ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: คุ้มกัน, -คุ้มกัน- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ คุ้มกัน | (v) protect, See also: guard, escort, defend, preserve, Syn. ป้องกัน, ปกป้อง, คุ้มครอง, Example: บริเวณพรมแดนของทั้ง 2 ฝ่ายมีทหารคุ้มกันอย่างเข้มแข็ง, Thai Definition: คุ้มครองป้องกันให้ปลอดจากภัยอันตราย, ปลอดพ้นจากข้อผูกพันบางอย่าง เช่น ค่าธรรมเนียม | ภูมิคุ้มกัน | (n) immunity, See also: immunizing agents, Syn. ภูมิต้านทาน, Example: ร่างกายของเด็กมีภูมิคุ้มกันยังไม่สมบูรณ์ดังนั้นพ่อแม่ควรดูแลเป็นอย่างดี, Thai Definition: สภาพที่ร่างกายมีแรงต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย | วิทยาภูมิคุ้มกัน | (n) immunology, Example: ตระกูลเขาทั้งตระกูลเป็นผู้เชี่ยวชาญและชำนาญทางด้านวิทยาภูมิคุ้มกัน |
|
| คุ้มกัน | ก. คอยป้องกันให้ปลอดภัย, คุ้มครองให้พ้นจากบางสิ่งบางอย่าง เช่น คุ้มกันโรค คุ้มกันไม่ให้ถูกฟ้องร้อง. | ภูมิคุ้มกัน | (พูม-) น. สภาพที่ร่างกายมีแรงต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย, ภูมิต้านทาน ก็เรียก. | ปลูกฝี | ก. นำวัคซีนเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังตรงรอยที่กรีดไว้ เพื่อให้มีภูมิคุ้มกันโรคฝีดาษ. | ม้าม | น. อวัยวะภายในร่างกายริมกระเพาะอาหารข้างซ้าย มีหน้าที่ทำลายเม็ดเลือดแดง สร้างเม็ดนํ้าเหลืองและสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย. | มือปืน | น. ผู้ที่พกพาอาวุธปืนคอยคุ้มกันผู้มีอิทธิพลหรือบุคคลสำคัญเป็นต้น, ผู้ที่รับจ้างยิงคน, ผู้ที่ยิงเขาตาย. | เรือคอร์เวต | น. เรือรบที่มีระวางขับน้ำประมาณ ๖๕๐-๑, ๕๐๐ ตัน มีหน้าที่หลักเป็นเรือเร็วคุ้มกันและปราบเรือดำน้ำ. | เรือรบ | น. เรือที่ต่อหรือดัดแปลงขึ้นเพื่อใช้ในการรบ มีขีดความสามารถต่าง ๆ เช่น ต่อตีเรือข้าศึก คุ้มกันกระบวนเรือลำเลียง และระดมยิงฝั่ง เป็นต้น มีหลายประเภท เรียกชื่อตามลักษณะและหน้าที่ที่สำคัญ เช่น เรือบรรทุกเครื่องบิน เรือดำน้ำ เรือลาดตระเวน เรือวางทุ่นระเบิด. | เรือลาดตระเวน | น. เรือรบขนาดใหญ่ ระวางขับน้ำประมาณ ๖, ๐๐๐-๒๐, ๐๐๐ ตัน มีความเร็วและมีความคล่องตัวในการปฏิบัติงานมากกว่าเรือประจัญบานมีหน้าที่ลาดตระเวน ตรวจการรุกล้ำทางฝั่งน้ำและทางอากาศยาน คุ้มกัน สนับสนุนกองเรือลำเลียงเป็นต้น. | ลาดตระเวน | น. เรียกเรือรบขนาดใหญ่ประเภทหนึ่ง มีหน้าที่ลาดตระเวนเพื่อค้นหา ทำลายเรือรบข้าศึก และให้ความคุ้มกันสนับสนุนกองเรือลำเลียงของฝ่ายตน ว่า เรือลาดตระเวน. | วัคซีน | น. ผลิตผลที่ประกอบด้วยเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียที่ถูกฆ่าหรือทำให้มีฤทธิ์อ่อนแรงจนไม่เป็นอันตราย สำหรับฉีดเข้าสู่ร่างกายเพื่อกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเกิดจากเชื้อนั้น ๆ. | เศรษฐกิจพอเพียง | น. ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเป็นแนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชนตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ไม่ประมาท ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้รอดพ้นจากวิกฤติ มีความมั่นคงและยั่งยืนท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ. | เอดส์ | น. กลุ่มอาการและอาการแสดงที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันเสื่อมเหตุไวรัส HIV, กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม ก็ว่า. |
| protected risk | ภัยคุ้มกัน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | passive immunisation; immunization, passive | การก่อภูมิคุ้มกันรับมา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | passive immunity | ภูมิคุ้มกันรับมา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | passive immunization; immunisation, passive | การก่อภูมิคุ้มกันรับมา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | panimmunity | ภูมิคุ้มกันหลายโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | protection | ๑. การคุ้มกัน๒. ความคุ้มครอง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | period, window | ระยะหลบ (กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | local immunity | ภูมิคุ้มกันเฉพาะที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative immunity | ความคุ้มกันฝ่ายนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | residual immunity | ภูมิคุ้มกันตกค้าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | roll bar | โครงคุ้มกัน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | syndrome, acquired immune deficiency; AIDS; syndrome, acquired immunodeficiency | กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | syndrome, acquired immunodeficiency; AIDS; syndrome, acquired immune deficiency | กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | serum, hyperimmune | เซรุ่มภูมิคุ้มกันสูง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | serum, immune | เซรุ่มคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sovereign immunity | ความคุ้มกันที่ให้แก่พระมหากษัตริย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | specific immunity | ภูมิคุ้มกันจำเพาะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | active immunisation; immunization, active | การก่อภูมิคุ้มกันขึ้นเอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | AIDS; syndrome, acquired immune deficiency; syndrome, acquired immunodeficiency | กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | acquired immune deficiency syndrome; AIDS; syndrome, acquired immunodeficiency | กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | acquired immunity | ภูมิคุ้มกันได้มา (หลังเกิด) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | acquired immunodeficiency syndrome; AIDS; syndrome, acquired immune deficiency | กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | active immunity | ภูมิคุ้มกันก่อขึ้นเอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | active immunization; immunisation, active | การก่อภูมิคุ้มกันขึ้นเอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | judicial immunity | ความคุ้มกันทางตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judicial immunity | ความคุ้มกันทางตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mixed immunity | ภูมิคุ้มกันผสม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | congenital immunity | ภูมิคุ้มกันแต่กำเนิด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | consular immunity | ความคุ้มกันทางกงสุล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | consular immunity | ความคุ้มกันทางกงสุล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | disease, immune deficiency; disease, immunodeficiency | โรคขาดภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | disease, immunodeficiency; disease, immune deficiency | โรคขาดภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | disimmune | -สิ้นภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | disimmunise; disimmunize | ขจัดภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | disimmunity | สภาพสิ้นภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | disimmunize; disimmunise | ขจัดภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | diplomatic immunity | ความคุ้มกันทางทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | diplomatic immunity | ความคุ้มกันทางทูต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | fire protection | การคุ้มกันให้พ้นอัคคีภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | immunodeficiency | ภูมิคุ้มกันบกพร่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | immunodeficiency disease; disease, immune deficiency | โรคขาดภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | immunodiagnosis | การวินิจฉัยทางภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | immunologist | นักวิทยาภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | immunology | วิทยาอิมมูน, วิทยาภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | immunity, congenital | ภูมิคุ้มกันแต่กำเนิด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | immunity, consular | ความคุ้มกันทางกงสุล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | immunity, diplomatic | ความคุ้มกันทางทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | immunity, inherited; immunity, innate | ภูมิคุ้มกันสืบทอด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | immunity, innate; immunity, inherited | ภูมิคุ้มกันสืบทอด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | immunity, judicial | ความคุ้มกันทางตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Acquired immunodeficiency syndrome | โรคเอดส์หรือกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม, Example: <p>โรคเอดส์เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า human immunodeficiency virus หรือเรียกย่อๆ ว่า HIV (เอชไอวี) โดยเชื้อไวรัสจะเข้าไปทำลายเม็ดเลือดขาวซึ่งมีความสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้แก่ร่างกาย ทำให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่ำลง จึงทำให้ร่างกายติดเชื้อโรคฉวยโอกาสได้ง่าย เช่น เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และโรคต่างๆ เหล่านี้เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด <p> <p>เชื้อเอชไอวีติดต่อได้หลายวิธีดังนี้<br/> - การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อ ทั้งในรักร่วมเพศและรักต่างเพศ<br/> - การใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อ โดยเฉพาะในผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีดเข้าเส้นที่มักใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน<br/> - การรับเลือดและองค์ประกอบของเลือด การปลูกถ่ายอวัยวะ การผสมเทียม<br/> - ทารกติดเชื้อจากมารดา โดยทารกอาจได้รับเชื้อแพร่มาตามเลือดสายสะดือ หรือติดเชื้อขณะคลอดจากเลือดและเมือกในช่องคลอด หรือติดเชื้อในระยะเลี้ยงดูโดยได้รับเชื้อจากน้ำนม <p> <p>อาการของโรค<br/> ภายหลังได้รับเชื้อในระยะแรกผู้ติดเชื้อบางรายมีอาการไข้และมีต่อมน้ำเหลืองโตตามซอกคอและซอกรักแร้ อาการเหล่านี้จะเป็นอยู่ไม่นานและหายไปได้เอง เมื่อการติดเชื้อดำเนินต่อไปอีกหลายปี ผู้ป่วยจะมีภูมิคุ้มกันเสื่อมลง ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วร่างกาย ต่อมาเริ่มมีอาการ เช่น ไข้เรื้อรัง ท้องร่วงเรื้อรัง มีฝ้าขาวในปาก เมื่อถึงระยะเป็นโรคเอดส์เต็มขั้น ผู้ป่วยจะมีการติดเชื้อฉวยโอกาสและจะเป็นมะเร็งชนิดที่ไม่ค่อยพบในคนทั่วไป นอกจากนี้ผู้ป่วยยังมีอาการทางระบบประสาท เช่น เฉื่อยชา ความจำเสื่อม ผู้ป่วยจะมีน้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว <p> <p>ระยะตั้งแต่เชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายจนถึงระยะแสดงอาการโรคเอดส์เต็มขั้นจะกินเวลานานหลายปี ในระหว่างนี้ถ้าต้องการจะทราบว่าติดเชื้อเอชไอวีหรือไม่สามารถทำได้โดยการตรวจเลือด <p> <p>การรักษา<br/> 1. การดูแลผู้ป่วยโดยทั่วไป เช่น การให้อาหารที่เพียงพอ<br/> 2. การรักษาตามอาการ<br/> 3. การรักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส<br/> 4. การให้ยาต้านเชื้อเอชไอวีเพื่อยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัส<br/> 5. การให้ยากระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> ประเสริฐ ทองเจริญ จันทพงษ์ วะสี และรวงผึ้ง สุทเธนทร์. (2539). กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมหรือโรคเอดส์. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 20, หน้า 242-269). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Immunotheraphy | การรักษาด้วยการก่อภูมิคุ้มกัน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cellular immunity | ภูมิคุ้มกันด้านเซลล์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Immunodeficency | ภูมิคุ้มกันบกพร่อง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Immunological adjuvent | สารกระตุ้นภูมิคุ้มกัน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Acquired immunodeficiency syndrome ; AIDS (Disease) | กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม [TU Subject Heading] | AIDS (Disease) And the arts | กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมกับศิลปกรรม [TU Subject Heading] | AIDS (Disease) in mass media | กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมในสื่อมวลชน [TU Subject Heading] | Aids and devices | กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมในสื่อมวลชน, เครื่องช่วยและอุปกรณ์ [TU Subject Heading] | AIDS serodiagnosis | การวินิจฉัยกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมโดยตรวจซีรั่ม [TU Subject Heading] | Allergy and immunology ; Immunology | วิทยาภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Children of AIDS patients | บุตรของผู้ป่วยกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม [TU Subject Heading] | Diplomatic privileges and immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต [TU Subject Heading] | Immune sera | เซรุ่มภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Immune system | ระบบภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Immunities of foreign states | ความคุ้มกันของรัฐ [TU Subject Heading] | Immunity | ภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Immunity, Cellular | เซลล์ภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Immunization | การก่อภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Immunogenetics | พันธุศาสตร์ภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Immunologic dificiency syndromes | กลุ่มอาการขาดภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Immunologic diseases | โรคภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Immunologic surveillance | การเฝ้าระวังโรคทางภูมิคุ้มกันวิทยา [TU Subject Heading] | Immunologic techniques | เทคนิคทางภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Immunologic tests | การทดสอบทางภูมิคุ้มกันวิทยา [TU Subject Heading] | Immunological aspects | แง่ภูมิคุ้มกันวิทยา [TU Subject Heading] | Immunologists | นักวิทยาภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Immunotherapy | การรักษาด้วยการก่อภูมิคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Parents of AID patients | บิดามารดาของผู้ป่วยภูมิคุ้มกันเสื่อม [TU Subject Heading] | Privileges and immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกัน [TU Subject Heading] | Veterinary immunology | ภูมิคุ้มกันวิทยาทางสัตวแพทยศาสตร์ [TU Subject Heading] | Act on Consular Privileges and Immunities B.E. 2541 | พระราชบัญญัติว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุล พ.ศ. 2541 [การทูต] | Act on Diplomatic Privileges and Immunities B.E. 2527 | พระราชบัญญัติว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางทูต พ.ศ. 2527 [การทูต] | Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] | Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] | Convention | ในภาษาไทยแปลว่า อนุสัญญา แต่คำนี้ใช้แทนคำว่า สนธิสัญญา (Treaty) บ่อย ๆ ผู้เขียนหลายท่านเห็นว่า ทั้งสองคำนี้ไม่ค่อยจะมีความหมายแตกต่างกันมากนัก แม้ว่าคำ Convention มักจะใช้กันเป็นประจำ โดยหมายถึงความตกลงที่กระทำกันในการประชุมระหว่างประเทศ ตัวอย่างเช่น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่กระทำกัน ณ กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม ถึง 14 เมษายน ค.ศ. 1961 (The Vienna Convention on Diplomatic Relations) [การทูต] | Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] | Departure of Diplomatic Agents | การออกไปจากรัฐผู้รับของเจ้าหน้าที่ทางการทูต ข้อ 44 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติได้ว่า ?แม้ในกรณีการขัดกันด้วยอากร รัฐผู้รับต้องอำนวยความสะดวก เพื่อให้บุคคลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน นอกจากคนชาติของรัฐผู้รับและคนในครอบครัวของบุคคลเช่นว่านี้ โดยไม่คำนึงถึงสัญชาติของบุคคลเหล่านั้น ออกไปในขณะที่เร็วที่สุดที่จะเป็นไปได้ ในกรณีที่จำเป็นโดยเฉพาะ รัฐผู้รับต้องจัดพาหนะเดินทางในการขนส่งสำหรับตัวบุคคลเหล่านั้น และทรัพย์สินของบุคคลเหล่านั้นให้ด้วย? [การทูต] | Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] | Diplomatic Privileges and Immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตที่ได้ให้แก่เจ้า หน้าที่ทางการทูต โดยถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้แทนส่วนตัวของประมุขของรัฐ เหตุผลที่ให้มีการคุ้มกันทางการทูต ก็เพราะถือว่ารัฐบาลหนึ่งใดก็ตามจะถูกกีดกันขัดขวางด้วยการจับกุม หรือกีดกันมิให้ผู้แทนของรัฐบาลนั้นปฏิบัติหน้าที่ในความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นมิได้ ถ้าหากเห็นว่าผู้แทนนั้นมีพฤติกรรมหรือพฤติการณ์ที่ก้าวร้าวซึ่งรัฐผู้รับ ไม่อาจรับได้ก็ชอบที่รัฐผู้รับจะขอร้องให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวผู้แทนของตนกลับ ประเทศได้ อนึ่ง การที่สถานเอกอัครราชทูตได้รับความคุ้มกันจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ เพราะต้องการให้บรรดาผู้แทนทางการทูตเหล่านั้น รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาได้มีโอกาสมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศของเขาอนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตมีบทบัญญัตินิยามคำว่า เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตในเรื่องต่างๆ ไว้มากพอสมควร เช่น เรื่องสถานที่ของคณะผู้แทนทางการทูต รวมทั้งบรรณสารและเอกสาร เรื่องการอำนวยความสะดวกให้แก่การปฏิบัติงานของคณะผู้แทน และเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายรวมทั้งการคมนาคมติดต่อ เป็นต้น [การทูต] | Duration of Diplomatic Privileges and Immunities | ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] | Diplomatic Secretaries | ตำแหน่งเลขานุการทางการทูตในสถานเอกอัครราชทูต ตำแหน่งเลขานุการทางการทูตจะมีอยู่ 3 ระดับ คือ เลขานุการเอก เลขานุการโท และเลขานุการตรี ทั้งสามระดับอยู่รองลงมาจากตำแหน่งที่ปรึกษา (Counselor) ระดับทั้งหมดนี้มีฐานะทางการทูต มีเอกสิทธิ และความคุ้มกันทางการทูตทั้งมวล และชื่อจะปรากฎอยู่ในสมุดเอกสารรายชื่อบุคคลในคณะทูตตำแหน่งเลขานุการทางการ ทูตเหล่านี้ อย่าไปปนกับตำแหน่งเลขานุการส่วนตัวของเอกอัครราชทูต ซึ่งแม้จะมีฐานะสำคัญในสถานเอกอัครราชทูต แต่ไม่มีสถานภาพทางการทูตแต่อย่างใด รวมทั้งตำแหน่งเลขานุการ ซึ่งทำหน้าที่เสมียนจดชวเลขและพิมพ์ดีด [การทูต] | diplomatic privileges and immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต [การทูต] | Exercise by Diplomatic Missions of Consular functions | การปฏิบัติหน้าที่กงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูต ตามข้อ 70 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ว่า1. บทของอนุสัญญานี้ใช้แก่ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูตด้วย เท่าที่บริบทจะอำนวยให้2. ชื่อของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานในแผนกกงสุล หรือมิฉะนั้นได้รับภาระให้ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลของคณะผู้แทนนั้น จะต้องแจ้งไปยังกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่กระทรวงนั้นที่แต่งตั้งไว้3. ในการปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุล คณะผู้แทนทางการทูตอาจติดต่อกับก. เจ้าหน้าที่ท้องที่ของเขตกงสุลนั้นข. เจ้าหน้าที่ส่วนกลางของรัฐผู้รับ ถ้าหากกระทำได้ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และจารีตประเพณีของรัฐผู้รับ หรือตามความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง4. เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูตที่อ้างถึงในวรรค 2 ของข้อนี้ จะยังคงอยู่ในบังคับแห่งกฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ทางการทูต [การทูต] | Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] | Honorary Consul | กงสุลกิตติมศักดิ์ " ได้แก่ บุคคลในท้องถิ่นผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งและมอบหมายให้ดูแล ส่งเสริมผลประโยชน์ของประเทศและคนชาติในพื้นที่ในเขตอาณา และดำเนินการตรวจลงตราหนังสือเดินทางแก่บุคคลที่จะเดินทางเข้าประเทศที่ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นผู้แทน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้รับ และต้องยื่นสัญญาบัตร และได้รับอนุมัติบัตรเช่นเดียวกับผู้แทนฝ่ายกงสุลอาชีพ (career consular officer) ทั้งนี้ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์จะได้รับมอบหมายให้ดูแลเขตอาณาที่ครอบคลุมพื้นที่ กว้างกว่าและสำคัญกว่า ในส่วนของไทย กงสุลกิตติมศักดิ์แตกต่างจากกงสุลอาชีพใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) กงสุลกิตติมศักดิ์ส่วนใหญ่เป็นชาวต่างประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือเป็นผู้นำที่มีความสัมพันธ์พิเศษกับไทย (2) กงสุลกิตติมศักดิ์ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งสำนักงาน ได้แก่ สถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์หรือสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ทั้งหมด (3) กงสุลกิตติมศักดิ์ได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุลน้อยกว่ากงสุลอาชีพ ในการปฏิบัติงานของกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยจะมีคู่มือกงสุลกิตติมศักดิ์ เป็นระเบียบกฎเกณฑ์และข้อมูลสำหรับการปฏิบัติงาน " [การทูต] | Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] | Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] | Personal Inviolability of Diplomatic Agents | หมายถึง ตัวบุคคลของตัวแทนทางทูตจะถูกละเมิดมิได้ กล่าวคือ มาตรา 29 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในเรื่องนี้ไว้ว่า ?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทุตจะไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด ๆ ให้รัฐผู้รับปฏิบัติต่อตัวแทนทางการทูตด้วยความเคารพตามสมควร และดำเนินการที่เหมาะสมทั้งมวลที่จะป้องกันการประทุษร้ายใด ๆ ต่อตัวบุคคล เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ นั้น ได้ถือเป็นปัจจัยหลักในการที่ให้ผู้แทนทางการทูตได้รับสิทธิและความคุ้มกัน ทั้งมวล ถึงกับมีการพูดกันว่า ผู้ใดประทุษร้ายต่อตัวเอกอัครราชทูต จักถือว่าเป็นการทำร้ายต่อประมุขของประเทศซึ่งผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเป็น ตัวแทนอยู่ ทั้งยังถือว่าเป็นการยังผลร้ายต่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชาติทั้ง มวลด้วยตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1964 ชายหนุ่มญี่ปุ่นคนหนึ่งซึ่งมีจิตวิปลาส ได้ใช้มีดแทง นายเอ็ดวิน โอไรส์ชาวเออร์ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศญี่ปุ่น ในเขตนอกสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ในกรุงโตเกียว รัฐมนตรีว่าการกระทวงมหาดไทยญี่ปุ่นได้ลาออกจากตำแหน่งทันทีและรุ่งขึ้นใน วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1964 นายอิเคดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในสมัยนั้น ได้ทำการขอโทษต่อประชาชนชาวอเมริกันทางวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการดำเนินการในทำนองนี้ และการที่นายกรัฐมนตรีอิเคดะได้ปฏิบัติดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า การที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้นั้น มีความสำคัญมากเพียงใดตัวแทนทางการทูตจะถูกจับ ถูกฟ้องศาล หรือถูกลงโทษฐานประกอบอาชญากรรมนั้นไม่ได้ เพราะถือว่าผู้แทนทางการทูตมิได้อยู่ในอำนาจศาลของรัฐผู้รับ อย่างไรก็ดี หากผู้แทนทางการทูตกระทำความผิดอย่างโจ่งแจ้ง รัฐผู้รับอาจขอให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับไปยังประเทศของเขาได้ในทันที [การทูต] |
| การคุ้มกัน | [kān khumkan] (n) EN: protection FR: protection [ f ] | คุ้มกัน | [khumkan] (v) EN: protect ; guard ; escort ; defend ; preserve FR: escorter ; convoyer ; protéger | หนังสือคุ้มกัน | [nangseū khumkan] (n, exp) EN: pass ; safe-conduct FR: laissez-passer [ m ] ; sauf-conduit [ m ] | ภาษีคุ้มกัน | [phāsī khumkan] (n, exp) EN: protective duty |
| immunostimulation | (vt) การกระตุ้นภูมิคุ้มกัน เช่น Several prominent researchers have been issued multiple patents for immunostimulation based, hair loss treatments., Syn. immune stimulation | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
| AIDS | (n) เอดส์ (คำย่อของ Acquired Immune Deficiency Syndrome), See also: โรคเอดส์, โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง | antiserum | (n) ซีรัมที่มีแอนติบอดี้มีภูมิคุ้มกันโรค | bodyguard | (n) องครักษ์, See also: คนคุ้มกัน, ราชองครักษ์, Syn. watchman, guard | convoy | (vt) คุ้มกันการเดินทาง, Syn. escort | convoy | (n) ยานพาหนะหรือเรือคุ้มกันการเดินทาง, Syn. escort, guard | cover | (vt) ปกป้อง, See also: คุ้มกัน | covering | (n) สิ่งคุ้มกัน | escort from | (phrv) คุ้มกันให้พ้นจาก, See also: กีดกันจาก | escort to | (phrv) ป้องกันให้เพื่อ, See also: คุ้มกันเพื่อ | defend | (vt) ปกป้อง, See also: คุ้มครอง, คุ้มกัน, อารักขา, Syn. protect, shield, guard | defense | (n) การคุ้มครอง, See also: การปกป้อง, การคุ้มกัน, การอารักขา, Syn. protection, safequard, offense, security | defense | (n) สิ่งคุ้มกัน, See also: วิธีป้องกัน, เครื่องกั้นขวาง, ด่าน, ปราการ, Syn. barricade, shield | escort | (vt) คุ้มกัน, See also: ปกป้อง, คุ้มครอง, Syn. guard, protect | hedge against | (phrv) ป้องกัน, See also: คุ้มกัน, พิทักษ์ให้พ้นจาก | guard | (vt) คุ้มกัน, See also: ระวัง, พิทักษ์, ป้องกัน, Syn. defend, secure, protect, Ant. disregard, neglect, forsake. | guard | (n) ยาม, See also: ผู้ดูแล, ยามรักษาการณ์, คนเฝ้า, ผู้คุ้มกัน, คนเฝ้ายาม, Syn. protector, watchman, security officer | guardian | (n) ผู้คุ้มครอง, See also: ผู้พิทักษ์, ผู้คุ้มกัน, Syn. guard, protector | human immunodeficiency virus | (n) เฮชไอวี, See also: เชื้อไวรัสภูมิคุ้มกันบกพร่อง, เชื้อไวรัสเอดส์ | immune | (adj) เกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน | immune | (adj) ซึ่งมีภูมิคุ้มกันโรค, See also: ซึ่งมีภูมิต้านทานต่อโรค, Syn. inoculated, vaccinated | immune | (n) ผู้มีภูมิคุ้มกัน | immune system | (n) ระบบภูมิคุ้มกันโรค | immunise | (vt) ฉีดภูมิคุ้มกันโรค, See also: ทำให้มีภูมิต้านทาน ด้วยการฉีดวัคซีน, Syn. inoculate, vaccinate | immunity | (n) ภูมิคุ้มกันโรค, See also: ภูมิต้านทานโรค, การมีภูมิคุ้มกันโรค, Syn. inoculation, vaccination | immunize | (vt) ฉีดภูมิคุ้มกันโรค, See also: ทำให้มีภูมิต้านทาน ด้วยการฉีดวัคซีน, Syn. inoculate, vaccinate | immunodeficiency | (n) ภูมิคุ้มกันบกพร่อง | immunology | (n) ภูมิคุ้มกันวิทยา, See also: การศึกษาถึงการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย | inoculation | (n) การฉีดวัคซีน, See also: การปลูกฝี, การใส่หรือฉีดเชื้อเข้าในร่างกายเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน, การเพาะหรือใส่ความคิด, Syn. vaccination, injection | maximum-security | (adj) ซึ่งมีการคุ้มกันเข้มงวด | muscleman | (n) ผู้คุ้มกัน, See also: ยามรักษาการณ์ | safeguard | (n) สิ่งป้องกัน, See also: สิ่งคุ้มกัน | screen | (vt) คุ้มกัน (คนที่กระทำไม่ถูกต้อง), See also: คุ้มครอง, ปกป้อง | secure | (vt) ทำให้ปลอดภัย, See also: ป้องกัน, คุ้มกัน, Syn. protect, safeguard, make safe | security | (n) สิ่งที่ทำให้ปลอดภัย, See also: สิ่งคุ้มกันภัย, Syn. protection, shelter | sentry | (n) ยาม, See also: ทหารยาม, ทหารคุ้มกัน, ทหารรักษาความปลอดภัย, Syn. protector, sentinel, watchdog | safeguard against | (phrv) ปกป้อง, See also: พิทักษ์, คุ้มครอง, คุ้มกัน | screen from | (phrv) คุ้มครอง, See also: คุ้มกัน, ป้องกันจาก, Syn. protect against, shelter from | shield from | (phrv) ป้องกันจาก, See also: คุ้มกันจาก, ซ่อนจาก, Syn. shade from | vaccinate | (vt) ฉีดวัคซีน, See also: ฉีดภูมิคุ้มกัน, ปลูกฝี, Syn. immunize, inoculate, vaccinate | vaccinator | (n) ผู้ฉีดวัคซีน, See also: ผู้ให้ภูมิคุ้มกัน | vaccine | (n) วัคซีน, See also: สารต้านพิษ, เซรุ่ม, ภูมิคุ้มกัน, Syn. antibody, antitoxin | wardship | (n) สภาวะที่อยู่ภายใต้การคุ้มกัน, Syn. custody, guardianship | wardship | (n) การคุ้มกัน, See also: การปกป้อง | womb | (n) ที่คุ้มกัน, See also: ที่กำบัง, ที่หลบภัย | watch over | (phrv) คอยคุ้มกัน, See also: ดูแล, ปกป้อง, Syn. have on, keep on |
| active immunity | การเกิดภูมิคุ้มกันเนื่องจากการสร้างแอนตี้บอดี้ภายในสิ่งมีชีวิตเอง | aids | abbr. (เอดสฺ) Acquired Immune Deficiency Syndrome โรคเอดส์ (โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง, โรคภูมิคุ้มกันเสื่อม) | air cover | เครื่องบินที่ใช้ป้องกันทหารและสถานที่บนพื้นดิน เครื่องบินคุ้มกันในอากาศ., Syn. air umbrella | anergy | (แอน' เนอจี) n. ภาวะไร้ภูมิคุ้มกันต่อ antigen -anergic adj. (deficiency of energy) | antiserum | (แอนทีซี' รัม) n., (pl. -serums, -sera) ซีรัมที่มี antibodies ซึ่งมีภูมิคุ้มกัน | barrage | (บะราจฺ') { barraged, barraging, barrages } n. การระดมยิงคุ้มกัน, เครื่องกั้น, ม่านไฟ, การระดมโจมตี, การทะลัก, ปริมาณเหลือล้น, เขื่อน vt. ระดมยิง, Syn. artiller | bodyguard | (บอด'ดิการ์ด) n. คนคุ้มกัน, มือปืนผู้คอยป้องกัน | booster | (บูส'เทอะ) n. ผู้สนับสนุน, ผู้ยก, ผู้เลื่อน, สิ่งที่สนับสนุน, สิ่งกระตุ้น, ท่อนแรกของจรวดหลายท่อน, เครื่องเพิ่ม กำลัง -Phr. (booster dose, booster shot ขนาดยาหรือสารสร้างภูมิคุ้มกัน, ยาหรือสารเสริมฤทธิ์ยาตัวอื่น, เครื่องเสริมการขับดัน) | brood | (บรูด) { brooded, brooding, broods } n. คอกหนึ่ง, กลุ่มหนึ่ง, พันธุ์หนึ่ง, ชนิดหนึ่ง vi. กก (ไข่) , ใช้ปีกโอบคุ้มกัน (ลูกสัตว์) , ครุ่นคิด. adj. สำหรับไว้กกไข่ | convoy | (v. คอน'วอย, คันวอย' n. คอน'วอย) { convoyed, convoying, convoys vt. คุ้มกัน, คุ้มกันการเดินทางเรือ. n. การคุ้มกันการเดินของทหาร, Syn. escort, -A. desert | cover | (คัฟ'เวอะ) { covered, covering, covers } vt. ปกคลุม, คลุม, กลบ, ปิดคลุม, ปิดบัง, ครอบ, นำมาซึ่ง ป้องกันคุ้มกัน, ครอบคลุม, รวมทั้ง, ชดเชย, ชดใช้, สังวาสกับ, กก (ไข่) , ประกบตัว. vi. แทน, ซ่อน -Phr. (cover up ปิดเป็นความลับ, ปิดอย่างมิดชิด) n. ที่ปิด, ฝา, ที่ครอบ, ปก, ปลอก, ยางนอก, | escort | (เอส'คอร์ทฺ) n. ผู้ที่ไปเป็นเพื่อน, ผู้คุ้มกัน, พี่เลี้ยง, หน่วยคุ้มกัน, เรือคุ้มกันขบวนเรือ, เครื่องบินคุ้มกันขบวนเรือ. vt. (เอสคอร์ท') ไปเป็นเพื่อน, คุ้มกัน, พิทักษ์, เป็นพี่เลี้ยง | guardian | (การ์'เดียน) n., adj. (ซึ่งเป็น) ผู้ปกครอง, ผู้คุ้มครอง, ผู้คุ้มกัน, ผู้พิทักษ์., Syn. protector, custodian | hiv | คำย่อ Human Immunovirus เป็นไวรัสที่ทำให้ภูมิคุ้มกันของคนบกพร่อง | immune | (อีมิวนู') adj. มีภูมิคุ้มกันโรค, ได้รับการยกเว้น. n. ผู้มีภูมิคุ้มกันโรค, ผู้ได้รับการยกเว้น, Syn. exempt | immunise | (อิม'มะไนซ) vt. ทำให้มีภูมิคุ้มกันโรค, ทำให้ยกเว้น, ทำให้รอดจาก., See also: immuniser, immunizer n. | immunize | (อิม'มะไนซ) vt. ทำให้มีภูมิคุ้มกันโรค, ทำให้ยกเว้น, ทำให้รอดจาก., See also: immuniser, immunizer n. | immuno- | Pref. ภูมิคุ้มกันโรค' | immunology | (อิมมะนอล'โลจี) n. ภูมิคุ้มกันวิทยา, See also: immunological adj. adv. immunologist n. | passive immunity | n. ภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการฉีดแอนตี้บอดี้ จากสิ่งมีชีวิตอื่นหรือ (ในทารก) จากแอนตี้บอดี้ของมารดาผ่านรก | protect | (โพรเทคทฺ') vt. ป้องกัน, พิทักษ์, รักษา, อารักขา, คุ้มกันอุตสาหกรรมในประเทศไทย โดยการจัดเก็บภาษีอากรขาเข้า. vi. ป้องกัน | safeguard | (เซฟ'การ์ด) n. เครื่องป้องกัน, สิ่งป้องกัน, ผู้คุ้มกัน, ผู้คุ้มครอง vt. คุ้มกัน, คุ้มครอง, อารักขา, Syn. defense, precaution | safekeeping | (เซฟ'คีพิง) n. การเก็บไว้ในที่ปลอดภัย, การคุ้มกัน, การคุ้มครอง, การอารักขา | screen | (สครีน) n. จอ, ม่าน, ฉาก, ที่บัง, เครื่องบัง, สิ่งปกปิด, ของอำพราง, จอภาพยนตร์, จอแก้ว (โทรทัศน์) , ภาพยนตร์, กองกำลังคุ้มกัน, ม่านคุ้มกัน, ม่านควัน, ตะแกรงร่อน, ตะแกรงกรอง, แผ่นตาข่าย, ป้ายปิดประกาศ vt. ปกคลุม, ป้องกัน, ซ่อนเร้น, คุ้มกัน, เลือก, เรียบเรียง, ร่อนด้วยตะแกรง, กรอง, | sentry | (เซน'ทรี) n. ทหารยาม, ทหารรักษาการณ์, ทหารองครักษ์, ทหารคุ้มกัน, ยาม., Syn. sentinel, guard, watch, warden | sheep dog | n. สุนัขเลี้ยงแกะ, สุนัขคุ้มกันแกะ | sheepdog | n. สุนัขเลี้ยงแกะ, สุนัขคุ้มกันแกะ | swiss guard | n. สมาชิกกองคุ้มกันองค์ สันตะปาปาของสวิตเซอร์แลนด์ |
| bodyguard | (n) ผู้คุ้มกัน, มือปืนคุ้มกัน | convoy | (n) ผู้คุ้มกัน, ผู้ป้องกันภัย, ขบวนเรือคุ้มกัน | convoy | (vt) อารักขา, ป้องกัน, คุ้มกัน, คุมไป | escort | (vt) ตามไปส่ง, ไปเป็นเพื่อน, คุ้มกัน, พิทักษ์, ปกป้อง, เป็นพี่เลี้ยง | guard | (vt) เฝ้า, ระวัง, รักษา, ป้องกัน, ปกป้อง, เตรียมพร้อม, คุ้มกัน, พิทักษ์ | guardian | (n) ผู้ปกครอง, ผู้คุ้มครอง, ผู้ป้องกัน, ผู้คุ้มกัน, ผู้พิทักษ์ | guardianship | (n) การปกครอง, การคุ้มครอง, การป้องกัน, การคุ้มกัน | protect | (vt) ป้องกัน, อารักขา, คุ้มกัน, พิทักษ์, รักษา | protection | (n) การป้องกัน, การอารักขา, การคุ้มกัน, การคุ้มครอง | protective | (adj) เป็นการป้องกัน, เป็นการอารักขา, เป็นการคุ้มกัน | protector | (n) ผู้ป้องกัน, ผู้อารักขา, ผู้คุ้มกัน, ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน | protectorate | (n) ความอารักขา, ความคุ้มกัน, ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน | safeguard | (n) เครื่องป้องกัน, การพิทักษ์, ผู้อารักขา, ผู้คุ้มกัน, ผู้คุ้มครอง | safeguard | (vt) ป้องกัน, พิทักษ์, อารักขา, คุ้มกัน, คุ้มครอง |
| Cytokine | โปรตีนที่ขับออกมาโดยเซลล์น้ำเหลืองซึ่งทำหน้าที่เป็นสื่อกลางเซลล์และควบคุมการตอบสนองของภูมิคุ้มกัน | Hypersensitivity | แพ้ (หรือที่เรียกว่าปฏิกิริยาแพ้หรือแพ้) หมายถึงปฏิกิริยาที่ไม่พึงประสงค์ที่ผลิตโดยระบบภูมิคุ้มกันปกติรวมถึงโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกันอัตโนมัติ ปฏิกิริยาแพ้ต้องมีสถานะก่อนไวต่อความรู้สึก (ภูมิคุ้มกัน) ของโฮสต์ (สัตว์หรือพืชที่เป็นที่อาศัยของปรสิต) | immunocompromised | มีระบบภูมิคุ้มกันบกพร่องหรืออ่อนแอ (เช่นเดียวกับยาหรือการเจ็บป่วย) | immunological | [อิมมิวโนโลจิคอล] (n) การศึกษาเกี่ยวกับวิทยาภูมิคุ้มกัน | Polymyositis | โรคอักเสบของกล้ามเนื้อที่เริ่มต้นเซลล์เม็ดเลือดขาว, เซลล์ภูมิคุ้มกันของการอักเสบ, เป็นธรรมชาติกล้ามเนื้อ, โดยเฉพาะกับลำตัว, ส่งผลให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อ, และอ่อนแอ | psychoneuroimmunology | (n) จิตประสาทภูมิคุ้มกัน; การแพทย์สาขาที่เกี่ยวกับสภาวะอารมณ์มีผลต่อภูมิคุ้มกันอย่างไร |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |