มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ dyslexia, dyslexie | (n) เวลานี้คนจะเรียกเป็น LD มาจากคำว่า Learning disorder คือความบกพร่องทางทักษะทางการเรียนรู้ |
|
| การเรียนรู้ | (n) learning, See also: acquisition of knowledge, Syn. การศึกษา, การเรียน, การเล่าเรียน, Example: พฤติกรรมของสัตว์มีความยืดหยุ่น สามารถดัดแปลงได้โดยการเรียนรู้ภายหลัง, Thai Definition: การศึกษาเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ หรือความชำนาญ | กระบวนการเรียนรู้ | (n) learning process, Example: ผู้เรียนจะได้สัมผัสกับกระบวนการเรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสทางหูทางตาจากวีดิทัศน์, Count Unit: กระบวนการ, Thai Definition: กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรืออารมณ์ ที่เป็นผลของการฝึกอบรมหรือประสบการณ์ |
| กระดิกหู | เข้าใจดี, รู้เรื่องดี, ใช้กับการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ภาษาอังกฤษฉันกระดิกหูเสียที่ไหนถึงจะให้ไปทำงานบ้านฝรั่ง. | กิจกรรม | น. การที่ผู้เรียนปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อการเรียนรู้ | ทัศนศึกษา | น. การเรียนรู้ด้วยการดูการเห็น, การศึกษานอกสถานที่. | ปัญญาอ่อน | น. ภาวะที่มีระดับสติปัญญาด้อยหรือตํ่ากว่าปรกติ มักมีสาเหตุเกิดขึ้นในระหว่างพัฒนาการ ทำให้เด็กมีความสามารถจำกัดในด้านการเรียนรู้และมีพฤติกรรมปรับตัวไม่อยู่ในระดับที่ควรเป็น. | วัดผล | ก. ทดสอบเพื่อวัดเชาวน์ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ บุคลิกภาพ เป็นต้น โดยใช้วิธีการแบบใดแบบหนึ่ง เช่น การเรียนรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ จำเป็นจะต้องวัดผลอย่างสม่ำเสมอ. | ศิลปะพื้นบ้าน | น. ศิลปะแขนงต่าง ๆ เช่น วรรณกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม นาฏศิลป์ หัตถกรรม ที่ชาวบ้านได้สร้างสรรค์ขึ้นจากการเรียนรู้และฝึกปรือในครอบครัวหรือในหมู่บ้าน เป็นงานสร้างสรรค์ของสังคมชาวบ้าน และได้พัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่องกันมาหลายชั่วคน. |
| Instructional Media | สื่อการเรียนการสอน, คำนี้นักการศึกษาบางท่านใช้คำว่า "สื่อการเรียน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ ที่เรานำมาใช้นั้นเพื่อการศึกษา หรือเพื่อช่วยในการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่วนนักการศึกษาบางท่านจะใช้คำ "สื่อการสอน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ นั้น เป็นตัวถ่ายทอดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน<br />สื่อการเรียนการสอนนี้ ได้มีนักการศึกษาได้ให้ความหมาย หรือคำจำกัดความไว้หลายท่านด้วยกัน แต่พอจะสรุปความได้คือ "สื่อการเรียนการสอน" หมายถึง วัสดุ เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการต่างๆ ที่จะเป็นตัวช่วยถ่ายทอดความรู้ จากแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน [เทคโนโลยีการศึกษา] | Self Learning Processes | กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง [เทคโนโลยีการศึกษา] | Participation Processes | กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม [เทคโนโลยีการศึกษา] | Assessment of Learning Outcomes | การวัดผลการเรียนรู้ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Learning organization | การเรียนรู้องค์การ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Learning organization | การเรียนรู้องค์การ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Learning organization | องค์กรแห่งการเรียนรู้ [การจัดการความรู้] | Learning | การเรียนรู้ [การจัดการความรู้] | Community of practice | ชุมชนนักปฏิบัติ, ชุมชนนักปฏิบัติ นอกจากนี้ยังมีการใช้ในความหมาย ชุมชนแห่งการเรียนรู้, ชุมชนแนวปฏิบัติ [การจัดการความรู้] | Safety culture | วัฒนธรรมความปลอดภัย, พฤติกรรมขององค์กรและบุคคลในองค์กร ที่สะท้อนการได้รับการปลูกจิตสำนึกด้านความปลอดภัย ทั้งจากการอบรม การเรียนรู้และการถ่ายทอด จนเกิดเป็นนิสัยและเจตคติที่ให้ความสำคัญต่อการระวังป้องกันเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ตัวอย่างเช่น ผู้ปฏิบัติงานทางนิวเคลียร์และรังสี ย่อมรู้ดีว่าจะต้องใช้อุปกรณ์ใดบ้างเพื่อให้เกิดความปลอดภัย เช่น ต้องติดมาตรปริมาณรับรังสี ต้องใช้เครื่องมือหยิบจับสารกัมมันตรังสี มีวัสดุและอุปกรณ์กำบังรังสีที่พอเพียง รวมทั้งการสวมแว่นตาและหน้ากากกันไอระเหย ให้เหมาะสมตามลักษณะของงาน [นิวเคลียร์] | Personal Mastery | การเรียนรู้ของสมาชิกในองค์การ [การจัดการความรู้] | Team Learning | การเรียนรู้เป็นทีม [การจัดการความรู้] | Edutainment | โปรแกรมการเรียนรู้เชิงบันเทิง, การจัดการเรียนรู้ผ่านสื่อที่ให้ผู้เรียนได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน อาจเป็น รูปแบบของเกมเพื่อความบันเทิงผ่านมัลติมีเดีย แต่มีเนื้อหาเป็นความรู้ที่เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์ [Assistive Technology] | interactive learning | การเรียนแบบโต้ตอบสองทาง, การเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ ผู้เรียนสามารถควบคุมสิ่งที่จะเกิดขึ้นในการเรียนการสอนตามความต้องการของตนเอง ตรงข้ามกับการสอนในชั้นเรียนซึ่งมักจะเป็นการสื่อสารข้างเดียว [Assistive Technology] | interactive media | สื่อเชิงโต้ตอบ, สื่อที่ผู้ใช้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบได้ เช่น หยุด เล่นซ้ำ หาหัวเรื่องใหม่ ตอบคำถามเพื่อเดินเรื่องไปตามจังหวะที่ผู้รับต้องการ เหมาะสำหรับการเรียนรู้ และการศึกษารายบุคคลตามความถนัดและความสนใจ [Assistive Technology] | Picture Vocabulary Program | โปรแกรมภาพคำศัพท์, ซอฟต์แวร์ช่วยในการเรียนรู้ของเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ประกอบด้วยคำศัพท์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมรูปภาพ [Assistive Technology] | Virtual university | มหาวิทยาลัยเสมือนจริง, มหาวิทยาลัยเสมือนจริง คือ การศึกษาแนวใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ที่มีลักษณะเป็นการสร้างฐานความรู้ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Learning Organization) ที่ใครก็ได้สามารถเรียนรู้จากแหล่งใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้ [Assistive Technology] | Acquisition | การเรียนรู้ [TU Subject Heading] | Adult learning | การเรียนรู้ของผู้ใหญ่ [TU Subject Heading] | Concept learning | การเรียนรู้ด้านมโนภาพ [TU Subject Heading] | Human information processing | กระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์ [TU Subject Heading] | Learning disabled children | เด็กที่มีปัญหาในการเรียนรู้ [TU Subject Heading] | Learning disorders ; Learning disabilities | ความบกพร่องในการเรียนรู้ [TU Subject Heading] | Learning strategies | ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ [TU Subject Heading] | Learning, Psychology of | จิตวิทยาการเรียนรู้ [TU Subject Heading] | Machine learning | การเรียนรู้ของเครื่อง [TU Subject Heading] | Social learning | การเรียนรู้เชิงสังคม [TU Subject Heading] | Student-centered learning | การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง [TU Subject Heading] | Knowledge Society | สังคมแห่งการเรียนรู้ [การจัดการความรู้] | Adaptive Learning | การเรียนรู้เชิงปรับตัว [การจัดการความรู้] | Anticipatory Learning | การเรียนรู้เชิงคาดการณ์ [การจัดการความรู้] | Action Learning | การเรียนรู้เชิงปฏิบัติ [การจัดการความรู้] | Continuous Learning | การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง [การจัดการความรู้] | Cognition | การจดจำวัตถุด้วยการเรียนรู้, การรู้, พุทธิปัญญาความรู้, ความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ, การมีความรู้ความเข้าใจ, สติปัญญาความรู้ [การแพทย์] | Community Base System | ชุมชนเป็นฐาน, การเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน [การแพทย์] | Concept Learning | การเรียนความคิดรวบยอด, การเรียนรู้ความคิดรวบยอด [การแพทย์] | Conditioning | การเตรียมตัว, การเรียนรู้โดยการฝึก, เงื่อนไข [การแพทย์] | Decision Making, Intuitive | การตัดสินใจโดยอาศัยการเรียนรู้ [การแพทย์] | Education | การเรียนรู้, การศึกษา, การให้การศึกษา [การแพทย์] | Individual learning | การเรียนรู้ของปัจเจกบุคคล [การจัดการความรู้] | Group learning | การเรียนรู้ของกลุ่ม [การจัดการความรู้] | Organizational learning | การเรียนรู้ขององค์กร [การจัดการความรู้] | self-direacted learning | การเรียนรู้แบบชี้นำตนเอง [การจัดการความรู้] | Deutero learning | การเรียนรู้ถึงแก่นแท้ [การจัดการความรู้] | Knowledge culture | วัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ [การจัดการความรู้] | Reflective learning | การเรียนรู้แบบพินิจพิเคราะห์ [การจัดการความรู้] | Learning from past experience | การเรียนรู้จากประสบการณ์ในอดีต [การจัดการความรู้] | Just-in-time | การเรียนรู้แบบทันเวลา [การจัดการความรู้] | imprinting | การเรียนรู้แบบฝังใจฝังใจ, พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ครั้งแรกในชีวิต โดยเฉพาะในระยะเยาว์วัย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | conditioning | การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข, พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิดอย่างมีเงื่อนไข คือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้น ๆ ตอบสนองได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| จิตวิทยาการเรียนรู้ | [jittawitthayā kān rīenrū] (n, exp) EN: psychology of learning FR: psychologie de l'apprentissage [ f ] | การประเมินการเรียนรู้ | [kān pramoēn kān rīenrū] (n, exp) EN: learning assessment | การเรียนรู้ | [kān rīenrū] (n) EN: learning ; acquisition of knowledge FR: apprentissage [ m ] ; compréhension [ f ] ; acquisition de connaissances [ f ] | การเรียนรู้เชิงรุก | [kān rīenrū choēng ruk] (n, exp) EN: active learning | กระบวนการเรียนรู้ | [krabūankān rīenrū] (n, exp) EN: learning process FR: processus d'apprentissage [ m ] | กระบวนการเรียนรู้ภาษา | [krabūankān rīenrū phāsā] (n, exp) EN: language learning process FR: processus d'apprentissage de la langue [ m ] | นวัตกรรมการเรียนรู้ | [nawattakam kān rīenrū] (n, exp) EN: learning innovation | หน่วยการเรียนรู้ | [nūay kān rīenrū] (n, exp) FR: module d'enseignement [ m ] ; unité d'enseignement [ m ] | ผลการเรียนรู้ | [phon kān rīenrū] (n, exp) FR: but du cours [ m ] | เสริมการเรียนรู้ | [soēm kān rīenrū] (v, exp) FR: approfondir les connaissances | ศูนย์การเรียนรู้ | [sūn kān rīenrū] (n, exp) EN: learning center FR: centre d'apprentissage [ m ] | ทฤษฎีการเรียนรู้ | [thritsadī kān rīenrū] (n, exp) EN: learning theory FR: théorie de l'apprentissage [ f ] | ทฤษฎีการเรียนรู้จากการคิดอย่างมีเหตุผล | [thritsadī kān rīenrū jāk kān khit yāng mī hētphon] (n, exp) EN: cognitive learning theory |
| computer-based learning | (n) การเรียนรู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อหลัก | engram | (n) การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท เป็นผลมาจากการเรียนรู้โดยร่องรอยของความทรงจำจะถูกบันทึกไว้ |
| | art 2 | (อาร์ทฺ) n. ศิลป, ฝีมือ, อุบาย, เล่ห์กระเท่ห์, เล่ห์เหลี่ยม, ความสามารถ, หลักการหรือวิธีการของการเรียนรู้, ความเชี่ยวชาญในกิจกรรมของมนุษย์, สาขาวิชาที่เกี่ยวกับศิลปศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, Syn. skill, craft, Ant. artlessness, guilelessness | athenaeum | (แอธธินี'อัม) n. สถาบันส่งเสริมการเรียนรู้, ห้องสมุด., Syn. atheneum | comprehension | (คอมพริเฮน'เชิน) n. ความเข้าใจ, ภาวะที่เข้าใจ, ความสามารถเข้าใจ, ความสามารถในการเรียนรู้, การครอบคลุม, การกินความกว้าง, Syn. perception, grasp | computer appreciation | คอมพิวเตอร์วิจักขณ์หมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer education | computer education | คอมพิวเตอร์ศึกษาหมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้ งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer appreciation | computer literacy | การรู้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานหมายถึง การเรียนรู้เพียงเพื่อให้เข้าใจพื้นฐานหรือความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับการทำงาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และการนำเครื่องไปใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ | inclusive or | (อินคลูซีฟ ออร์) และ/หรือเป็นตัวดำเนินการ (operator) ตัวหนึ่งที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ใช้มากในคำสั่งที่เกี่ยวกับการเขียนภาพ ผลลัพธ์ของ inclusive OR จะเห็นได้จากตารางที่แสดง 1 คือจริง (true) และ 0 คือ เท็จ หรือ (false) ถ้าไม่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม ก็ไม่จำเป็นต้องรู้จักคำสั่งนี้ก็ได้ | learned | (เลิร์น'นิด) adj. มีความรู้มาก, คงแก่เรียน, เกี่ยวกับการเรียนรู้., See also: learnedness n. ดูlearned, Syn. erudite, scholarly | learning | (เลิร์น'นิง) n. การเรียนรู้, การศึกษา, ความรู้, การปรับบุคลิกภาพจากการปฏิบัติฝึกฝนหรือประสบการณ์, Syn. education | lisp | ลิสพ์ย่อมาจาก List Programming เป็นชื่อภาษาคอมพิวเตอร์อีกภาษาหนึ่ง ภาษานี้เกิดขึ้นในราว ๆ ต้น ค.ศ.1960 ที่ MIT เพื่องานวิจัยในด้านปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) โปรแกรมที่ใช้ภาษานี้ก็มีประเภทโปรแกรมประมวลผลภาษาธรรมชาติ (natural language) และการเรียนรู้ของคอมพิวเตอร์ในเรื่องของปัญญาประดิษฐ์ | logo | n. รูปแบบที่เป็นสัญลักษณ์, รูปแบบเอกลักษณ์ โลโก (ภาษา) เป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง เขียนขึ้น ไว้โดยมีวัตถุประสงค์ให้เด็ก ๆ ใช้ในการเรียนรู้วิธีใช้คอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นภาษาเชิงสนทนา (conversational language) | mastery | (มาส'เทอรี) n. ความเป็นนาย, อำนาจปกครอง, อำนาจควบคุม, ความเข้าใจ, ความรอบรู้, ชัยชนะ, การเรียนรู้, ความเชี่ยวชาญ | windows | ย่อจากคำเต็มว่า Microsoft Windows เป็นชื่อของโปรแกรมระบบวินโดว์สของบริษัทไมโครซอฟต์ ซึ่งทำงานภายใต้ระบบไมโครซอฟต์ดอส (Microsoft DOS) ที่เขียนโดยบริษัทเดียวกัน ถือว่าเป็นโปรแกรมระบบที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิป 80286 ขึ้นไป สามารถใช้ระบบวินโดว์สได้ ระบบวินโดว์ได้พัฒนาตลอดมา ปัจจุบัน กำลังอยู่ระหว่างหัวเลี้ยวหัวต่อที่จะเปลี่ยนจากวินโดว์ส 3.1 เป็นวินโดว์ส 95 วินโดว์ส 97 และวินโดว์ส 2000 ต่อไป ระบบวินโดว์นี้จะรวมเอาโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ ไว้ให้อย่างพร้อมมูล นอกจากนั้น หลายบริษัทยังสร้างโปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ให้ทำงานบนระบบวินโดว์สนี้ เช่น Aldus PageMaker, Freelance ทุกโปรแกรมจะมีวิธีการใช้พื้นฐานคล้ายคลึงกัน ทำให้ง่ายในการเรียนรู้ เพราะเรียนรู้โปรแกรมหนึ่ง ก็ทำให้มีแนวที่จะเรียนโปรแกรมอื่นง่ายขึ้น ระบบวินโดว์สนี้ จะเน้นในเรื่องการใช้ภาพเป็นสื่อ มีการใช้เมาส์ ใช้เมนู มีรายการเลือกต่าง ๆ ทำให้ผู้ใช้รู้สึกสะดวกขึ้นมาก |
| learning | (n) การเรียน, การเรียนรู้, การศึกษา, ความรู้, การเล่าเรียน | mastery | (n) อำนาจปกครอง, ความเชี่ยวชาญ, การบังคับบัญชา, การเรียนรู้ |
| constructionism | [คันสทรัค'เชินนิซึม] (n) ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอ "ความรู้ไม่ ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing) นอกจากนั้นมองลึกลงไปถึงการพัฒนาการของผู้เรียนในการเรียนรู้ซึ่งจะมี มากกว่าการได้ลงมือปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น " | Dyslexia | (n) ความบกพร่องในการอ่าน หรือ ความบกพร่องในด้านการเรียนรู้ | Inclusive Education | (n) การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น คนพิการ คนด้อยโอกาส คนไร้สัญชาติ คนอพยพ โดยคำนึงถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือระบบการศึกษาแบบปกติ มีจุดมุงหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับความแตกต่าง ความสามารถระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข | self-directed learning | [เซลฟฺ ไดเรคทิด เลิร์น'นิง] (n) การเรียนรู้ด้วยตนเอง |
| 同期データリンク制御 | [どうきデータリンクせいぎょ, douki de^tarinku seigyo] (n) stand for Self-Directed Learning การเรียนรู้ด้วยตนเอง |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |