มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| ข้าราชการ | (n) government officer, See also: government employee, Syn. เจ้าหน้าที่รัฐ, Example: ระบบราชการของไทยต้องพยายามปรับปรุงให้ข้าราชการทำงานรวดเร็วขึ้นกว่าเดิม, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ปฏิบัติราชการในส่วนราชการ | ข้าราชการประจำ | (n) senior official, See also: government official, Syn. ข้าราชการ, Example: ข้าราชการประจำบางกลุ่มตกเป็นเครื่องมือรับใช้นักการเมืองมาแทบทุกยุคทุกสมัย, Thai Definition: บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณรายจ่ายหมวดเงินเดือน | ข้าราชการพลเรือน | (n) civil servant, See also: government employee, government officer, civil official, Syn. ข้าราชการ, เจ้าหน้าที่รัฐ, Example: พ่อรับราชการเป็นเป็นข้าราชการพลเรือนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ปฏิบัติราชการในส่วนราชการที่ไม่ใช่การงานทางทหาร | ข้าราชการการเมือง | (n) political official, Syn. นักการเมือง, Example: ทุกคนต่างเห็นว่าควรลงโทษข้าราชการการเมืองให้เทียบเคียงข้าราชการประจำ, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลผู้ดำรงตำแหน่งหน้าที่ทางการเมือง | ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ | (n) senior government official, See also: high-ranking government servant/public servant/public official, Syn. ข้าราชการชั้นสูง, Example: ผบ.เหล่าทัพข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และนักการเมืองพร้อมใจกันร่วมอวยพรวันเกิดให้นายกรัฐมนตรี, Count Unit: ท่าน, Thai Definition: ข้าราชการที่มีตำแหน่งในระดับสูง | กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ | (n) The Government Pension Fund, Syn. กบข., Example: กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการได้จัดส่งใบแจ้งยอดกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ประจำปี 2545 ให้สมาชิก เพื่อนำไปประกอบการหักลดหย่อนภาษี | สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู | (n) Office of the Teacher Civil Service Commission, See also: OTCSC, Syn. ก.ค., Example: การปรับปรุงคู่มือการอุทธรณ์และการร้องทุกข์ เป็นหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู | สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน | (n) Office of the Civil Service Commission, Syn. ก.พ., Example: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนต้องการรับสมัครคัดเลือกข้าราชการเพื่อรับทุนรัฐบาลศึกษาในประเทศ |
| กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ | น. กองทุนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นหลักประกันการจ่ายบำเหน็จบำนาญและให้ประโยชน์ตอบแทนการรับราชการแก่ข้าราชการเมื่อออกจากราชการ เรียกชื่อย่อว่า กบข. | ข้าราชการ | น. คนที่ทำราชการตามทำเนียบ | ข้าราชการ | ผู้ปฏิบัติราชการในส่วนราชการ | ข้าราชการ | บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง ทบวง กรม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้าราชการทหาร ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ. | กรมการในทำเนียบ | น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งข้าราชการที่มีเงินเดือน ซึ่งจัดเป็น ๒ พวก กรมการชั้นผู้ใหญ่ ประกอบด้วย ปลัด ยกกระบัตร และผู้ช่วยราชการ กับกรมการชั้นผู้น้อย ประกอบด้วย จ่าเมือง สัสดี แพ่ง ศุภมาตรา และสารเลข. | กรุ ๑ | (กฺรุ) น. ห้องที่ทำไว้ใต้ดิน ใต้พระเจดีย์ เป็นต้น สำหรับเก็บพระพุทธรูปและสิ่งมีค่าอื่น ๆ, โดยปริยายหมายถึงกระทรวง ทบวง กรม ที่ข้าราชการในสังกัดถูกเรียกตัวเข้ามาอยู่ประจำ โดยมิได้มีตำแหน่งหน้าที่ใด ๆ เพื่อเป็นการลงโทษหรือก่อนเกษียณอายุราชการ ในความว่า เรียกเก็บเข้ากรุ. | กำหนด | บทบริหารบัญญัติคล้ายพระราช-กฤษฎีกา โดยมากเป็นบัญญัติที่เกี่ยวกับบุคคลหรือข้าราชการบางจำพวก เช่น พระราชกำหนดเครื่องแบบแต่งกายข้าราชการฝ่ายทหารและพลเรือน. | แก๊ป | น. ชื่อหมวกของทหารตำรวจหรือข้าราชการพลเรือนเป็นต้นที่มีกะบังหน้า เรียกว่า หมวกแก๊ป | ขีด | เรียกเครื่องหมายแสดงระดับชั้นของข้าราชการพลเรือน เช่น ข้าราชการชั้นตรีที่บ่ามีขีดใหญ่ ๑ ขีด | ขุน ๑ | น. ผู้เป็นใหญ่, หัวหน้า, บรรดาศักดิ์ข้าราชการรองจากหลวงลงมา เช่น ขุนวิจิตรมาตรา | ขุนนาง | น. ลูกขุน, ข้าราชการฝ่ายทหารและพลเรือน แบ่งเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่มีศักดินาตั้งแต่ ๔๐๐ ขึ้นไป และข้าราชการชั้นผู้น้อยมีศักดินาต่ำกว่า ๔๐๐. | ขุนโรง | น. ข้าราชการฝ่ายยุติธรรมผู้เป็นหัวหน้าในศาลหัวเมืองต่าง ๆ, ใช้เป็นสำนวนว่า ขุนโรงขุนศาล. | ขุนศาล | น. ข้าราชการฝ่ายยุติธรรมตำแหน่งปลัดนั่งศาลหรือราชปลัดนั่งศาลต่าง ๆ ในราชธานี อาทิ กรมกลาโหมมีขุนประชาเสพราชปลัดนั่งศาลอาชญานอก กรมวังมีขุนอินอาญาปลัดนั่งศาลอาชญาวัง, ใช้เป็นสำนวนว่า ขุนโรงขุนศาล เช่น กฎให้แก่ขุนโรงขุนศาลผู้พิจารณาเนื้อความทุกหมู่ทุกกรมในกรุงนอกกรุงจงทั่ว (สามดวง), ขุนสาน หรือ ขุนสาร ก็ว่า. | ขุนหมื่น | น. ข้าราชการผู้น้อยชั้นประทวนซึ่งเสนาบดีแต่งตั้งให้เป็นขุนบ้างเป็นหมื่นบ้าง มีศักดินาต่ำกว่า ๔๐๐. | คุณนาย | น. คำยกย่อง ใช้เรียกภรรยาข้าราชการชั้นสัญญาบัตรที่ยังมิได้เป็นคุณหญิง, ในปัจจุบันใช้เรียกยกย่องสตรีทั่ว ๆ ไปที่ผู้เรียกนับถือ. | จตุลังคบาท | (-ลังคะบาด) น. พลประจำ ๔ เท้าช้าง, สำหรับช้างทรงของพระมหากษัตริย์หรือพระมหาอุปราชในเวลาสงคราม มีเจ้ากรมพระตำรวจหลวงหรือข้าราชการ เช่น พระมหามนตรี พระมหาเทพ หลวงอินทรเทพ หลวงพิเรนทรเทพ ประจำ ๔ เท้าช้าง เช่น จตุลังคบาทสี่ตน ล้วนขุนพลสามรรถ (ตะเลงพ่าย), จัตุลังคบาท หรือ แวงจตุลังคบาท ก็ว่า. | จัตวา | (จัดตะวา) ว. สี่, ชั้นที่ ๔ (เดิมใช้เรียกข้าราชการที่มีลำดับชั้นต่ำกว่าชั้นตรีว่า ชั้นจัตวา) เช่น ข้าราชการชั้นจัตวา | จางวาง | น. ตำแหน่งข้าราชการชั้นสูงกว่าเจ้ากรมที่มิใช่กรมเสนาบดี ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา กำกับดูแลกรมนั้น ๆ, ตำแหน่งในสังกัดของเจ้านายที่ทรงกรม ทำหน้าที่กำกับดูแลกรมเจ้านาย, ตำแหน่งข้าราชการชั้นสูงในกรมมหาดเล็ก ตั้งขึ้นในรัชกาลที่ ๔ มีหน้าที่บังคับบัญชาหัวหมื่นมหาดเล็ก | เจ้าพนักงานภูษามาลา | น. ข้าราชการในราชสำนัก มีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกำ ทำสุกำ เปลื้องเครื่องสุกำพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกำศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวง เรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงานพระมาลา. | เจ้าพนักงานสนมพลเรือน | น. ข้าราชการในราชสำนัก ทำหน้าที่เกี่ยวกับพิธีศพ ทำสุกำศพหีบ จัดดอกไม้ ดูแลรักษาเครื่องนมัสการ โกศ หีบ เป็นต้น, สนม ก็เรียก. | เจ้าพระยา ๑ | น. บรรดาศักดิ์ข้าราชการผู้ใหญ่ สูงกว่าพระยา ต่ำกว่าสมเด็จเจ้าพระยา เช่น เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี. | เจ้าหน้าที่ของรัฐ | น. ผู้ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ปฏิบัติงานให้แก่รัฐหรือในหน่วยงานของรัฐ เช่น ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานองค์การมหาชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กฎหมายบางฉบับก็ขยายไปถึงสมาชิกสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติด้วย. | เฒ่าแก่ | น. สตรีสูงอายุที่พระเจ้าแผ่นดินโปรดให้ตั้งไว้ในตำแหน่งข้าราชการ มีหน้าที่ดูแลสตรีฝ่ายในในพระราชสำนัก | ดะโต๊ะยุติธรรม | น. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม. | ดิ่ง | วัตถุมงคล สำหรับห้อยสายลูกประคำ มีลักษณะกลมเป็นพู ๆ โดยรอบคล้ายลูกมะยมซ้อนเรียงกัน ๓ ลูก จากลูกใหญ่ลงไปหาลูกเล็ก พระมหากษัตริย์ทรงใช้ เรียกว่า พระดิ่ง และอาจพระราชทานแก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่มีความดีความชอบ. | เด็กชา | น. บุตรชายของข้าราชการหรือคหบดีที่ยังเยาว์วัยได้รับการนำขึ้นถวายตัวแด่พระเจ้าอยู่หัวสำหรับทรงใช้สอยโดยการเข้าสังกัดอยู่ในกรมมหาดเล็กแต่ยังมิใช่ข้าราชการ. | ต้นสังกัด | น. ส่วนราชการที่ข้าราชการนั้น ๆ สังกัดอยู่ เช่น สำนักงานตำรวจแห่งชาติเป็นต้นสังกัดของข้าราชการตำรวจทุกคน. | ตระเวน | (ตฺระ-) ก. เที่ยวตรวจตรา เป็นหน้าที่ของข้าราชการโบราณในกรมพระนครบาล เช่น พลตระเวน, พาไปทั่ว ๆ เพื่อประจาน ในความว่า นำนักโทษตระเวนไปทั่วเมือง, ใช้ว่า กระเวน ตะเวน หรือ ทะเวน ก็มี | ตรี ๓ | (ตฺรี) ว. สาม เช่น ตรีเนตร, ชั้นที่ ๓ (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศ ตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ตํ่ากว่า โท สูงกว่า จัตวา) เช่น ร้อยตรี ข้าราชการชั้นตรี ปริญญาตรี | ตามเสด็จ | ติดตามพระมหากษัตริย์ ซึ่งผู้ติดตามเป็นพระบรมวงศานุวงศ์หรือสามัญชน, ใช้ว่า โดยเสด็จ ก็มี เช่น พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการตามเสด็จไปในกระบวนเสด็จพระราชดำเนินยังไทรโยค. | ตำรวจวัง | น. ข้าราชการในพระองค์ มีหน้าที่ตรวจตรารักษาพระราชวัง และดูแลไม่ให้มีการละเมิดระเบียบประเพณีวังเป็นต้น. | ตำรวจหลวง | น. ข้าราชการในพระองค์ แต่งเครื่องแบบ สวมเสื้อนอก คอปิด กระดุม ๕ เม็ด นุ่งผ้าม่วงสีน้ำเงิน (หากแต่งเครื่องเต็มยศนุ่งผ้าม่วงเชิงมีลายดิ้นเงิน สวมเสื้อนอกคอตั้งสีม่วงเทา) สะพายกระบี่ สวมหมวกทรงประพาส มีหน้าที่รักษาพระองค์พระมหากษัตริย์และพระราชินี ณ ที่ประทับ และนำเสด็จเป็นชุดตามพระเกียรติยศในงานพระราชพิธีและพิธีด้วย เดิมเรียกว่า พระตำรวจหลวง. | ติดสนม | ก. ถูกกักบริเวณในเขตพระราชฐาน ใช้แก่พระราชวงศ์ฝ่ายในและข้าราชการฝ่ายใน โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของโขลน, ถูกกักบริเวณในวังที่ประทับ โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของพวกสนมพลเรือน ใช้แก่ผู้มีฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์หรือข้าทูลละอองธุลีพระบาทชั้นผู้ใหญ่. | ทำเนียบ ๒ | น. การลำดับตำแหน่งหน้าที่ซึ่งวางเป็นระเบียบแบบแผนขึ้นไว้ เช่น ทำเนียบสมณศักดิ์ ทำเนียบข้าราชการ. | เทศาภิบาล | การปกครองหัวเมืองที่จัดเป็นมณฑล โดยโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทำหน้าที่ปกครองในแต่ละมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑล เว้นแต่มณฑลชายแดนบางมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงต่างพระองค์สำเร็จราชการมณฑล ภายหลังเรียกว่า สมุหเทศาภิบาลมณฑล หรือสมุหเทศาภิบาล. | โท | ว. สอง, ชั้นที่ ๒ (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศ ตำแหน่ง ความสำคัญ หรือ วิทยฐานะ ตํ่ากว่าเอก สูงกว่าตรี) เช่น ร้อยโท ข้าราชการชั้นโท ปริญญาโท | โทษทางวินัย | น. โทษที่ลงแก่บุคลากรขององค์กรซึ่งปฏิบัติฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทางวินัยขององค์กรที่กำหนดไว้ เช่น โทษทางวินัยของข้าราชการพลเรือนสามัญตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ได้กำหนดไว้ ๕ สถาน ได้แก่ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ปลดออก และไล่ออก. | น้อย ๑ | ว. ตรงข้ามกับ มาก, ไม่มาก เช่น ฝนน้อย น้ำน้อย มีเงินน้อย พูดน้อย, ตรงข้ามกับ ใหญ่, ไม่ใหญ่, เช่น ข้าราชการชั้นผู้น้อย | นาย | เมื่อใช้เป็นคำนำราชทินนาม เป็นบรรดาศักดิ์ของข้าราชการในราชสำนักในสมัยก่อนเลิกบรรดาศักดิ์ เช่น นายนรินทร์ธิเบศ นายมหานุภาพ นายสุจินดา นายวรการบัญชา | นายอำเภอ | น. ตำแหน่งเจ้าพนักงานผู้ปกครองท้องที่ ซึ่งเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาข้าราชการในอำเภอ และรับผิดชอบในการบริหารราชการของอำเภอ. | บรรจุ | โดยปริยายหมายความว่า ให้เข้าประจำที่, ให้เข้าประจำตำแหน่งครั้งแรก, เช่น บรรจุให้เป็นข้าราชการ, ใส่ลงไว้ตามอัตรา เช่น บรรจุเข้าไว้ในรายการ. | บรรดาศักดิ์ | (บันดา-) น. ฐานันดรศักดิ์ที่พระราชทานแก่ข้าราชการหรือบุคคลทั่วไป แบ่งออกเป็น เจ้าพระยา พระยา พระ หลวง ขุน หมื่น พัน และทนาย โดยมีราชทินนามต่อท้าย เช่น เจ้าพระยายมราช พระยาพลเทพ. | บาแดง | พนักงานตามคน, ตำแหน่งข้าราชการในราชสำนัก, ประแดง ก็ใช้. | บาทมูลิกากร | (บาดทะมูลิกากอน) น. หมู่คนที่อยู่แทบบาทมูล คือ ข้าราชการในพระองค์. | เบี้ยกันดาร | น. เงินที่จ่ายช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้างประจำ เนื่องจากการปฏิบัติราชการประจำในท้องที่กันดารหรือในโรงเรียนที่กันดาร. | ปฏิญาณ | ก. ให้คำมั่นสัญญา โดยมากมักเป็นไปตามแบบพิธี เช่น พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณของข้าราชการเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา. | ประชาชน, ประชาราษฎร์ | น. พลเมือง, สามัญชนทั่ว ๆ ไปที่ไม่ใช่ข้าราชการ พ่อค้า หรือนักบวช ในความว่า ข้าราชการ พ่อค้า และประชาชน. | ประแดง | พนักงานตามคน, ตำแหน่งข้าราชการในราชสำนัก, คู่กับ ปะขาว, บาแดง ก็ใช้. | ปลดออก | น. โทษทางวินัยสถานหนึ่ง ที่ใช้ลงแก่ข้าราชการผู้กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ซึ่งมีผลให้ข้าราชการผู้นั้นออกจากราชการ แต่ยังมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญเสมือนว่าผู้นั้นลาออก. | ปะขาว | ตำแหน่งข้าราชการชั้นขุนหมื่นพวกหนึ่ง, คู่กับ ประแดง. |
| partisan, offensive | ข้าราชการที่เข้าช่วยพรรคการเมืองอย่างออกหน้า (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | public servant | ข้าราชการ, ข้ารัฐการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | public servant | ข้าราชการ, ข้ารัฐการ [ ดู public official ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliamentary official | ข้าราชการฝ่ายรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Parliamentary Officials Commission | คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ก.ร.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | public official | ข้าราชการ, ข้ารัฐการ [ ดู public servant ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | political official | ข้าราชการการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | list, civil | ๑. เงินปีพระมหากษัตริย์, งบค่าใช้จ่ายส่วนพระมหากษัตริย์๒. งบเงินเดือนข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | record, service | ทะเบียนประวัติข้าราชการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | representative bureaucracy | ระบบข้าราชการประจำที่มีผู้แทน (จากเจ้าหน้าที่ฝ่ายประจำบางส่วน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | status, civil service | สถานภาพข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | servant, civil | ข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | servant, public | ข้าราชการ, ข้ารัฐการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | service record | ทะเบียนประวัติข้าราชการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | offensive partisan | ข้าราชการที่เข้าช่วยพรรคการเมืองอย่างออกหน้า (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | officer, civil | ข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | official, non-career | ข้าราชการที่ไม่ได้รับราชการเป็นอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | official, parliamentary | ข้าราชการฝ่ายรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | official, political | ข้าราชการการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | official | ๑. ข้าราชการ๒. ทางราชการ, ทางการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | official | ข้าราชการ, ทางราชการ, ทางการ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | official | ๑. ข้าราชการ๒. ทางราชการ, ทางการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | bureaucracy | ๑. อำมาตยาธิปไตย๒. ระบบข้าราชการประจำ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bureaucracy, representative | ระบบข้าราชการประจำที่มีผู้แทน (จากเจ้าหน้าที่ฝ่ายประจำบางส่วน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Civil Service Commission; Commission, Civil Service | คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Civil Service Commission | คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil service status | สถานภาพข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil servant; civil officer | ข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil servant | ข้าราชการพลเรือน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | civil servant | ข้าราชการพลเรือน [ ดู civil officer ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Crown servant | ข้าราชการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil officer; civil servant | ข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil officer | ข้าราชการพลเรือน [ ดู civil servant ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil list | ๑. เงินปีพระมหากษัตริย์, งบค่าใช้จ่ายส่วนพระมหากษัตริย์๒. งบเงินเดือนข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Commission, Civil Service; Civil Service Commission | คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Commission, Parliamentary Officials | คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ก.ร.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | government official | ข้าราชการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | non-career official | ข้าราชการที่ไม่ได้รับราชการเป็นอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| พระโกศ | ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง ตามคตินิยมของพราหมณ์ที่เชื่อว่า ต้องตั้งพระศพในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งพระศพและพระวิญญาณเสด็จกลับสู่สรวงสวรรค์ พระโกศสามารถแบ่งตามวัตถุประสงค์การใช้งานได้ ๒ ประเภท ๑. พระโกศสำหรับทรงพระบรมศพหรือพระศพ ๒. พระโกศพระบรมอัฐิหรือพระอัฐิ, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/re-IM-2009-01.JPG" alt="พระโกศ"> <p>ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ [ศัพท์พระราชพิธี] | เจ้าพนักงานภูษามาลา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงานพระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] | พนักงานพระภูษา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงาน พระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] | พนักงานพระมาลา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงาน พระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] | ทับเกษตร | อาคารที่ปลูกริมรั้วราชวัติ โดยสร้างเป็นอาคารโถงทรงไทยทับเกษตรนี้ใช้เป็นที่สำหรับข้าราชการที่มาในพระราชพิธีพักและฟังสวดพระอภิธรรม [ศัพท์พระราชพิธี] | ปะรำ | ใช้เป็นสถานที่สำหรับราชสกุลและข้าราชการเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพ [ศัพท์พระราชพิธี] | Civil service ethics | จรรยาบรรณข้าราชการพลเรือน [TU Subject Heading] | Civil service positions | ตำแหน่งข้าราชการพลเรือน [TU Subject Heading] | Election officials | ข้าราชการและพนักงานการเลือกตั้ง [TU Subject Heading] | Insurance, Government employees' dental | ประกันสุขภาพช่องปากของข้าราชการและลูกจ้าง [TU Subject Heading] | Insurance, Government employees' health | ประกันสุขภาพของข้าราชการและลูกจ้าง [TU Subject Heading] | Local officials and employees | ข้าราชการและพนักงานท้องถิ่น [TU Subject Heading] | Officials and employees | ข้าราชการและพนักงาน [TU Subject Heading] | Officials and employees, Alien | ข้าราชการและพนักงานต่างด้าว [TU Subject Heading] | Officials and employees, Retired | ข้าราชการและพนักงานบำนาญ [TU Subject Heading] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Corps Diplomatique หรือ Diplomatic Corps | คณะทูตานุทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวง (Capital) ของประเทศ ซึ่งจะมีหัวหน้าคณะทูตพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทางการทูตใน คณะทูต เจ้าหน้าที่ทางการทูตในคณะทูตนั้นจะประกอบไปด้วย อัครราชทูต (Minister) อัครราชทูตที่ปรึกษา (Minister Counselor) และที่ปรึกษา (Counselor) ซึ่งอาจจะมีคนเดียวหรือหลายคน นอกจากนี้ มีเลขานุการทางการทูตอีกหลายคน คือ เลขานุการเอก โท ตรี และตามปกติยังมีผู้ช่วยทูต (Attaché) อีกหลายคนซึ่งมีฐานะทางการทูต (Diplomatic status) คือผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร (บก เรือ และอากาศ) ผู้ช่วยทูตฝ่ายพาณิชย์ (Commercial Attaché) ผู้ช่วยทูตฝ่ายการแถลงข่าว (Press Attaché) และผู้ช่วยฝ่ายอื่น ๆ ซึ่งกระทรวงทบวงกรมของรัฐบาล (นอกจากกระทรวงการต่างประเทศ) เป็นฝ่ายแต่งตั้งข้าราชการของตนไปประจำในคณะทูต รวมทั้งเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ซึ่งมีฐานะทางการทูตด้วยในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูต (Head หรือ Dean of the Diplomatic Corps) จะได้แก่ผู้แทนทางการทูตอาวุโสที่ได้ประจำการอยู่ในประเทศนั้นเป็นเวลานาน ที่สุด ยกเว้นแต่ในบางประเทศ จะถือเอกอัครราชทูตผู้แทนองค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncio) เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูตตลอดไป โดยไม่คำนึงถึงเรื่องอาวุโสแต่อย่างใด เช่น ฟิลิปปินส์ [การทูต] | Thailand-Singapore Civil Service Exchange Programme | โครงการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานข้าราชการพลเรือนไทย-สิงคโปร์ [การทูต] | embassy | สถานเอกอัครราชทูต " ที่ทำการที่มีหัวหน้าสำนักงานในระดับเอกอัครราชทูตหรืออุปทูต ตำแหน่งต่าง ๆ ประจำสถานเอกอัครราชทูต มีดังนี้ Ambassador เอกอัครราชทูต Minister อัครราชทูต Minister Counsellor อัครราชทูตที่ปรึกษา Counsellor ที่ปรึกษา First Secretary เลขานุการเอก Second Secretary เลขานุการโท Third Secretary เลขานุการตรี Attaché ผู้ช่วยเลขานุการ นอกจากนี้ บางสถานเอกอัครราชทูต มีข้าราชการจากกระทรวงอื่น ๆ นอกเหนือจากกระทรวงการต่างประเทศไปปฏิบัติหน้าที่ด้วย เช่น ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร ที่ปรึกษาฝ่ายการพาณิชย์ ที่ปรึกษาฝ่ายแรงงาน เป็นต้น " [การทูต] | full dress uniform with sash and decoration | เครื่องแบบเต็มยศ ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด (ข้าราชการพลเรือน) [การทูต] | full dress uniform with sash and decoration without sword | เครื่องแบบเต็มยศ ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด งดคาดกระบี่ (ข้าราชการทหารตำรวจ) [การทูต] | National Holiday | วันชาติ คือสถานเอกอัครราชทูตทีมีอยู่ทั่วโลก จะนิยมฉลองวันชาติของประเทศของตน ส่วนมากจะถือเอาวันครบรอบปีแห่งการประกาศเอกราช หรือวันครบรอบปีของเหตุการณ์ที่ทรงความสำคัญอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ของ ประเทศตนเป็นวันชาติ ส่วนในประเทศที่มีระบอบกษัตริย์ ก็จะยึดเอาวันพระราชสมภพชองกษัตริย์หรือราชินีเป็นวันชาติของประเทศ ในวันชาติ สถานเอกอัครราชทูตจะมีธรรมเนียมจัดงานเลี้ยงรับรอง (Reception) ขึ้นในสถานเอกอัครราชทูตของตนหรือหากเป็นการไม่สะดวกที่จัดงานดังกล่าวขึ้น ในสถานทูต ก็มักไปจัดกัน ณ โรงแรมที่เหมาะสม ในงานเลี้ยงรับรองนี้จะเชิญข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในกระทรวงการต่างประทเศ หัวหน้าคณะทูตข้าราชการในสถานเอกอัครราชทูตอื่น ๆ นักหนังสือพิมพ์ เจ้าหน้าที่สื่อมวลชน บุคคลชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม บรรดาคนชาติเดียวกับเอกอัครราชทูตที่กำลังอาศัยอยู่ในประเทศนั้น ตลอดจนบุคคลสำคัญในสังคม รวมทั้งมิตรสหายของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่สมควรเชิญ [การทูต] | Passport | หนังสือเดินทาง คือเอกสารทางราชการที่ใช้แสดงตัวและสัญชาติ ซึ่งทางราชการออกให้แก่บุคคลที่จะเดินทางไป หรือพำนักอยู่ชั่วคราวในต่างประเทศเมื่อสมัยก่อนสงครามโลกทั้งสองครั้ง ประเทศต่าง ๆ มิได้ขอให้คนต่างด้าวที่จะเข้าไปในประเทศของตนต้องมีหนังสือเดินทาง มีการเริ่มใช้หนังสือเดินทางอย่างแพร่หลายก็ในระยะหลังสงครามดังกล่าว ทุกวันนี้ ประเทศส่วนมากในโลกต่างต้องการให้คนต่างด้าวที่จะเดินทางเข้าไปในดินแดนของ ตนมีหนังสือเดินทางซึ่งได้รับการตรวจลงตรา (Visa) โดยถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนเสียก่อน อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ประเทศส่วนมากได้มอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนในต่าง ประเทศเป็นผู้ออกหนังสือเดินทางได้ด้วยหนังสือเดินทางที่ใช้กันในปัจจุบันมี อยู่หลายประเภทอันได้แก่1. หนังสือเดินทางทูต (Diplomatic passports ) ออกให้แก่ผู้ที่มีตำแหน่งเอกอัครราชทูต อัครราชทูต เจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งทางการทูต รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น2. หนังสือเดินทางพิเศษ (Special passports) ออกให้ แก่ข้าราชการที่ไม่มีสถานะทางการทูต และบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น3. หนังสือเดินทางธรรมดา ( Regular passports ) ออกให้แก่บุคคลธรรมดา (Private persons) ซึ่งมีสิทธิจะขอหนังสือเดินทางดังกล่าวได้ตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของ ประเทศของตนมีบางประเทศได้ออกหนังสือเดินทางประเภทอื่น นอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาข้างต้นด้วยเหตุผลเฉพาะ เช่น ภายใต้ระบบของสหรัฐอเมริกา มีการออกหนังสือเดินทางที่เรียกว่า1. หนังสือเดินทางบริการ (Service passports) ออกให้แก่คนอเมริกัน หรือชนชาติที่สวามิภักดิ์ต่อสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในต่างประเทศ2. หนังสือเดินทางบุคคลในครอบครัว (Dependent passports) ออกให้แก่บุคคลที่ถือหนังสือเดินทางนี้ในกรณีที่เดินทางไปชั่วคราว หรือพำนักอยู่นาน ๆ ในต่างประเทศในฐานะที่เป็นบุคคลในครอบครัวของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ หรือพลเรือนอเมริกันที่ยังรับราชการอยู่นอกเขตประเทศสหรัฐอเมริกา [การทูต] | suite of honour | คณะผู้ติดตามเกียรติยศ - สำหรับการเยือนอย่างเป็นทางการระดับประมุขของรัฐ จะประกอบด้วย ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่ประมุขของรัฐจัดให้มาประจำประมุขของรัฐผู้มาเยือน - สำหรับการเยือนอย่างเป็นทางการระดับหัวหน้ารัฐบาล จะประกอบด้วย รัฐมนตรีเกียรติยศ เอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศผู้มาเยือน อธิบดีกรมพิธีการทูต พร้อมทั้งนายทหารเกียรติยศ ในกรณีที่ผู้มาเยือนมีคู่สมรส ก็จะเพิ่มคู่สมรสของคณะผู้ติดตามเกียรติยศ และนายตำรวจหญิงประจำ ตลอดการเยือน [การทูต] | The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] | Visa | การตรวจลงตรา กล่าวคือ เป็นเครื่องหมายแสดงการรับรองที่ประทับอยู่ในหนังสือเดินทางว่า หนังสือเดินทางฉบับนั้นได้รับการตรวจตราแล้ว ในกรณีที่ผู้ถือหนังสือดังกล่าวยื่นขอเดินทางเข้าไปในประเทศที่ให้การตรวจลง ตรา และทุกอย่างถูกต้องจึงให้ผู้นั้นเดินทางไปยังประเทศดังกล่าวได้อนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ของวรรค D ว่า หน้าที่ทางกงสุลข้อหนึ่งคือ ?ออกหนังสือเดินทางและเอกสารเดินทางให้แก่คนชาติของรัฐผู้ส่ง และตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่ง?พึง เข้าใจว่า แม้หนังสือเดินทางจะได้รับการตรวจลงตราแล้วก็ตาม ก็มิได้เป็นการประกันร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ผู้ถือหนังสือนั้นจะได้รับการยินยอมให้เดินทางเข้าไปในรัฐที่ให้การตรวจลง ตรา คือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองในรัฐนั้นอาจห้ามมิให้เข้าประเทศได้ ทั้ง ๆ ที่ได้รับการตรวจตราแล้วก็ตาม แต่การกระทำเช่นนี้เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมากการตรวจลงตราหรือวีซ่านั้น แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ1) การตรวจลงตราทางการทูต ซึ่งออกให้แก่บุคคลในคณะทูตและกงสุล รวมทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของต่างประเทศ2) การตรวจลงตราทางราชการ ออกให้แก่ข้าราชการที่ไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) ซึ่งจะเดินทางไปธุระราชการ และ3) การตรวจลงตราธรรมดา ออกให้แก่บุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) และ 2) มีหลายประเทศได้ให้การตรวจลงตราชั่วคราว การตรวจลงตราสำหรับลูกเรือเดินทะเล การตรวจลงตราสำหรับพ่อค้าต่างประเทศ การตรวจลงตราสำหรับนักศึกษา และการตรวจลงตราสำหรับผู้อพยพลี้ภัย เป็นต้น [การทูต] | working uniform | " สำหรับข้าราชการพลเรือน หมายถึง เครื่องแบบปกติสีกากี คอพับ แขนยาว สำหรับข้าราชการตำรวจ/ทหาร หมายถึง เครื่องแบบปกติ คอพับ สีตามเหล่าทัพ " [การทูต] |
| Look at that star, hoo-ee! Civil service! | ดูดาวนี่สิ ข้าราชการ Blazing Saddles (1974) | You don't want to waste your life as the wife of some bureaucrat | คุณไม่ควรใช้ชีวิตอย่างเปล่าประโยชน์ เป็นเมียข้าราชการ... Crouching Tiger, Hidden Dragon (2000) | Tatsi, all day long I work to please this officer, that diplomat, some tourist, to store up favors so if there is a time when we need help, | ด้วยงานของผมที่ทำมานาน การเอาใจพวกข้าราชการ นักท่องเที่ยวให้เค้าโปรดปรานเรา เพราะอย่างงั้นถึีงเวลาที่ เราต้องการความช่วยเหลือ Hotel Rwanda (2004) | How can you speak that way when you're a civil servant? | ทำไมแกถึงพูดอย่างนั้นทั้งที่เป็นข้าราชการ Sweet 18 (2004) | Get them, the local elected officials, take them all to the shelters in those orders. | ส่งพวกข้าราชการท้องถิ่น ให้นำบุคคลพวกนั้นไป ที่หลบภัย ตามคำสั่งนี้ Pilot (2004) | I told you to call me an offical. | เรียกชั้นว่า "ข้าราชการ" สิ Episode #1.1 (2006) | So much for relying on the government. | พอกันที เลิกหวังพึ่งพวกข้าราชการดีกว่า Monster House (2006) | Yeah, I know. I hate the government. | ใช่ ชั้นรู้ ชั้นเกลียดพวกข้าราชการ Monster House (2006) | Twenty years ago, in 1960 our federal government payroll was less than $13 billion. | เมื่อ 20 ปีก่อน ในปี 1960... เงินเดือนข้าราชการไม่ถึง 13 หมื่นล้าน The Pursuit of Happyness (2006) | I just thought that since everyone are fellow government workers. | ฉันคิดว่าทุกคนนั้นต่างก็เป็นข้าราชการ Sweet Spy (2005) | They say you're responsible and that you're a person who stands up for justice! | แล้วยังเป็นข้าราชการที่เต็มไปด้วยความเป็นธรรม! Sassy Girl, Chun-hyang (2005) | We're both loyal civil servants. | เราเป็นข้าราชการตงฉิน There's Something About Harry (2007) | Her brother lee cho's a low-level bureaucrat from beijing. | ลี โช น้องเธอ ข้าราชการระดับล่างจากปักกิ่ง Chuck Versus the Sizzling Shrimp (2007) | You know how government work pays. Dude, yeah. | - นายก็รู้เงินเดือนข้าราชการมัน... Chuck Versus the Sandworm (2007) | That's why the virus shut us down, so we can't coordinate against their next attack, which I would bet my ridiculous government salary is coming soon. | ไวรัส ก็เลยปิดระบบ เราไม่สามารถประสานการปฏิบัติงาน เพื่อรับมือมันได้ และผมขอเอาเงินเดือนข้าราชการอันน้อยนิด เดิมพันได้เลยว่า ใกล้แล้ว Transformers (2007) | You talk just like a civil servant! | แกพูดยังกะข้าราชการ Departures (2008) | If you wanna kill a public servant, Mr. Maroni, I recommend you buy American. | ถ้าคุณอยากจะฆ่าข้าราชการนะ คุณมาโรนี่ ผมแนะนำให่ซื้อของอเมริกัน The Dark Knight (2008) | I told them already. You're just another suit. | ข้าราชการอย่างคุณไม่มีทางเชื่อผมหรอก Jumper (2008) | I know; | ผมรู้ แหล่งข่าวของผมบอกว่า คณะกรรมการข้าราชการตำรวจ Changeling (2008) | But it begins with that bureaucrat. | แต่มันเริ่มมาจากข้าราชการนั่น Five the Hard Way (2008) | Another bureaucrat. | พวกข้าราชการ Chapter Three 'Building 26' (2009) | Nobody here but us servantless American cooks. | ไม่มีใครเลย นอกจากกุ๊กข้าราชการสาวชาวอเมริกัน Julie & Julia (2009) | "Servantless American cooks." | "กุ๊กข้าราชการสาวชาวอเมริกัน" Julie & Julia (2009) | How the hell do you know that? | เอ่อ ผมได้คุยกับคนรู้จักที่เป็นข้าราชการอยุ่ Trust Me (2009) | What you're passing off as bureaucratic concern looks an awful lot like a personal vendetta, and if you push it, | ไอ่สิ่งที่คุณกำลังทำเหมือนว่าเป็นเรื่องน่ากังวลของข้าราชการหนะ ดูมันทุเรศเหมือนความแค้นส่วนตัวยังไงยังงั้น ถ้าคุณยังไม่หยุด The No-Brainer (2009) | And have little patience. For small-minded bureaucrats. | และมีความอดทนน้อย ต่อข้าราชการไร้สมอง What Lies Below (2010) | So you're suggesting that the suspects are a group of civil servants and businessmen? | งั้นนายกำลังจะบอก ว่าผู้ต้องสงสัยคือกลุ่ม พวกข้าราชการและนักธุรกิจงั้นเหรอ Bainne (2010) | You've been a great public servant for our country, Ray. | คุณเป็นข้าราชการที่ดี กับประเทศของเรา เรย์ For the Good of Our Country (2010) | Civil servants with a hero complex. | ข้าราชการพลเรือน ที่มีความคิดอยากเป็นฮีโร่ Devil's Night (2010) | About the 10th grade civil servant who becomes the mayor of the city. | ข้าราชการซี 10 ที่ได้กลายเป็นนายกเทศมนตรีของเมือง One (2010) | The young men lost the will to study. | ข้าราชการที่จำเป็นต้องหยุดการศึกษาของพวกเขา Episode #1.1 (2010) | Imitating a Robin Hood figure who robs government offices and wealthy merchants' homes. | การเลียนแบบสัญญลักษณ์โรบินฮูดที่ขโมยของจากบ้าน ข้าราชการและคหบดีผู้มีอันจะกิน Sungkyunkwan Scandal (2010) | What they don't know is many officers who stayed behind in the army of Hubei, Hunan, and Jiangsu, are active members of Tongmenghui and the Restoration League. | แต่สิ่งที่พวกเขายังไม่รู้คือ ข้าราชการหลายคน ที่อยู่เบื้องหลังกองทัพของหูเป่ย หูหนานและเจียงสู 1911 (2011) | I will give up my position in the Qing court, but I do not want to become a revolutionary official. | จะให้ฉันสละตำแหน่งในราชสำนักชิงก็ได้ แต่ฉันไม่อยากเป็นข้าราชการฝ่ายปฏิวัติ 1911 (2011) | The officer is just a little Zhi Maguan | ข้าเป็นเพียงข้าราชการขององค์จักรพรรดิ 3-D Sex and Zen: Extreme Ecstasy (2011) | Yes, sometimes really do not | ข้าเป็นแค่ข้าราชการธรรมดา คุยกับดาบไม่รู้เรื่อง 3-D Sex and Zen: Extreme Ecstasy (2011) | My next guest is a former American intelligence operative who has dared to speak out regarding our alleged military alliance with what many describe as a group of extraterrestrial mercenaries. | แขกคนต่อไปของผมคือ อดีตข้าราชการ เขากล้าพูด เกี่ยวกับพันธมิตรของกองทัพซึ่งเขาบอกว่า Transformers: Dark of the Moon (2011) | Former special agent, Seymour Simmons. | อดีตข้าราชการพิเศษ เซมัวร์ ซิมมอน Transformers: Dark of the Moon (2011) | Government workers. People that work at hospitals. | ข้าราชการรัฐ/N ผู้คนที่ทำงานใน รพ. Contagion (2011) | Servants being like belts and purses | ข้าราชการเป็นเหมือนเข็มขัดและกระเป๋า While You Weren't Sleeping (2011) | We've got pensioners, public servants. | แต่มีผู้รับเงินบำนาญ ข้าราชการ Taking Account (2011) | But not for the government. | แต่เราจะไม่ยอมพลีชีพเพื่อช่วย ข้าราชการระดับสูงแสวงหาอำนาจ Episode #1.1 (2011) | His father is high ranking in the Politburo. | พ่อของเขาเป็นข้าราชการระดับสูง World Leader Pretend (2011) | HE'S A BUREAUCRAT. | เขาเป็นข้าราชการ Skyfall (2012) | I've been making friends with the town's civil servants. | กับข้าราชการในเมือง The Ties That Bind (2012) | 101-4, Government Bungalows, Hill Road? | 101-4, บ้านพักข้าราชการ, ถนนฮิล Barfi! (2012) | What's his occupation? | { \pos(320, 435)เขาทำงานอะไร? { \pos(320, 470)เขาเป็นข้าราชการ To tsuki to oka (2012) | My parents might not have liked Ian, but he still had it over a civil servant. | พ่อแม่ของฉันอาจจะไม่ได้ชอบเอียน แต่เขาก็ยังดีกว่าเป็นข้าราชการ Kingdom of the Blind (2012) | Nice chunk of change for a public employee. | เป็นเงินก้อนโตทีเดียว สำหรับเงินเดือนข้าราชการ Firewall (2012) | And my other brother, he's the commissioner. | และพี่ชายของอื่น ๆ ของฉัน เขาเป็นข้าราชการ Grudge Match (2013) |
| อดีตข้าราชการตำรวจ | [adīt khārātchakān tamrūat] (n, exp) FR: ancien fonctionnaire de police [ m ] | บัตรประจำตัวข้าราชการ | [bat prajamtūa khārātchakān] (n, exp) EN: official identification card | กรรมการข้าราชการส่วนจังหวัด | [kammakān khārātchakān suan jangwat] (n, exp) EN: provincial selectman | ข้าราชการ | [khārātchakān] (n) EN: government officer ; government employee ; civil servant ; public servant FR: fonctionnaire (de l'État) [ m, f ] ; agent de l'État [ m ] ; serviteur de l'État [ m ] (litt.) | ข้าราชการชั้นสูง | [khārātchakān chan sūng] (n, exp) EN: high ranking civil servant ; high-ranking civil servant FR: fonctionnaire de haut rang [ m ] ; haut fonctionnaire [ m ] | ข้าราชการชั้นกระจอก | [khārātchakān chan krajøk] (n, exp) EN: petty official FR: fonctionnaire subalterne [ m ] | ข้าราชการบำนาญ | [khārātchakān bamnān] (n, exp) FR: fonctionnaire retraité [ m ] | ข้าราชการเกษียณอายุ | [khārātchakān kasīen-āyu] (n, exp) FR: fonctionnaire retraité b[ m ] | ข้าราชการสถานทูต | [khārātchakān sathānthūt] (n) EN: diplomat FR: diplomate [ m, f ] | ข้าราชการตำรวจ | [khārātchakān tamrūat] (n, exp) FR: fonctionnaire de police [ m, f ] | ข้าราชการวิสามัญ | [khārātchakān wisāman] (n, exp) EN: temporary government employee FR: agent temporaire de la fonction publique [ m ] ; fonctionnaire temporaire [ m ] | กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ | [Køngthun Bamnet Bamnān Khārātchakān] (n, prop) EN: Government Pension Fund (GPF) | กฎหมายว่าด้วยระเบียบวินัยข้าราชการ | [kotmāi wādūay rabīep winai khārātchakān] (n, exp) EN: disciplinary code |
| | bureaucrat | (n) ข้าราชการ | bureaucratic | (adj) เกี่ยวกับข้าราชการและกฎระเบียบต่างๆ | courtier | (n) ข้าราชการในสำนัก, See also: ข้าราชบริพาร, ผู้จงรักภักดี, มหาดเล็ก | government official | (n) ข้าราชการ, See also: เจ้าหน้าที่ราชการ, เจ้าหน้าที่รัฐบาล, Syn. commissioner | mandarin | (n) ข้าราชการพลเรือน (ระดับสูง), Syn. bureaucrat | mandarinism | (n) การเป็นข้าราชการระดับสูงของจีน | minion | (n) ข้าราชการผู้น้อย, See also: เจ้าหน้าที่ชั้นผู้น้อย, ลูกน้อง | office-bearer | (n) เจ้าหน้าที่รัฐบาล, See also: ข้าราชการ, Syn. office-holder | officialdom | (n) ข้าราชการ | pasha | (n) ตำแหน่งข้าราชการระดับสูงในตุรกีและกลุ่มตะวันออกกลาง | public servant | (n) ข้าราชการ (ทั้งข้าราชการประจำและข้าราชการการเมือง) | reeve | (n) ข้าราชการระดับสูง, Syn. sheriff | paper-pusher | (sl) ข้าราชการ, See also: ผู้ทำงานในสำนักงาน, เสมียน | pencil-pusher | (sl) ข้าราชการ, See also: ผู้ทำงานในสำนักงาน, เสมียน | wonk | (sl) ข้าราชการ | servant | (n) ลูกจ้าง, See also: ข้าราชการ, Syn. public servant, civil servant | yamen | (n) ที่พักหรือที่ทำการข้าราชการในจีน (จีนสมัยปกครองด้วยกษัตริย์) |
| brass | (บราส) n. ทองเหลือง, ผลิตภัณฑ์ทองเหลือง, เครื่องดนตรีประเภทTrumpet, ความทะลึ่ง, ความหน้าด้าน, ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่, เงินทหารชั้นผู้ใหญ่ adj. เกี่ยวกับทองเหลือง, See also: brassish adj., Syn. effrontery | broom | (บรูม) { broomed, brooming, brooms } n. ไม้กวาด, ข้าราชการที่รับตำแหน่งใหม่ vt. ปัดกวาด, See also: broomy, adj. | bureaucracy | (บิวรอค'ระซี) n. การปกครองระบบเจ้าขุนมูลนาย, กลุ่มของข้าราชการ, กลุ่มของนักบริหาร, ระบบบริหารที่มีพิธีรีตองมากเกินไป, Syn. civil service, red tape | civil marriage | n. การสมรสที่กระทำพิธีโดยข้าราชการ (แทนที่จะเป็นพระ) | civil servant | n. ข้าราชการ | government man | ข้าราชการ, เจ้าหน้าที่รัฐบาล | job holder | n. ผู้มีงานทำ, ผู้มีอาชีพ, ข้าราชการ | malversation | (แมลเวอเซ'เชิน) n. ความประพฤติที่ไม่สมควรของข้าราชการ, ฉ้อราษฎร์บังหลวง | office-bearer | (ออด'ฟิซแบ'เรอะ) n. ข้าราชการ | official | (อะฟิช'เชิล) n. ข้าราชการ, เจ้าพนักงาน adj. เป็นทางการ | officialdom | (อะฟิช'เชิลดัม) n. วงการข้าราชการ | pasha | n. ชื่อตำแหน่งข้าราชการชั้นสูงของตุรกีสมัยก่อน | public servant | n. ข้าราชการ, ผู้รับใช้ประชาชน | public service | n. การบริการสาธารณะ, การบริหารประชาชน, กิจการของข้าราชการ | servant | (เซอ'เวินทฺ) n. คนใช้, คนรับใช้, คนปรนนิบัติ, คนบริการ, ลูกจ้าง, ข้า, ข้าราชการ, ทาส, Syn. housekeeper, maid, butler | supernumerary | (ซูเพอนู'เมอเรอรี่) adj. เกิน, มากเกิน, มีจำนวนเกิน, จำนวนพิเศษ, เป็นตัวสำรอง. n. สิ่งที่เกิน, สิ่งที่สำรองไว้เป็นพิเศษ, สิ่งที่มีไว้เพื่อเวลาจำเป็น, ข้าราชการพิเศษ, คนงานพิเศษ, นักการ, Syn. extra |
| bureaucratic | (adj) เกี่ยวกับข้าราชการ, ของข้าราชการ, เกี่ยวกับเจ้าขุนมูลนาย | CIVIL civil servant | (n) ข้าราชการพลเรือน | minion | (n) บ่าว, คนรับใช้, คนรัก, สมุน, ข้าราชการผู้น้อย, ผู้แทน | official | (n) เจ้าหน้าที่, ข้าราชการ, เจ้าพนักงาน | PUBLIC public servant | (n) ข้าราชการ | suite | (n) อันดับ, บริวาร, ห้องชุด, คณะ, ข้าราชการ, ชุดเครื่องเรือน |
| *dress code* | [ดฺ แร็ดสฺ โขดฺ - เน้นเสียงที่คำแรก] dress code คือ กฎระเบียบการแต่งกายตามจารึตประเพณีนิมยมของสังคมหนึ่งๆ เช่น การใส่ชุดฟอร์มนักเรียนนักศึกษาไทย ชุดข้าราชการไทย การแต่งกายเวลาเข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ไทย การแต่งกายไปร่วมพระราชพิธีต่างๆ การแต่งกายแบบสากลนิยมตามงานราตรีสโมสร หรือตามที่เจ้าภาพได้กำหนดไว้ เป็นต้น ตัวอย่าง 1. To attend a gala dinner at the Oriental Hotel, the dress code is strict - black tie only. การไปรับประทานอาหารเย็นที่โรงแรมโอแรนเต็ลนั้น กฎระเบียบการแต่งตัวนั้นเข้มงวดมาก คือ ต้องชุดราตรีสโมสรเท่านั้น 2. Thai students have a very strict dress code when they go to school. นักเรียนไทยต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการแต่งกายตอนไปเรียนอย่างเคร่งครัด | Chief Secretary | (n) เสนาเอก เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในอาณานิคมของสหราชอาณาจักร | Deputy Governor | รองข้าหลวง เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในดินแดนของสหราชอาณาจักร ตำแหน่งนี้ปรากฎเฉพาะอาณานิคมในทวีปอเมริกาเหนือ เทียบได้ตำแหน่งผู้ช่วยข้าหลวง (Lieutenant-Governor) ในอาณานิคมอื่นๆ | Lieutenant-Governor | ผู้แทนข้าหลวง เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในดินแดนของสหราชอาณาจักร | regular officer remuneration | เงินตอบแทนข้าราชการประจำตำแหน่ง |
| 教官 | [きょうかん, kyoukan] (n) ข้าราชการที่ทำหน้าที่เป็นอาจารย์ในโรงเรียนหรือสถาบันของรัฐ |
| 公務員 | [こうむいん, koumuin] (n) ข้าราชการ | 公式 | [こうしき, koushiki, koushiki , koushiki] (n, adj) สูตร, กฎ, เกณฑ์, หลัก, มาตรฐาน, รูปแบบ, แผ่น, ตำรับ, ตำรา , ข้าราชการ, เจ้าพนักงาน adj. เป็นทางการ, ระเบียบ, ระเบียบแบบแผน, พิธีรีตอง, ความเคร่งครัดในระเบียบ, ความเข้มงวด, ธรรมเนียมปฏิบัติ |
| 官僚 | [かんりょう, kanryou] TH: ข้าราชการ EN: bureaucrat |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |