for the Peoples | การทูตเพื่อประชาชน หมายถึง การดำเนินนโยบายต่างประเทศหรือกิจกรรมทางการทูต ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประชาชน เช่น โครงการส่งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปช่วยรักษาพยาบาลชาวกัมพูชา [การทูต] | Economic Corridor | พื้นที่เศรษฐกิจซึ่งจะเน้นการพัฒนาตามแนวโครงข่ายคมนาคม ทั้งนี้ เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการสร้างกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ต่าง ๆ [การทูต] | Friends of Young Ambassador of Virtue | เพื่อนยุวทูตความดี " หมายถึง สถานทูตและสถานกงสุลไทยในต่างประเทศ สถานทูตต่าง ประเทศในประเทศไทย องค์กรหรือภาคเอกชนทั้งของไทยและของต่างประเทศ ที่ตอบรับเป็นผู้สนับสนุนและสนใจที่จะทำกิจกรรมร่วมกับโรงเรียนในโครงการยุว ทูตความดี " [การทูต] | Functions of Diplomatic Mission | ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต] | HABITAT | ดูที่ UNCHF = ศูนย์เพื่อการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ ทำหน้าที่เป็นสำนักเลขาธิการของคณะกรรมาธิการว่าด้วยการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ (Commission on Human Settlements) ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงานกิจกรรมการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ของสหประชา ชาติที่เน้นในเรื่องที่พักพิง (shelter) และบริการทางสังคม การจัดการเมือง สิ่งแวดล้อมและโครงสร้างพื้นฐาน และการประเมิน ติดตามข่าวสารข้อมูลทางด้านการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ [การทูต] | Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] | Multiple Representation | คือการเป็นตัวแทนประจำประเทศต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งแห่ง ตามหลักทั่วไป รัฐหนึ่งจะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ไปประจำเพียงรัฐเดียวในตำแหน่งเอกอัคร ราชทูต แต่มาในทุกวันนี้ เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด จึงเป็นธรรมเนียมแพร่หลายที่จะตั้งให้เอกอัครราชทูตคนเดียวไปประจำปลาย ประเทศได้ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นแต่ว่ารัฐผู้รับหนึ่งใดจะแสดงการคัดค้านอย่างแจ้งชัดเอกอัครราชทูตคน เดียวกัน ซึ่งไปประจำอยู่หลายประเทศนั้น จะมีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Residence) อยู่ในนครหลวงของเพียงประเทศหนึ่ง ส่วนในประเทศที่เหลือที่เขาเป็นเอกอัครราชทูตประจำอยู่ด้วยนั้น เขาไปพำนักอยู่เพียงระยะเวลาจำกัดเป็นพัก ๆ รัฐผู้ส่งจะมีคณะผู้แทนทางการทูตของตนไปประจำ ณ นครหลวงของแต่ละประเทศเหล่านั้น ตัวหัวหน้าคณะแต่ละแห่งจะมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Charge d? Affaires ad interim)เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ดังนี้ ?1. หลังจากที่ได้บอกกล่าวแก่รัฐผู้รับที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดแจ้งโดยรัฐผู้รับรัฐใดรัฐหนึ่ง รัฐผู้ส่งอาจแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือแต่งตั้งบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตแล้วแต่กรณี ไปยังมากกว่ารัฐหนึ่งก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐอื่นหนึ่งรัฐหรือมากกว่านั้น รัฐผู้ส่งอาจสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตโดยมีอุปทูตชั่วคราวเป็นหัวหน้าในแต่ ละรัฐที่หัวหน้าคณะผู้แทนไม่มีที่นั่งทำงานของตนเป็นประจำก็ได้ 3. หัวหน้าคณะผู้แทน หรือบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตของคณะผู้แทน อาจกระทำการในฐานะเป็นผู้แทนของรัฐผู้ส่งในองค์การระหว่างประเทศใดก็ได้" [การทูต] |
| อนิจกรรม | [anitjakam] (n) EN: death | จุดประสงค์ของกิจกรรม | [jutprasong khøng kitjakam] (n, exp) FR: but de l'exercice [ m ] | กิจกรรม | [kitjakam] (n) EN: activity ; operation ; event ; function FR: activité [ f ] ; exercice [ m ] ; occupation [ f ] | กิจกรรมบำบัด | [kitjakam bambat] (n, exp) EN: occupational therapy | กิจกรรมบำรุงรักษา | [kitjakam bamrungraksā] (n, exp) EN: maintenance activity | กิจกรรมบันเทิง | [kitjakam banthoēng] (n, exp) EN: recreational activities ; recreation FR: activité récréative [ f ] | กิจกรรมหาเสียงของพรรคการเมือง | [kitjakam hāsīeng khøng phak kānmeūang] (xp) EN: electioneering | กิจกรรมการดำเนินการ | [kitjakam kān damnoēnkān] (n, exp) EN: operating activities | กิจกรรมการจัดหาเงิน | [kitjakam kān jathā ngoen] (n, exp) EN: financing activities | กิจกรรมการกีฬา | [kitjakam kānkīlā] (n, exp) FR: activité sportive [ f ] | กิจกรรมการควบคุม | [kitjakam kān khūapkhum] (n, exp) EN: control activities | กิจกรรมการผลิต | [kitjakam kān phalit] (n, exp) EN: productive activity FR: activité de production [ f ] | กิจกรรมเข้าจังหวะ | [kitjakam khao jangwa] (n, exp) EN: rhythmic activities | กิจกรรมของมนุษย์ | [kitjakam khøng manut] (n, exp) EN: human activities FR: activités humaines [ fpl ] | กิจกรรมในการรณรงค์หาเสียง | [kitjakam nai kān ronnarong hāsīeng] (n, exp) EN: campaign trail | กิจกรรมนอกหลักสูตร | [kitjakam nøk laksūt] (n, exp) EN: extracurricular activity FR: activités extrascolaires [ fpl ] | กิจกรรมประเมิน | [kitjakam pramoēn] (n, exp) FR: exercice d'évaluation [ m ] | กิจกรรมโรงแรม | [kitjakam rōngraēm] (n, exp) FR: activités hôtelières [ fpl ] ; hôtellerie [ f ] | กิจกรรมทางกาย | [kitjakam thāng kāi] (n, exp) EN: physical activity FR: activité physique [ f ] | กิจกรรมที่ 2 | [kitjakam thī søng] (n, exp) FR: exercice 2 [ m ] | กิจกรรมวัฒนธรรม | [kitjakam watthanatham] (n, exp) EN: cultural activities FR: activité culturelle [ f ] | กระจกรถ | [krajok rot] (n, exp) EN: windshield ; windscreen ; car window FR: pare-brise = parebrise [ m ] | นักกิจกรรม | [nakkitjakam] (n) EN: activist FR: activiste [ m ] | ผู้ประกอบกิจกรรมโรงแรม | [phū prakøp kitjakam rōngraēm] (n, exp) EN: hotelier FR: hôtelier [ m ] | ตารางกิจกรรม | [tārāng kitjakam] (n, exp) FR: grille d'activités [ f ] |
| action news | (n) ข่าวสังคม, ข่าวกิจกรรม เช่น Now, you can get the latest information from Channel 2 Action News along with weather warnings and forecast delivered directly to your desktop. | networking | (n) กิจกรรมการพบปะผู้คน, ทำความรู้จักคนใหม่ๆ, สนทนา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เช่น ในงานสัมมนาอาจมีช่วงงานเลี้ยงที่เป็น networking party ให้ผู้เข้าร่วมได้พบปะทำความรู้จักกัน | sportswashing | (n) วิธีการใช้การจัดงานมหกรรมกีฬา เช่น โอลิมปิก ฟุตบอลโลก หรือสร้างกิจกรรมเกี่ยวกับกีฬา เช่น ซื้อทีมฟุตบอล เป็นเครื่องมือในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดี เพื่อกลบเกลื่อนเรื่องที่ไม่ดี หรือ ข่าวฉาวในเรื่องอื่นๆ |
| activist | (n) นักกิจกรรม, See also: นักทำกิจกรรม | activity | (n) การกระทำ, See also: กิจกรรม, Syn. movement, motion | amusement | (n) กิจกรรมที่ให้ความบันเทิง, See also: สิ่งที่ทำให้สนุกสนาน, Syn. entertainment | bandwagon | (n) กิจกรรมที่มีคนจำนวนมากเข้าร่วม (เช่น การแข่งขันฟุตบอลโลก) | bee | (n) การรวมตัวเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน, See also: งานสังสรรค์ | binge | (n) ช่วงที่ทำกิจกรรมบางอย่างมากไป | bout | (n) กิจกรรมระยะสั้นๆ | be at | (phrv) ทำกิจกรรม, See also: ง่วนอยู่กับ, Syn. keep at | beat someone at his own game | (idm) ทำได้ดีกว่าคนอื่นที่ทำกิจกรรมเดียวกัน | capital | (n) ศูนย์กลางของกิจกรรมบางอย่าง | complex | (n) ความคิดหรือกิจกรรมที่สัมพันธ์กัน | cut in | (phrv) ยอมให้ร่วมกิจกรรม (เล่นไพ่, ธุรกิจฯลฯ) (คำไม่เป็นทางการ) | dive into | (phrv) เริ่มกินอาหาร, See also: เริ่มเข้าร่วมกิจกรรม | figure on | (phrv) ตั้งใจกระทำ (บางสิ่ง) | dance studio | (n) สถานที่ที่ใช้เรียนเต้นรำ, See also: ห้องที่ทำสำหรับเต้นรำมีกระจกรอบผนังและมีราวเกาะจับเวลาฝึกเต้นรำ | discern | (vt) เข้าใจกระจ่าง [ แก้ไขโดยทีมงาน Longdo ], See also: รู้ไม่ชัดแจ้ง, เข้าใจผิด, Syn. descry, distinquish, see, Ant. misunderstand, miss the point | doings | (n) กิจกรรมทางสังคม, Syn. activities, conduct, dealings | dormancy | (n) การหยุดการเจริญเติบโตชั่วคราว (ทางพฤกษศาสตร์), See also: การหยุดกิจกรรมชั่วคราว, Syn. latency, nonuse | dormant | (adj) ซึ่งหยุดการเจริญเติบโตชั่วคราว, See also: ซึ่งหยุดกิจกรรมชั่วคราว, Syn. inactive, potential, resting | exchange | (n) ตึกที่ใช้ทำกิจกรรมทางการค้าต่างๆ, See also: ศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนทางการค้า, Syn. market, stock exchange | exertion | (n) กิจกรรมที่ต้องลงแรงมาก, See also: กิจกรรมที่ต้องใช้กำลังมาก, Syn. effort | fellowship | (n) กลุ่มที่มีประสบการณ์ความรู้สึก ความสนใจและกิจกรรมร่วมกัน, See also: สมาคม, กลุ่ม, Syn. alliance, club, league | get back to | (phrv) หวนกลับไปทำ (กิจกรรมบางอย่าง) | go for | (phrv) ออกไปเพื่อ (ทำกิจกรรม เช่น เดินเล่น ขับรถ ว่ายน้ำ), Syn. take for | go into | (phrv) เริ่มทำ (กิจกรรม) | go off into | (phrv) ทำให้ตกอยู่ใน (อารมณ์ สภาพหรือกิจกรรม), See also: ตกอยู่ใน อารมณ์, Syn. go into | go on | (phrv) เริ่มทำ (กิจกรรม) | go through | (phrv) เข้าร่วม (กิจกรรม), Syn. go through with | invite out | (phrv) เชิญให้ออกไปร่วมทานอาหารหรือกิจกรรมอื่นร่วมกัน, Syn. ask out | hyper | (n) คนที่ดำเนินกิจกรรมมากเกินไป, See also: คนที่กระตือรือร้นอย่างมาก | hyper | (adj) ซึ่งดำเนินกิจกรรมมากเกินไป, See also: ซึ่งกระทำมากเกินไป | let in on | (phrv) อนุญาตให้เข้าร่วม (เช่นร่วมแผนการ, กิจกรรมอื่นๆฯลฯ), See also: ปล่อยให้มาร่วม, Syn. get in on | kindly | (adv) ด้วยจิตใจที่ดี, See also: ด้วยใจกรุณา, ด้วยใจเมตตากรุณา, Syn. please | laundry | (n) กิจกรรมซักรีดเสื้อผ้า | line | (n) ความสนใจในงานหรือกิจกรรม, See also: สายงาน, อาชีพ, แวดวง | nookie | (n) กิจกรรมทางเพศ (คำสแลง), Syn. nooky | nooky | (n) กิจกรรมทางเพศ (คำสแลง), Syn. nookie | occupational therapy | (n) การรักษาโรคโดยการให้ทำกิจกรรมเบาๆ | off-season | (n) ช่วงเวลาที่มีกิจกรรมน้อย | off-season | (adj) ที่มีกิจกรรมเกิดขึ้นน้อย | off-season | (adv) ในระหว่างเวลาที่มีกิจกรรมน้อย | party-pooper | (n) คนไม่อยากเข้าร่วมกิจกรรมบันเทิง | perish | (vi) ตาย, See also: ถึงแก่กรรม, ถึงแก่อนิจกรรม, Syn. die, disappear, expire, pass away, Ant. appear | politics | (n) การเมือง, See also: กิจกรรมทางการเมือง, หลักการทางการเมือง, ข้อคิดเห็นทางการเมือง, Syn. campaigning, seeking nomination, electioneering | prince | (n) คนเก่งที่สุดในขอบข่ายงานหรือกิจกรรมที่ทำ | proceedings | (n) กิจกรรมที่ดำเนินต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่ง, Syn. transaction | pile in | (phrv) เข้าร่วม (กิจกรรมเช่นโจมตี, ทานอาหาร) (คำไม่เป็นทางการ), Syn. tuck in | plunge into | (phrv) รีบเข้าสู่ (กิจกรรม, สภาพ), Syn. precipitate into, thrust into | quarterback | (n) ผู้นำกลุ่ม, See also: ผู้นำกิจกรรม, Syn. chief, leader | racket | (n) กิจกรรมที่ผิดกฎหมาย (คำไม่เป็นทางการ), See also: การหลอกลวง, การติดสินบน, การขู่เข็ญ, Syn. fraud |
| activity | (แอคทีฟ' วิที) n. กิจกรรม, การเคลื่อนไหว, ลักษณะการดำเนินการ, ลักษณะการเคลื่อนไหว, ระดับความมีชีวิตชีวา, เรื่องราวที่ดำเนินการ, กิจกรรม, Syn. action, pursuit | adventure | (แอดเวน' เชอะ) n. การเสี่ยงภัย, อันตรายที่คาดไม่ถึง, ความตื่นเต้น, ประสบการณ์ที่ตื่นเต้น, การร่วมในกิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่ตื่นเต้น, การเสี่ยง (เรื่องการเงิน) , อันตราย, โอกาส. -vt., vi. เสี่ยง, ถือโอกาส, เสี่ยงพูด. -adventureful adj. | amateur | (แอม' มะเทอะ) n., adj. นักสมัครเล่น, นักกีฬาสมัครเล่น, ผู้ไร้ประสบการณ์, ผู้ไร้ความชำนาญ, ผู้อุทิศตัวในศิลปะหรือกิจกรรมหนึ่ง | amusement | (อะมิวซ' เมินทฺ) n. สิ่งให้ความอภิรมย์, ความขบขัน, ความอภิรมย์, เครื่องหย่อนใจ , นันทนาการ, กิจกรรมที่เป็นสันทนาการ, มหรสพ | art 2 | (อาร์ทฺ) n. ศิลป, ฝีมือ, อุบาย, เล่ห์กระเท่ห์, เล่ห์เหลี่ยม, ความสามารถ, หลักการหรือวิธีการของการเรียนรู้, ความเชี่ยวชาญในกิจกรรมของมนุษย์, สาขาวิชาที่เกี่ยวกับศิลปศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, Syn. skill, craft, Ant. artlessness, guilelessness | employment | (เอมพลอย'เมินทฺ) n. การจ้าง, การว่าจ้าง, ภาวะที่ถูกว่าจ้าง, อาชีพ, การงาน, ธุรกิจ, กิจกรรม, Syn. work | fire power | n. อำนาจกระสุนที่ยิง, กำลังกระสุนที่ยิง, จำนวนกระสุนที่ยิงได้. | good fellow | เพื่อนที่ดี, บุคคลที่น่าคบ, บุคคลที่มีใจกรุณา | hard lock | (ฮาร์ดล็อค) หมายถึงการติดตั้งอุปกรณ์บางอย่างเข้ากับตัวเครื่อง เพื่อมิให้ใช้เครื่องได้ในกิจกรรมบางประการ เป็นต้นว่า การทำงานกับซอฟต์แวร์บางตัวเป็นต้น | leverage | (เลฟ'เวอริจฺ, ลี'เวอริจฺ) n. การงัด, กำลังงัด, พลัง, อิทธิพล, อำนาจกระทำ, อำนาจงัด, ง้าง, อำนาจเพิ่มผลทางการเงิน. vt. ให้อำนาจเพิ่มผลทางการเงิน, Syn. influence, pull | machine | (มะชีน') n. เครื่องจักร, เครื่อง, จักร, อุปกรณ์, ระบบที่ซับซ้อน, ระบบการทำงาน, การปฏิบัติงาน, กิจกรรมของพรรคหรือองค์การ. vt. กระทำด้วยเครื่อง, เตรียมด้วยเครื่อง. | neural network | เครือข่ายเส้นประสาทหมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นเลียนแบบเส้นใยประสาทของมนุษย์ ที่เรียกว่า นิวโรน ในสมองมนุษย์ ซึ่งมีนับจำนวนล้าน ๆ ตัว การประมวลผลกิจกรรมต่าง ๆ จะออกมาในลักษณะแบบขนาน (ไม่ใช่แบบอนุกรม) หมายถึง ทำงานพร้อม ๆ กัน เพื่อให้ได้คำตอบอันเดียว ทั้งนี้หมายถึง การที่ต้องสามารถทำงานที่สลับซับซ้อนมาก ๆ โดยเรียนรู้จากประสบการณ์ได้เอง ฉะนั้นการที่เครือข่ายแบบนิวโรนนี้จะให้คำตอบได้ก็ต่อเมื่อมีการส่งปัญหาต่าง ๆ เข้าไปให้ลองทำมาก ๆ เครือข่ายแบบนี้จะเป็นประโยชน์ เฉพาะในงานประมวลผลงานบางประเภท เช่น เรื่องการประมวลผลเกี่ยวกับการซื้อขายหุ้นในตลาด หรือการหาความคล้ายคลึงระหว่างภาพหลาย ๆ ภาพ เช่น ลายนิ้วมือ เป็นต้น ดู artificial intelligence ประกอบ | outing | (เอา'ทิง) n. การออกนอกบ้าน, การออกไปเที่ยว, กิจกรรมนอกบ้าน, ทะเลนอกฝั่ง, การแข่งขันทางกีฬา, การซ้อมการควบม้าหรือแข่งเรือ, Syn. excursion | ploy | (พลอย) n. วิธีการ, แผน, การเล่นสนุกสนาน, การงาน, กิจกรรม vt., vi. แปรขบวน, Syn. maneuver, stratagem | plumbing | (พลัม'บิง) n. การทำท่อน้ำ, กิจกรรมหรือธุรกิจการทำท่อน้ำ, การหยั่งความลึกด้วยลูกดิ่ง | privy seal | n. พระราชลัญุจกร | proceeding | (พระซี'ดิง) n. การดำเนินการ, ขั้นตอน, วิธีการ, ขบวนการ, แนวทาง, , See also: proceedings กิจกรรมที่ดำเนินต่อเนื่องในระยะหนึ่ง, การปฏิบัติตามกฎหมาย, วิธีการทางกฎหมาย | racket | (แรค'คิท) n. เสียงอึกทึกครึกโครม, เสียงหนวกหู, กิจกรรมที่ผิดกฎหมาย, กิจกรรมต้มคน, ธุรกิจอาชีพ, การค้าขาย vi. ทำเสียงอึกทึกครึกโครม, ร่วมงานสังคมที่อึกทึกครึกโครม, ไม้ตีลูก (เทนนิส, แบดมินตันและอื่น ๆ), Syn. noisy confusion | racketeer | (แรค'คิเทียร์) n. กิจกรรมต้มคน, กิจกรรมที่ผิดกฎหมาย, การขู่เข็ญเงิน, การฉ้อโกง, กิจกรรมอั้งยี่, Syn. swindler, extortionist | regimen | (เรจ'จะเมน) n. กฎเกณฑ์, หลัก, กฎเกณฑ์ที่เคร่งครัดเกี่ยวกับการกิน การออกกำลังกายหรือกิจกรรมอื่น ๆ , การปกครอง, ระบบการเมือง, รัฐบาล, Syn. rule, government | savor | (เซ'เวอะ) n. รส, รสชาติ, กลิ่น, คุณสมบัติเฉพาะ, ลักษณะเฉพาะ, อำนาจกระตุ้นใจ, ความอร่อย, การทำให้ตื่นเต้น, แรงดึงดูด, เสน่ห์, ความเจริญอาหาร, ชื่อเสียง, ความบริสุทธิ์. vi. มีรส, มีรสชาด, มีกลิ่น, แนะนำ, ให้ข้อคิดเห็น, เพลิดเพลินสนุกสนาน. vt. แต่งกลิ่น, ปรุงกลิ่น, ทำให้มีรสชาด | savour | (เซ'เวอะ) n. รส, รสชาติ, กลิ่น, คุณสมบัติเฉพาะ, ลักษณะเฉพาะ, อำนาจกระตุ้นใจ, ความอร่อย, การทำให้ตื่นเต้น, แรงดึงดูด, เสน่ห์, ความเจริญอาหาร, ชื่อเสียง, ความบริสุทธิ์. vi. มีรส, มีรสชาด, มีกลิ่น, แนะนำ, ให้ข้อคิดเห็น, เพลิดเพลินสนุกสนาน. vt. แต่งกลิ่น, ปรุงกลิ่น, ทำให้มีรสชาด | seal | (ซีล) n. ตราประทับ, สัญจกร, แมวน้ำ, แผ่นผนึก, สิ่งที่ใช้ผนึก, ครั่งผนึก, เครื่องผนึก, เครื่องกันรั่ว, เครื่องเชื่อมโลหะ vt. ผนึก, ปิดผนึก, ปิดกาว, ประทับตรา, ตัดสินใจเด็ดขาด, รับรอง, อนุมัติ, See also: sealable adj., Syn. imprint, pledg | signet | (ซิก'นิท) n. ตราประทับเล็ก ๆ , ตราเล็ก ๆ , สัญจกร, เครื่องประทับตรา vt. ประทับตรา | socket wrench | n. กุญแจกระบอกที่เปลี่ยนหัว ได้ | uncivil | (อันซิฟ'เวิล) adj. ไม่มีมารยาทที่ดี, หยาบไม่สุภาพ, ไม่มีอารยธรรม, ป่าเถื่อน, ไม่มีใจกรุณา., See also: uncivility, uncivilness n. uncivilly adv. -S.discourteous | voluntary | (วอล'เลินทะรี) adj. สมัครใจ, ตั้งใจ, โดยเจตนา, โดยอาสาสมัคร, อิสระ, มีอิสระในการเลือก, เกิดขึ้นเอง, โดยธรรมชาติ. n. กิจกรรมอาสาสมัคร, ดนตรีโหมโรง., See also: voluntarily adv. voluntaryism n. voluntaryist n., Syn. optional, f | white heat | n. ความร้อนจัด, กิจกรรมที่รุนแรงหรือเร้าอารมณ์ |
| activity | (n) กิจกรรม, การงาน | bighearted | (adj) ใจดี, ใจกว้าง, ใจกรุณา, มีน้ำใจ | feasible | (adj) อาจกระทำได้, เป็นไปได้, อาจปฏิบัติได้ | seal | (n) แมวน้ำ, ตราประจำตำแหน่ง, พระราชลัญจกร, ตราประทับ | signet | (n) พระราชลัญจกร, ตราประทับ |
| Carbonic Anhydrase Inhibitors (CAIs) | เป็นชั้นของยาที่ระงับกิจกรรมของคาร์บอ ในทางการใช้ทางคลินิกได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นตัวแทนของโรคต้อหิน, ยาขับปัสสาวะ, ยากันชัก, ในการจัดการของเข่มาภูเขา, กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กเป็นแผล, ความผิดปกติของระบบประสาท, หรือโรคกระดูกพรุน | caving | (n) กีฬาหรือกิจกรรมสำรวจและปีนถ้ำ the activity or sport of exploring and climbing in underground caves and passages, See also: exploring caves | condition | (n) ภาวะสุขภาพผิดปกติที่รบกวนการทำกิจกรรมตามปกติหรือความรู้สึกเป็นอยู่ที่ดี | cross-border | (adj) เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ข้ามพรมแดนระหว่าง 2 ประเทศ, ระหว่างประเทศ, ที่ข้ามประเทศ, ที่ข้ามพรมแดน (ใช้นำหน้านามเท่านั้น) | Crowdsourcing | การร่วมสร้างสรรค์ของกลุ่มคน (Crowd) เพื่อร่วมกันทำ หรือสร้างสิ่งต่างๆ รวมถึงแก้ไขปัญหาร่วมกัน จนกลายเป็นเทรนด์ฮิต ของการทำกิจกรรมในการตลาดออนไลน์ผ่าน Digital Campaign และการโฆษณาออนไลน์ Crowdsourcing ถอดออกมาเป็นคำว่า Crowd และ Outsourcing เป็นการกระจายปัญหาหรือวัตถุประสงค์บางอย่างเพื่อให้กลุ่มคนหรือชุมชนออนไลน์ มาร่วมกันแก้ปัญหาหรือทำอะไรตามวัตถุประสงค์นั้นๆ | downturn | (n) แนวโน้มที่ตกต่ำลง เช่นในกิจกรรมทางธุรกิจ | Dysrhythmia | จังหวะที่ผิดปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง : จังหวะที่ผิดปกติซึ่งจัดแสดงในบันทึกกิจกรรมทางไฟฟ้าของสมองหรือหัวใจ | hackathon | กิจกรรมสร้างสรรค์และพัฒนา มากจากกลุ่มนักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาร่วมชุมนุมกันในการเจาะทดสอบระบบคอมพิวเตอร์ว่ามีจุดอ่อนหรือควรแก้ไขอย่างไรบ้าง | hazing | พิธีการรับน้อง ซึ่งมีพิธีการไปในทางกลั่นแกล้ง เช่น กลั่นแกล้งให้ทำกิจกรรมแปลกๆ ซึ่งอาจเป็นเรื่องสนุกสนาน หรืออาจเป็นเหตุรุนแรงถึงขนาดเลือดตกยางออกได้ | Life Saving | [ชีพรักษ์ (ชีบ-พะ-รัก)] (n, name, org) น. วิชาการที่เกี่ยวกับการป้องกัน และช่วยชีวิตบุคคลที่ตกน้ำ หรือผู้ที่ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ life - ชีวิต หรือ ชีพ saving - การรักษา หรือ การช่วยเหลือ | Lifeguard | [ชีพบาล (ชีบ-พะ-บาน)] น. ผู้ดูแลความปลอดภัยในการทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ และช่วบชีวิตคนตกน้ำ life - ชีวิต หรือ ชีพ guard - ผู้ดูแล ในที่นี้ขอใช้คำว่า " บาล " ที่มี ความหมายว่าผู้ดูแล รักษา ปกครอง เช่น รัฐบาล, นครบาล, โคบาล, พยาบาล | lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver | lifesaving | [ชีบ-พะ-รัก] (n) Lifesaving [ 1 ] – ชีพรักษ์ คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก ความหมาย :: วิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ที่มีการการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่าน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ | malware | (n) Malicious software (mal-ware) is a form of computer program designed with malicious intent. This intent may be to cause annoying pop-up ads with the hope you click on one and generate revenue, or forms of spyware and viruses that can be used to steal your identity or track your activities. รูปแบบหนึ่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ถูกออกแบบมาด้วยจุดประสงค์แอบแฝงบางอย่าง จุดประสงค์ดังกล่าวอาจจะเพื่อสร้างหน้าต่างโฆษณาที่เปิดขึ้นมาเองโดยอัติโนมัติ ด้วยความหวังที่ว่าจะให้คุณกดเข้าไปและสร้างรายได้ให้กับบุคคลเหล่านั้น หรือ รูปแบบของ spyware และ ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่สามารถใช้เพื่อการขโมยตัวตนของคุณบนอินเตอร์เน็ต หรือ ติดตามกิจกรรมต่างของคุณ, Syn. Malicious software | overed right | [over right] (n, phrase) ถือสิทธิเหนือกฎความถูกต้องอื่นใด หรือมีอำนาจกระทำอย่างไดอย่างหนึงออกนอกกฎเกณฑ์ปกติ มีอิทธิพลมากกว่าเงื่อนไขใดๆที่กำหนดไว้ เมื่อแสดงสิทธินี้แล้วทุกอย่างที่เป็นข้อจำกัดจะเป็นไปตามที่ผู้ถือสิทธิต้องการ | Prostaglandins | ที่มีศักยภาพฮอร์โมนเช่นสารที่พบในหลายเนื้อเยื่อร่างกาย (และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในน้ำอสุจิ); ผลิตในการตอบสนองต่อการบาดเจ็บและอาจส่งผลกระทบต่อความดันโลหิตและการเผาผลาญและกิจกรรมกล้ามเนื้อเรียบ | step back | หยุดทำกิจกรรม/การงาน โดยเฉพาะเพื่อพิจารณาว่าจะทำอะไรต่อไป to pause in an activity, esp. to consider what to do next. We need to step back and look at all our options. | the royal seal | (n) พระลัญจกร | town square | (n) จัตุรัสกลางเมือง ที่ใช้เป็นสถานที่ทำกิจกรรมต่างๆ เป็นแหล่งรวบรวมความบันเทิง และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เช่น ในเมืองเก่าๆ ของประเทศในยุโรป | ตุ๋ย | (vt, slang) กิริยาอย่างหนึึ่งหมายถึงการกระทำจากข้างหลัง เช่นกิจกรรมทางเพศของพวกเกย์ หรือกรณีในเกมเช่น DotA หมายถึงการซุ่มโจมตีโดยอีกฝ่ายไม่ทันระวังตัว, See also: Tui, DotA, Noob, Grean, Syn. Backdoor |
| 参加 | [さんか, sanka] (vt) เข้าร่วมกิจกรรม |
| 活動 | [かつどう, katsudou] TH: กิจกรรม EN: activity | 出場 | [しゅつじょう, shutsujou] TH: การเข้าร่วมกิจกรรม EN: participation | 携わる | [たずさわる, tazusawaru] TH: เกี่ยวข้องในกิจกรรม EN: to participate | 携わる | [たずさわる, tazusawaru] TH: มีส่วนร่วมในกิจกรรม EN: to take part | 寄付 | [きふ, kifu] TH: การบริจาคหรือมอบเงินให้แก่บุคคลอื่นเพื่อนำไปใช้ทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสั EN: donation |
| körperbehindert | (adj) พิการทางร่างกาย, ไม่สามารถทำกิจกรรมบางอย่างได้เนื่องจากอวัยวะส่วนบางส่วนของร่างกายขาดหายไป |
| | loisir | (n) |m| งานอดิเรก, กิจกรรมยามว่าง |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |