มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ a secco | [อา-เซ็คโค] (n) จิตรกรรมที่เขียนบนปูนแห้งซี่งเป็นการเขียนจิตรกรรมฝาผนังวิธีหนึ่ง, See also: R. fresco | buon fresco | [บวน เฟรสโค] (n) จิตรกรรมที่เขียนบนปูนเปียกซี่งเป็นการเขียนจิตรกรรมฝาผนังวิธีหนึ่ง, See also: R. fresco | mezzo fresco | [เมซโซ เฟรสโค] (n) จิตรกรรมที่เขียนบนปูนชื้นซี่งเป็นการเขียนจิตรกรรมฝาผนังวิธีหนึ่ง, See also: R. fresco | pentimento | [เพ็นติเม้นโต] (n) พหูพจน์ pentimenti - การเปลี่ยนแปลงงานจิตรกรรมที่ทำโดยจิตรกรที่ทิ้งร่องรอยให้เห็นว่าจิตรกรเปลี่ยนใจในการวางรูปแบบระหว่างการเขียนภาพ (wikipedia.org) |
| dyslexic | (n) " ดิสเลคซิค” (dyslexic-บุคคลที่พร่องความสามารถในการเขียนเป็นคำๆ ปกติแล้วจะสัมพันธ์กับความบกพร่องทางประสาทวิทยา) |
|
| | | กระบอก ๑ | รูปตันที่กำเนิดขึ้นจากการเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยใช้ด้านใดด้านหนึ่งเป็นแกนแล้วหมุนโดยรอบฐาน ปลายทั้ง ๒ ข้างมีหน้าเป็นวงกลม เรียกว่า รูปทรงกระบอก หรือ รูปกระบอก, ลักษณะได้แก่ รูปที่มีสัณฐานกลมยาวและตรงซึ่งมีส่วนสัดกลมเท่ากันตั้งแต่ต้นจนปลาย. (อ. cylinder). | กระหม่อม | คำสำหรับใช้ควบกับคำที่ขึ้นต้นว่า “เกล้า” เช่น ทราบเกล้าทราบกระหม่อม ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ในการเขียนหนังสือใช้ไปยาลน้อยแทนก็ได้ เช่น ทราบเกล้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวาย. | เครื่องหมายวรรคตอน | น. เครื่องหมายต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบในการเขียนข้อความ เช่น จุลภาค (, ) มหัพภาค (.) ปรัศนี (?). | จิตรกรรม | น. ศิลปะประเภทหนึ่งในทัศนศิลป์เกี่ยวกับการเขียนภาพวาดภาพ, รูปภาพที่เขียนหรือวาดขึ้น. | บรรทัด | (บัน-) น. ข้อความที่เขียนหรือพิมพ์ต่อเนื่องกันเป็นแถวเป็นแนวแต่ละแนว เช่น ตัดบรรทัดที่ ๒๐ ออก, ลักษณนามว่า บรรทัด เช่น ให้เขียนเรียงความอย่างน้อย ๕๐ บรรทัด, เรียกตัวหนังสือที่เขียนเต็มช่วงระหว่างเส้นบรรทัด ๒ เส้น ว่า ตัวเต็มบรรทัด, เรียกตัวหนังสือที่เขียนเพียงครึ่งหนึ่งของช่วงระหว่างเส้นบรรทัด ๒ เส้น ว่า ตัวครึ่งบรรทัด, เรียกอุปกรณ์การเขียนชนิดหนึ่งทำด้วยไม้เป็นต้น สำหรับทาบเป็นแนวเพื่อขีดเส้นให้ตรง ว่า ไม้บรรทัด, เรียกเส้นที่ตีหรือพิมพ์ไว้บนกระดาษเป็นต้นเพื่อเขียนหรือพิมพ์ตัวอักษรบนเส้น ใต้เส้น หรือระหว่างเส้น ว่า เส้นบรรทัด. | ปากเปล่า | ก. ว่าโดยไม่ดูตัวหนังสือ เช่น เทศน์ปากเปล่า, เรียกวิธีสอบโดยใช้วาจาแทนการเขียนคำตอบ ว่า สอบปากเปล่า. | ไป | ก. เคลื่อนจากตัวผู้พูด เช่น เขาไปตลาด เขาเข็นเรือไม่ไปเพราะเรือเกยตื้น, ใช้ตรงข้ามกับ มา, เป็นคำประกอบกริยาแสดงทิศทางออกจากตัวผู้พูด เช่น เขาเดินไปโรงเรียน, ในการเขียนจดหมายทางการ ใช้แสดงทิศทางออกจากตัวผู้ที่เขียนถึง เช่น ผมขอให้คุณเดินทางไปหาผมวันอาทิตย์นี้, หรือเป็นคำประกอบกริยามีความหมายว่า เรื่อยไป, ไม่หยุด, เช่น ทำไปกินไป, เป็นคำประกอบท้ายคำวิเศษณ์เพื่อเน้นความหมายให้หนักแน่นยิ่งขึ้น เช่น ขาวไป ช้าไป ดีเกินไป. | พาณิชยศิลป์ | น. ศิลปกรรมประเภทหนึ่งซึ่งสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในด้านธุรกิจการค้าโดยเฉพาะ เช่น ศิลปะในการเขียนภาพโฆษณา ศิลปะในการออกแบบเครื่องแต่งกาย. | มา ๒ | ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย เขาบอกว่าจะมาแล้วไม่มา, ตรงกันข้ามกับ ไป, เป็นคำประกอบกริยาแสดงทิศทางเข้าหาตัวผู้พูด เช่น หันมาทางนี้ เอามานี่, ใช้ในการเขียนจดหมายทางการ ใช้แสดงทิศทางสู่ตัวผู้ที่เขียนถึง เช่น พรุ่งนี้ผมจะมาหาคุณ, ซึ่งเป็นคำประกอบกริยาแสดงอาการที่ต่อเนื่องเรื่อยมาถึงปัจจุบัน เช่น ความเป็นมา อยู่มาวันหนึ่ง ส่งจดหมายบอกข่าวมา. | มือเที่ยง | มีความสามารถในการบังคับมือให้เขียนเส้นตรง เส้นโค้ง หรือลวดลายต่าง ๆ เป็นต้น ได้ตามที่ต้องการ เช่นในการเขียนเส้นตรงได้ตรงเหมือนไม้บรรทัดหรือเขียนวงกลมได้กลมดิกเป็นต้น. | ไม้บรรทัด | น. อุปกรณ์การเขียนชนิดหนึ่งทำด้วยไม้เป็นต้น สำหรับทาบเป็นแนวเพื่อขีดเส้นให้ตรง, (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า บรรทัด. | รดน้ำ | น. วิธีการเขียนจิตรกรรมเป็นลวดลายสีทองบนพื้นลงรักหรือทาชาด เรียกว่า ลายปิดทองรดนํ้า, ต่อมาเรียกสั้นลงเป็น ลายรดนํ้า. | ลิขนะ | (-ขะนะ) น. การขีด, การเขียน. | ลิปิกร, ลิปิการ | น. เสมียน, ผู้เกี่ยวกับการเขียนหนังสือ. | ลีลา | ท่วงทำนอง เช่น ลีลาการพูด ลีลาการเขียน | เลขยะ | (เลขะยะ) น. การเขียน. | เลขา | น. ลาย, รอยเขียน, ตัวอักษร, การเขียน. | เล่นหาง | ว. เรียกลักษณะการเขียนหนังสือที่ตวัดปลายตัวอักษรให้ยาวออกเกินปรกติ ว่า เขียนเล่นหาง, ตวัดหาง ก็ว่า. เรียกลักษณะท่าเต้นของการเชิดสิงโตโดยม้วนตัวงับหางตัวเอง ว่า สิงโตเล่นหาง | วงเล็บเหลี่ยม | น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ ตรี อมาตยกุล ] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[ x + 4 – 3{ x + 5 – 4(x + 1) } ] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [ Ba2+ ][ F−2 ] = 1.05.10−6, Na2[ Fe(Cn)5(NO) ]·2H2O. | วาดเขียน | น. วิชาว่าด้วยการเขียนรูปภาพต่าง ๆ. | สัปดาห์, สัปดาหะ | (สับดา, สับปะดา, สับดาหะ) น. รอบ ๗ วัน เริ่มตั้งแต่วันอาทิตย์ถึงวันเสาร์, ระยะ ๗ วัน เช่น สัปดาห์แห่งการส่งเสริมพระพุทธศาสนา สัปดาห์แห่งการเขียนจดหมาย. | เสมียน | (สะเหฺมียน) น. เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับหนังสือ, (โบ) ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ระดับล่างที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการเขียนหนังสือเป็นต้น. | อักขรวิธี | น. วิธีเขียนและอ่านหนังสือให้ถูกต้อง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยตัวอักษร การอ่าน การเขียน และการใช้ตัวอักษร. | อักขรวิบัติ | น. การเขียน อ่าน หรือออกเสียงไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี. | อักขรสมัย | (อักขะหฺระสะไหฺม) น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน. | อักษรสมัย | (อักสอนสะไหฺม) น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน. |
| | | การเขียน | [kān khīen] (n) EN: writing FR: écriture [ f ] ; rédaction [ f ] | การเขียนบันเทิงคดี | [kān khīen banthoēngkhadī] (n, exp) EN: fiction writing | การเขียนจดหมาย | [kān khīen jotmāi] (n, exp) EN: correspondence FR: correspondance [ f ] ; rédaction d'une lettre [ f ] | การเขียนจดหมายธุรกิจ | [kān khīen jotmāi thurakit] (n, exp) EN: business letter writing FR: correspondance commerciale [ f ] | การเขียนโปรแกรม | [kān khīen prōkraēm] (n, exp) EN: computing programming FR: programmation (informatique) [ f ] | การเขียนสารคดี | [kān khīen sārakhadī] (n, exp) EN: non-fiction writing | ภาษาการเขียนโปรแกรม | [phāsā kān khīen prōkraēm] (n, exp) EN: programming language FR: langage de programmation [ m ] | ระบบการเขียน | [rabop kān khīen] (n, exp) EN: writing system FR: système d'écriture [ m ] | เสรีภาพในการเขียน | [sērīphāp nai kān khīen] (n, exp) EN: liberty of writing ; freedom of writing FR: liberté d'écriture [ f ] | อุปกรณ์การเขียน | [uppakøn kān khīen] (n, exp) EN: stationery FR: articles de bureau [ mpl ] |
| MFC | (name) ย่อมาจากคำว่า Microsoft Foundation Classes เป็นชื่อของชุดโปรแกรมพื้นฐานชุดหนึ่ง ประกอบด้วย class ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ สำหรับใช้เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการ Windows, See also: ATL WTL |
| autobiography | (n) อัตชีวประวัติ, See also: การเขียนชีวประวัติของตนเอง, Syn. personal history, life, self-portrayal | backhand | (n) การเขียนคัดลายมือที่เอนไปทางซ้าย, See also: การคัดลายมือที่หันไปทางซ้าย | balderdash | (n) การเขียนหรือพูดโง่ๆ (คำล้าสมัย), See also: การเขียนหรือพูดไร้สาระ, Syn. bombast, gibberish | clef | (n) สัญลักษณ์ที่ใช้เริ่มในการเขียนโน้ต เพื่อบอกระดับเสียง (เช่น กุญแจซอล) | dictation | (n) การเขียนตามคำบอก | digression | (n) การพูดนอกเรื่อง, See also: การเขียนนอกเรื่อง, การเบี่ยงเบน, Syn. departure, detour, tangent | ditto | (n) เครื่องหมายละ ใช้เมื่อไม่ต้องการเขียนคำๆ นั้นซ้ำอีก, Syn. an identical item, an identity | draughtsmanship | (n) ความชำนาญในการเขียนแบบ, See also: ความชำนาญในการวาดเขียน | effusive | (adj) ซึ่งพรั่งพรูออกมา (อารมณ์, คำพูด, การเขียน), Syn. gushy, unrestrained | engross | (vt) คัดลอกเอกสารโดยการเขียนด้วยตัวหนังสือตัวใหญ่และชัดเจน | F2F | (abbr) คำย่อของ face-to-face (ใช้ในการเขียน e-mail) | FWIW | (abbr) คำย่อของ for what it's worth (ใช้ในการเขียน e-mail) | gemination | (n) การทำซ้ำ, See also: การเขียน / พูดซ้ำ, การทำสำเนา, Syn. duplication, repetition | gimme | (n) วิธีการเขียนวลี give me ในภาษาพูด | graphic | (adj) เกี่ยวกับภาพ, See also: เกี่ยวกับเส้นกราฟ, เกี่ยวกับการเขียน | hand | (n) ลายมือ (การเขียนหนังสือ) | impressionism | (n) ทฤษฏีการเขียนภาพจากความประทับใจ | lobby against | (phrv) พยายามโน้มน้าวคนมีอำนาจไม่ให้อนุมัติกฎหมาย, See also: พยายามวิ่งเต้นเพื่อป้องกันบางสิ่งไม่ให้เกิดขึ้นด้วยวิธีการเขียน, วิธีทางการเมือง | journalese | (n) รูปแบบการเขียนของนักหนังสือพิมพ์ | lexicography | (n) การเขียนหรือทำพจนานุกรม, Syn. dictionary making | literature | (n) การประพันธ์, See also: การเขียนหนังสือ, การแต่งหนังสือ, Syn. literary production | madam | (n) คุณผู้หญิง (คำสุภาพใช้ขึ้นต้นในการเขียนจดหมาย), Syn. Mrs, madam, dame, mam | magic realism | (n) ลักษณะการเขียนแบบผสมผสานเรื่องจริงกับจินตนาการ | magical realism | (n) ลักษณะการเขียนแบบผสมผสานเรื่องจริงกับจินตนาการ | monographic | (adj) เกี่ยวการเขียนเรื่องเพียงเรื่องเดียว | mythography | (n) การเก็บรวบรวมตำนานด้วยการเขียน | mythography | (n) ตำนานที่ถูกเก็บรวมรวมด้วยการเขียน | parody | (n) การเขียนล้อเลียน, See also: การแต่งเพลงล้อเลียน, Syn. caricature, satire, lampoon, travesty, Ant. truth, exactness | pen | (n) ลีลาการเขียน, See also: สำนวนการเขียน | pencil | (n) การเขียนด้วยดินสอ | penmanship | (n) ศิลปะในการเขียนตัวหนังสือ, See also: วิธีเขียนตัวหนังสือ, Syn. calligraphy | programming | (n) กระบวนการเขียนและทดสอบโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ | quirk | (n) การเขียนเล่นหางตัวอักษร | salacious | (adj) ลามก (การเขียน, รูปภาพ), See also: อุจาด, ไม่สุภาพ, Syn. lustful, lecherous, wanton | scrabble | (n) การเขียนอย่างหวัดๆ, See also: การเขียนแบบไก่เขี่ย, Syn. scribble | scribble | (n) การเขียนแบบหวัดๆ, See also: การเขียนแบบไก่เขี่ย | scriptural | (adj) เกี่ยวกับคัมภีร์, See also: เกี่ยวกับคัมภีร์ไบเบิล, เกี่ยวกับการเขียน, Syn. ecclesiastical, canonical, divine | skywritting | (n) การเขียนตัวหนังสือ | slobber | (n) การเขียนหรือพูดแสดงความรู้สึกมากเกินไป | stenography | (n) การเขียนชวเลข | graphy | (suf) เกี่ยวกับรูปแบบหรือกระบวนการทางศิลปะการเขียน การวาด การนำเสนอหรืออื่นๆ | tittle | (n) จุด (ในการเขียนหรือพิมพ์), See also: จุดเครื่องหมาย | writing | (n) การเขียน (ทำเป็นอาชีพ) | write to | (phrv) วางแผนการเขียน (บางสิ่ง) |
| ^ | <คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น | access method | วิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ | aerography | (แอรอก' กระฟี) n การเขียนบรรยากาศเกี่ยวกับอากาศหรือบรรยากาศ. -aerographer n., -aerographic adj. | algol | (แอล' กอล) n. Algo (rithmic) L (anguge) เป็นภาษาหนึ่งในการทำ programming ของระบบคอมพิวเตอร์ ย่อมาจากคำว่า ALGOrithmic Language เป็นภาษาที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม ปัจจุบันนี้ ภาษานี้เกือบจะไม่มีใช้แล้ว เพราะเป็นภาษาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน แต่ก็ถือกันว่าเป็นต้นตระกูลของ ภาษาปาสกาล (Pascal) | algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ | all-purpose computer | คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ | allograph | (แอล' โลกราฟ) n. การเขียนหรือการเซ็นชื่อดดยคนหนึ่งเพื่ออีกคนหนึ่ง | anamorphosis | (แอนนะมอร์ไฟ' ซิส) n. การเขียนภาพที่ผิดจากธรรมชาติ (เช่นจากภาพที่ส่องด้วยกระจก) | anaphora | (อะแนฟ' เฟอระ) n. การเขียนซ้ำคำในตอนแรกเริ่มของโคลงหรืออนุประโยคหรือประโยค | ansi c | (แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ | assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) | authoring system | ระบบการเขียนโปรแกรมหมายถึง ระบบการเขียนโปรแกรมโดยที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านโปรแกรมเลย ผู้เขียนเพียงแต่ใช้ภาษาง่าย ๆ ในรูปแบบเชิงโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์เท่านั้น | authorship | (ออ'เธอชิพ) n. อาชีพการเขียนหนังสือหรือบทความ, แหล่งที่มาของผลงาน | backhand | (แบค'แฮนดฺ) n. การตีลูกบอลทางด้านตรงข้ามกับมือที่ถือไม้ตี, การเขียนไปทางซ้าย, See also: backhandness n. ดูbackhand | base number | เลขฐานหมายถึง จำนวนสัญลักษณ์ที่ ใช้บอกว่าเลขในระบบนั้น ๆ ว่ามีสัญลักษณ์โดด ๆ กี่ตัว เช่น ระบบฐานสิบมีสัญลักษณ์ 10 ตัว ระบบฐานสิบหกมีสัญลักษณ์ 16 ตัว เป็นต้น ในการเขียน มักจะต้องบอกฐานกำกับไว้ด้วยเสมอ | basic | (เบ'ซิค) 1. adj. เกี่ยวกับฐาน, เกี่ยวกับด่าง 2. เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่งใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษาเบสิกนี้เขียนง่าย ๆ เหมาะกับผู้เริ่มต้นเรียน คำว่า BASIC นั้นย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code แปลได้ว่า รหัสคำสั่งที่เป็นสัญลักษณ์เอนกประสงค์สำหรับผู้เริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ เมื่อเริ่มนำออกใช้ใหม่ ๆ ภาษานี้มีข้อจำกัดมาก ในปัจจุบันแม้จะมีการพัฒนาภาษานี้ไปไกลแล้ว แต่นักทำโปรแกรมทั่วไปมักจะดูถูกว่า เป็นภาษาสำหรับผู้เริ่มต้น และไม่นิยมนำมาใช้ในการเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ข้อดีของภาษานี้ก็คือ จะทราบที่ผิดและแก้ไขได้ทันที | bcd | (บีซีดี) ย่อมาจาก binary coded decimal ถ้าแปลตรง ๆ ก็คือ เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง เป็นเทคนิคที่ใช้ใน การเขียนโปรแกรมเพื่อประกันความแม่นตรงของการคำนวณ โปรแกรมประเภท ตารางจัดการ (spreadsheet) มักใช้เทคนิคนี้ | boolean logic | ตรรกะแบบบูลหมายถึง ค่า"จริง" (True) หรือ "ไม่จริง " (False) ใช้มากในการเขียนโปรแกรม เป็นหลัก พิชคณิต ที่ตั้งตามชื่อของผู้คิด คือ ยอร์ช บูล (George Boole) หลักทั่วไปคล้ายพิชคณิต ธรรมดา แต่ใช้ระบบเลขฐานสอง | c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม | caret | ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>หมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น | caricature | (แค'ระคะเชอะ) { caricatured, caricaturing, caricatures } n. ภาพล้อ, ภาพล้อบุคคล, การ์ตูนล้อเลียน, ศิลปะการเขียนภาพล้อเลียน vt. เขียนภาพหรือการ์ตูนล้อเลียน, Syn. travesty | ccp | (ซีซีพี) ย่อมาจาก Certificate in Computer Programming หมายถึงประกาศนียบัตรที่ให้แก่ผู้ที่สอบผ่านความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม การสอบนี้จะทำปีละ 1 ครั้งในประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา ฯ | charactery | n. ตัวอักษรหรือเครื่องหมายการพิมพ์หรือการเขียนทั้งหลาย | circumscription | (เซอคัมสคริพ'เชิน) n. การเขียนวงกลมรอบ, การจำกัดเขต, ขอบเขต, โครงร่าง, เส้นรอบวง, คำนิยาม, คำจำกัดความ, ลายริม, See also: circumscriptive adj. | cobol | (โคบอล) ย่อมาจาก Common Business Oriented Language เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง แรกเริ่มเดิมที นิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมสำหรับงานด้านธุรกิจ ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (mainframe) แต่ปัจจุบัน ได้รับการดัดแปลงให้ใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ภาษาโคบอลนี้ออกจะละม้ายคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษธรรมดาอยู่ค่อนข้างมาก ภาษานี้เป็นภาษาสากล ที่ยังมีคนนิยมใช้กันแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน | computer specialist | ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์หมายถึง ผู้ที่มีความรู้พิเศษในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ อาจหมายถึง ระบบตัวเครื่อง การเขียนโปรแกรม หรือการวิเคระห์ระบบ ก็ได้ | control statement | ข้อความสั่งควบคุมในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งนั้น โดยปกติ เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่งไปทีละคำสั่ง โดยเรียงไปตามลำดับก่อนหลัง แต่เราอาจใช้ข้อความสั่งให้ควบคุมการทำงานได้เช่น กระโดดข้าม, วนกลับไปทำบางคำสั่งใหม่หรือวนหลาย ๆ รอบหรือหยุดทำถ้า ... ข้อความสั่งเหล่านี้มีอยู่หลายคำสั่ง ขึ้นอยู่กับภาษาเป็นต้นว่า GOTO, DO, IF ในภาษาฟอร์แทรน หรือ FOR.....NEXT ในภาษาเบสิก | cryptograph | (คริพ'ทะกราฟ) n. = cryptogram, ระบบการเขียนอักษรลับหรือรหัสลับ, เครื่องเขียนรหัสหรืออักษรลับ | cubism | (คิว'บิสซึม) n. ศิลปะการเขียนภาพและปฎิมากรรมแบบ3มิติ., See also: cubist n. cubistic adj. | ddt | (ดีดีที) ในความหมายทั่วไป คำนี้หมายถึง "ยาฆ่าแมลง" นำมาใช้ในวงการคอมพิวเตอร์ เป็นคำแสลงหมายถึง การแก้ไขข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดในโปรแกรมในกรณีที่มีมาก ๆ (ทั้งนี้เพราะในการเขียนโปรแกรมนั้น เราเรียกจุดบกพร่องในโปรแกรมว่า แมลง หรือ bug โดยปกติแล้ว การแก้ไขธรรมดา ๆ จะใช้คำว่า debug) | dictation | (ดิคเท'เชิน) n. การบอกให้เขียนตามคำบอก, การเขียนตามคำบอก, การบงการ, กำหนดเอาตามใจชอบ | dissertation | n. ปริญญานิพนธ์ (โดยเฉพาะของปริญญาเอก) , การสนทนา, การบรรยาย, การเขียนบทความ, See also: dissertational adj. ดูdissertation dissertationist n. ดูdissertation, Syn. treatise, thesis | elliptic | (อิลิพ'ทิเคิล) adj. ซึ่งเป็นรูปไข่, เกี่ยวกับการพูดหรือการเขียนที่ย่อเกินไป, คลุมเครือ., See also: ellipticalness n. | elliptical | (อิลิพ'ทิเคิล) adj. ซึ่งเป็นรูปไข่, เกี่ยวกับการพูดหรือการเขียนที่ย่อเกินไป, คลุมเครือ., See also: ellipticalness n. | erratum | (อิเร'ทัม) n. ความ (ข้อ) ผิดในการเขียนหรือพิมพ์, Syn. error -pl. errata | event-driven programming | การเขียนโปรแกรมเชิงเหตุการณ์หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมวิธีหนึ่งที่จะนำเอาเหตุการณ์จริงเข้ามาใช้ และจะรอคอยให้ผู้ใช้ กดแป้นพิมพ์ หรือเมาส์ เสียก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนใด ๆ | expression | (อิคซฺเพรส'เชิน) n. การแสดงออก, การแสดง ออกเป็นคำพูด, การแสดงเครื่องหมายหรือสูตร, คำพูดที่แสดงออก, ลักษณะท่าทาง, น้ำเสียง, เครื่องหมาย, สูตร, ศัพท์, วิธีการเขียน. -Phr. (beyond (past) expression ซึ่งไม่สามารถจะบรรยายได้, เหนือคำพรรณนา) . คำที่มีความหมายเหมือนกัน | fibonacci numbers | เลขไฟโบนาชชี่หมายถึง แบบแผนทางคณิตศาสตร์แบบหนึ่งที่กำหนดให้ จำนวนเลขลำดับที่สาม เป็นผลบวกของเลขสองตัวที่อยู่ลำดับ ก่อนหน้า เช่น 4, 8, 12, 20, 32..... (12 เป็นผลบวกของ 4 กับ 8 และ 20 เป็นผลบวกของ 8 กับ 12 เป็นดังนี้ไปเรื่อย ๆ) ใช้ได้ดีในการเขียนโปรแกรมบางโปรแกรม เพราะทำให้สามารถเข้าสู่จุดตำแหน่งที่ต้องการได้รวดเร็วขึ้น (บางทีเรียก fibonacci series หรืออนุกรมไฟโบนาชชี) | file processing | การประมวลผลแฟ้มข้อมูลหมายถึงการนำแฟ้มข้อมูลมาประมวลผล โดยปกติหมายถึงการเขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำให้ เพื่อให้ได้ผลตามที่ต้องการ | first generation computer | คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งนับตั้งแต่เริ่มมีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ มนุษย์ได้พัฒนาเครื่องมือนี้ติดต่อกันมาตลอด ทำให้มีการแบ่งวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ออกเป็นยุค (generation) พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ยุคแรกถือว่าเริ่มตั้งแต่ ค.ศ.1951 ถึงต้น ค.ศ.1960 คอมพิวเตอร์สมัยนั้นสามารถเก็บโปรแกรมได้ ใช้หลอดสุญญากาศเป็นหน่วยความจำ ทำให้มีขนาดใหญ่ กินเนื้อที่มาก ระหว่างทำงาน จะทำให้เกิดความร้อนสูงตลอดเวลา การทำงานจะทำได้ทีละอย่าง และจะเรียงกันไปตามลำดับคำสั่งอย่างเคร่งครัด ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมก็มีแต่ภาษาแอสเซมบลี (assembly language) ดู generation ประกอบ | flowchart | ผังงานหมายถึง ผังที่ประกอบด้วยเส้นและสัญลักษณ์รูปต่าง ๆ ซึ่งนักเขียนโปรแกรมใช้ เพื่อให้มองเห็นขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ก่อนจะลงมือเขียน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ผังงานกว้าง ๆ (general flowchart) และผังงานละเอียด (detailed flowchart) ผังงานจะช่วยทำให้เข้าใจการทำงาน ทำให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะทำงานเป็นขั้นเป็นตอน ซึ่งผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเป็นผู้กำหนดให้ ผังงานจะช่วยให้ผู้เขียนโปรแกรมมองเห็นขั้นตอนต่าง ๆ จากสัญลักษณ์ที่กำหนดไว้ง่ายเข้า และไม่เกิดความสับสน โดยเฉพาะปัญหาที่ซับซ้อนมาก ๆ ดู general flowchart และ detailed flowchart ประกอบ | flowchart symbol | สัญลักษณ์ผังงานหมายถึงรูปสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้แทนการปฏิบัติงานของข้อมูล และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน (flowchart) ดู flowchart ประกอบ | fortran | (ฟอร์แทรน) เป็นชื่อภาษาระดับสูง (high level language) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง สร้างขึ้นเป็นภาษาแรก ๆ เพื่อให้นัก คณิตศาสตร์ใช้ได้สะดวก และรวดเร็ว ย่อมาจากคำว่า FORmular TRANslator ซึ่งก็แปลได้ว่า ตัวแปลสูตรคณิตศาสตร์ นั่นเอง โปรแกรมภาษาฟอร์แทรนนั้น สามารถนำไปใช้กับ เครื่อง คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ได้หลายยี่ห้อ โดยแทบจะไม่ต้อง ปรับ แก้เลย ก่อนหน้าที่จะมีการใช้ภาษานี้ นักเขียนโปรแกรม รู้จัก แต่ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) | grapheme | n. หน่วยที่เล็กที่สุดของระบบการเขียน, ตัวอักษร, ตัวพยัญชนะ. | graphics | (แกรฟ'ฟิคซฺ) n. ศิลปะการเขียน, การทำภาพพิมพ์, วิชาการคำนวณด้วยแผนภูมิ'หรือไดอะแกรม | grapho- | Pref. การเขียน | hashing | (แฮชชิง) หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมให้จานบันทึกเก็บข้อมูลได้โดยอาศัยวิธีการคำนวณ การจะเข้าถึงข้อมูลได้ จะต้องรู้เลขประจำตำแหน่งต่าง ๆ เหล่านี้ อย่างไรก็ตาม ถ้าคิดเพียงจะเป็น ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ก็ไม่จำเป็นต้องรู้จักคำนี้เลยก็ได้ | hexadecimal | ฐาน 16ระบบเลขฐาน 16 หมายถึงระบบเลขที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น เรานิยมใช้เลขฐาน 16 ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ จะรับรู้ได้ เลขฐานสิบหกก็คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F | high level language | ภาษาระดับสูงหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องรู้ถึงโครงสร้างภายในของเครื่องแต่อย่างใด ภาษาระดับสูงมีอยู่ด้วยกันหลายภาษา เช่น ภาษาซี (C) ภาษาเบสิก (BASIC) และภาษาปาสกาล (PASCAL) เป็นต้น ตรงข้ามกับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ซึ่งเรียกกันว่าเป็นภาษาระดับต่ำ ผู้เขียนจะต้องรู้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมเป็นภาษานั้นได้ อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์จะยังไม่สามารถเข้าใจภาษาระดับสูงนี้ได้ แต่จะต้องใช้ตัวแปล (compiler) จัดการแปลเสียก่อน จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งได้ดู computer language ประกอบ | hogwash | n. อาหารหมู, ของที่ไร้ค่า, การพูด, การเขียนหรืออื่น ๆ ที่ไม่มีความหมาย |
| dictation | (n) คำสั่ง, การบงการ, การเขียนตามคำบอก | dissertation | (n) การสนทนา, การถกปัญหา, การบรรยาย, การเขียนตำรา, วิทยานิพนธ์ | fresco | (n) การเขียนภาพบนผนังปูน | hyperbole | (n) การขยายความ, การพูดเกินจริง, การเขียนเกินเลย | journalism | (n) การหนังสือพิมพ์, วารสารศาสตร์, การเขียนข่าว | painting | (n) ภาพเขียน, การเขียนภาพ, การทาสี, การระบายสี | parody | (n) เรื่องล้อ, การเขียนล้อ, ของเก๊, ของกำมะลอ | penmanship | (n) การคัดลายมือ, การคัดหนังสือ, การเขียนหนังสือ | portrayal | (n) การวาดภาพ, การเขียนภาพคน, การพรรณนา | quirk | (n) การเขียนเล่นหาง, การเหไป, การเล่นสำนวน, การเล่นโวหาร | romanticism | (n) การเขียนเรื่องแนวโรแมนติก | scrawl | (n) ลายมือหวัด, การเขียนลวกๆ | slur | (n) การเขียนติดกัน, การพูดทอดเสียง | writing | (n) การเขียน, ข้อเขียน, ลายมือ, ตัวหนังสือ, จดหมาย, เอกสาร, การแต่งหนังสือ์ |
| panel painting | [แพเนล เพ้นทิง] (n) จิตรกรรมแผง เป็นจิตรกรรมที่เขียนบนแผงที่ทำด้วยไม้ที่อาจจะเป็นแผ่นเดียวหรือหลายแผ่นเชื่อมต่อกัน เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนภาพมาจนถึงราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 ก่อนที่การเขียนบนผ้าใบจะกลายมาเป็นที่นิยมกัน (Wikipedia.org) | sign-writing | การเขียนป้าย | XCode | [เอ็ก-โค้ด] (คำย่อ) กลุ่มของเครื่องมือที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมในระบบปฎิบัติการ Mac OS X หรือ iOS | 表記 | [ひょうき] (n) การเขียนแสดงเสียงด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์, การถอดเสียง |
| 文学 | [ぶんがく, bungaku] การประพันธ์, การเขียนหนังสือ, การแต่งหนังสือ |
| 上記 | [じょうき, jouki] การเขียนมาแล้วข้างต้น | 分かち書き | [わかちがき, wakachigaki] การเขียนโดยมีการเว้นวรรคเพื่อให้ผู้อ่านตัดคำได้ถูกต้อง ลดความกำกวม. ตัวอย่าง ตากลม: (1) ตา กลม, (2) ตาก ลม |
| 分かち書き | [わかちがき, wakachigaki] TH: การเขียนเว้นวรรคระหว่างคำโดยมากเขียนเป็นอักษรฮิรางานะ |
| Tip | (n) |der, pl. Tips| คำแนะนำ, เคล็ดลับ (เป็นการเขียนที่ล้าสมัย ในปัจจุบันมักใช้ der Tipp แทน), See also: der Hinweis, Syn. der Tipp | schriftlich | (adj, adv) ที่เกี่ยวกับการเขียน, (การสอบ)โดยการเขียนตอบ, See also: A. mündlich |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |