ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การอ่าน, -การอ่าน- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| เดินทุ่ง ๑ | ก. ตะลุยไป (ใช้ในการอ่าน แต่ง หรือแปลหนังสือ). | ตะกุกตะกัก | ว. ติด ๆ ขัด ๆ, ไม่ราบรื่น, (มักใช้แก่การอ่านหรือพูด). | ตู่ตัว | ว. เพี้ยนตัว, ไม่ตรง, (ใช้ในการอ่านหนังสือ) เช่น อ่านตู่ตัว ด เป็นตัว ค. | แตก | เรียกการอ่านหนังสือออกคล่อง ว่า อ่านหนังสือแตก, เรียกเสียงห้าวเมื่อเริ่มเป็นหนุ่ม ว่า เสียงแตก, เรียกอาการที่พูดจนแสบคอหรือตะโกนดังจนสุดเสียง ว่า พูดจนคอแตก ตะโกนจนคอแตก. | ทำนองเสนาะ | น. วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน. | ยติ ๒ | น. การหยุดเป็นจังหวะตามกำหนดในการอ่านฉันท์. | หนอนหนังสือ | น. คนที่ชอบหมกมุ่นอยู่กับการอ่านหนังสือ. | อักขรวิธี | น. วิธีเขียนและอ่านหนังสือให้ถูกต้อง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยตัวอักษร การอ่าน การเขียน และการใช้ตัวอักษร. | อักขรสมัย | (อักขะหฺระสะไหฺม) น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน. | อักษรสมัย | (อักสอนสะไหฺม) น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน. | อัธยาย | การอ่าน, การเล่าเรียน. |
| amnesia, visual; alexia; aphasia, visual; blindness, word | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | aphasia, visual; alexia; amnesia, visual; blindness, word | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | alexia; amnesia, visual; aphasia, visual; blindness, word | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | bradylexia | อาการอ่านช้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | blindness, word; alexia; amnesia, visual; aphasia, visual | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | demand reading | การอ่านตามคำขอทันที [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | destructive reading | การอ่านแบบทำลาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | dyslexia | ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ, ภาวะเสียการอ่านรู้ความ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | visual amnesia; alexia; aphasia, visual; blindness, word | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | visual aphasia; alexia; amnesia, visual; blindness, word | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | word blindness; alexia; amnesia, visual; aphasia, visual | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| | Wasn't it Nietzsche's work itself, which through deconstructive and post-structuralist readings induced the death of psychobiography? | ผลงานของเนเช่ ซึ่ง... ...ผ่านจิตวิทยาการวิจารณ์และ นักโครงสร้างการอ่าน... ...โน้มน้าวไปสู่ความตาย แห่งความวิกลจริตไม่ใช่เหรอ? Basic Instinct (1992) | Know how to read, you ignorant fuck? | รู้วิธีการอ่านคุณเพศไม่รู้? The Shawshank Redemption (1994) | There are a hundred different ways to skim off the top. | มีร้อยวิธีต่างๆในการอ่านปิดด้านบนเป็น The Shawshank Redemption (1994) | Why would anybody wanna read a book about her? | แล้วทำไมคนต้องการอ่านหนังสือที่เกี่ยวกับ ประวัติของย่าแกล่ะ? The Story of Us (1999) | I mean, I know he's "by the book," | ข้าหมายถึง ที่ข้ารู้นั้น ได้จากการอ่านหนังสือ Mulan 2: The Final War (2004) | Hold sequence. I'll take a direct reading. | ที่ดีไม่มี จองลำดับ ฉันจะใช้เวลาในการอ่านโดยตรง Contact (1997) | We confirm Drumlin's readings. All normal. We're go. | เรายืนยันการอ่านของ ดรัมลิน ทั้งหมดตามปกติ เราไป Contact (1997) | - Look at these readings, honey! | - ดูที่การอ่านเหล่านี้, น้ำผึ้ง! Dante's Peak (1997) | Is the same with your ability to read music. | เหมือนกับความสามารถในการอ่านดนตรี Raise Your Voice (2004) | Tien, male, likes to read, | เทียน , ผู้ชาย , รักการอ่าน Formula 17 (2004) | And she must improve her mind by extensive reading. | และเธอจะต้องยกระดับจิตใจ ด้วยการอ่านเยอะๆ Pride & Prejudice (2005) | What does reading have to do with thorns? | -การอ่านมันเกี่ยวอะไร -กับหนามด้วย Voice (2005) | I'm reading the novels from there to study English. | ชั้นฝึกภาษาด้วยการอ่านนิยายด้วยนะ Fullmetal Alchemist the Movie: Conqueror of Shamballa (2005) | So please, take the cup of the person sitting opposite you. | ...ซึ่งมีพื้นฐานจากการอ่านใบชา ดังนั้นพวกเธอต้องนำถ้วยชามาแล้วนั่งเรียงกัน Harry Potter and the Prisoner of Azkaban (2004) | It's marvelous. | ยอดไปเลย เราหวังว่า คุณจะเพลินกับการอ่าน Cashback (2006) | They can count back year by year the same way a forester reads tree rings. | สามารถนับถอยกลับไปปีแล้วปีเล่า เหมือนการอ่านวงปีของต้นไม้ An Inconvenient Truth (2006) | I began to enjoy reading since then. | ชั้นเริ่มที่จะสนุกกับการอ่านหนังสือตั้งแต่นั้นมา Almost Love (2006) | I'd like to start off reading Psalm 100. | ผมอยากเริ่มจากการอ่าน เพลงสวดที่ 100 Faith Like Potatoes (2006) | Mind-reading, spontaneous regeneration. | อย่างการอ่านใจได้ การปฏิรูปทางธรรมชาติ Chapter Four 'Collision' (2006) | He's talking about mind-reading and spontaneous regeneration. | เขาพูดถึงการอ่านความคิด การปฏิรูปจากความเป็นธรรมชาติ Chapter Four 'Collision' (2006) | I heard the bear one's pretty good. I would do it, but I have my book club. | คุณก็รู้ แต่ เอ่อ แต่ "สมาคมรักการอ่าน" ของผม... Grin and Bear It (2007) | And when you say "book club," that's code for "hot date"? | และเวลาคุณพูดว่า "สมาคมรักการอ่าน" เป็นรหัสหมายถึง "เดทที่เร่าร้อน" Grin and Bear It (2007) | Sorry, I, uh, left all my awesome genetic textbook reading for the summer vacation. | เสียใจ, ฉัน, เอ่อ, เก็บการอ่านตำราพันธุกรรม ที่เจ๋งๆ ไว้สำหรับการพักร้อนน่ะ Chapter Two 'Lizards' (2007) | At reading minds. | เริ่มที่การอ่านใจ Chapter Nine: Cautionary Tales (2007) | When pull became push, and then he realized | การอ่านใจกลายเป็นอย่างอื่นมากขึ้นไปไหม Chapter Nine: Cautionary Tales (2007) | Sometimes I am wrong. | เรื่องการสังเกตุ เรื่องการอ่านและวิเคราะห์สถานการณ์ Alone (2007) | She stopped doing Her crossword puzzle Because she's having A hard time reading it. | เธอหยุดเล่นครอสเวอร์ดเพราะ เธอต้องเอาเวลาไปในการอ่าน 97 Seconds (2007) | He came all by himself for two years to night school... to try to improve his reading. | เขาเดินเข้ามาทั้งหมดด้วยตัวเอง เป็นเวลาสองปีที่โรงเรียนคืน การพยายามที่จะปรับปรุง การอ่านของเขา Sex Trek: Charly XXX (2007) | I didn't get that from reading and memorizing from books. | ผมไม่เข้าใจจากการอ่านแล้วจำจากในหนังสือ The 1st Shop of Coffee Prince (2007) | llliteracy is a growing epidemic in this country. | ความสามารถในการอ่านและเขียนจะเติบโตอย่างรวดเร็ว ในประเทศนี้ Music and Lyrics (2007) | This difficulty in reading and writing is called dyslexia. | ความบกพร่องในการอ่าน และเขียนนี้เรียกว่า LD Like Stars on Earth (2007) | You know, Leonardo da Vinci had great difficulty reading and writing. | รู้มั้ยว่าเลโอนาร์โด ดา วินซี ก็มีปัญหาเรื่องการอ่านเขียน Like Stars on Earth (2007) | I too had a problem reading and writing when I was a kid. | ครูเองก็มีปัญหาเรื่อง การอ่านเขียนตอนยังเด็ก Like Stars on Earth (2007) | Ηe has a problem reading and writing. You've heard of dyslexia? | เขามีปัญหาเรื่องการอ่านเขียน เคยได้ยินเรื่องโรค LD มั้ยครับ Like Stars on Earth (2007) | Yeah, and anybody who wanted to read it had to sign in. | ใช่และคนที่ต้องการอ่านหนังสือจะต้องลงชื่อไว้ด้วย Page Turner (2008) | you know, i'm usually pretty good at reading people. | ฉันชำนาญเรื่องการอ่านคน Pilot (2008) | A girl in my class was e-mailing me my assignments, and I was keeping up with all of my reading. | หนูให้เพ่อนหนูส่งเมลล์มาบอกงานที่หนูต้องทำ และหนูก็ตามเพื่อนๆทันด้วยการอ่านหนังสือ The Serena Also Rises (2008) | It only begins at reading minds. | มันเริ่มจากแค่การอ่านใจ Heroes: Countdown to the Premiere (2008) | 'Cause I love reading. Me and Ox used to read all the time. | เพราะฉันรักการอ่าน/ฉันกับอ็อกอ่านหนังสือด้วยกันตลอด Indiana Jones and the Kingdom of the Crystal Skull (2008) | Reading her synopsis was stressful. | การอ่านโครงเรื่องของเธอมันกดดันมาก My Sassy Girl (2008) | [ David ] There are 1, 784 pages, and it takes me four minutes to read one page. | มันมีทั้งหมด 1784 หน้า และผมใช้เวลา 4 นาทีในการอ่านหน้านึง New York, I Love You (2008) | Other recreations include reading in the library, pottery, cookery, art and horticulture for adult and child alike. | นอกจากนี้ เรายังมีกิจกรรมอื่นๆอีก อย่างเช่นการอ่านหนังสือ ในห้องสมุด ไม่ว่าจะเป็นการปั้นดิน การทำอาหาร ศิลปะ หรือ กสิกรรม หลากหลาย ตามความสนใจของทั้งเด็กและผู้ใหญ่ The Boy in the Striped Pajamas (2008) | Reading. | การอ่าน The Reader (2008) | - I was thinking maybe an organization to encourage literacy. | - ผมคิดว่าน่าจะเป็น... องค์กรที่ส่งเสริมการอ่านเขียน The Reader (2008) | You might catch something you missed the second time around. | คุณอาจจะเจออะไรที่พลาดไปจากการอ่านมันรอบที่สอง Eggtown (2008) | Who are we speaking to here? | วิธีการอ่านปากของพิกซี่ ชั้นบอกเธอ ว่าเธอพูดอะไร Everyone (2009) | I've been doing a lot of reading, I'm not giving those people this money. | ฉันมีเวลาทำ การอ่านได้อีกนาน ฉันไม่ให้คนเหล่า นั้นด้วยเงินเหล่านี้ Fighting (2009) | God, I hated books as a kid. Reading out loud. | ผมเกลียดการอ่านออกเสียง London. Of Course (2009) | She's got a lot on her mind and, you know what, sometimes reading a girl's thoughts kind of ruins the mood. | บางครั้งการอ่านความคิดผู้หญิง ประเภทที่อารมณ์ไม่ดี ไม่ฟัง Some Kinda Love (2009) | Clues from Brooke's necklace. Yes, sir. | ครับ มันเรียกว่า การอ่านอัตลักษณ์ของวัตถุ หรือ Cold Comfort (2009) |
| การอ่าน | [kān ān] (n) EN: reading FR: lecture [ f ] | การอ่านคำพิพากษา | [kān ān khamphiphāksā] (n, exp) FR: lecture du verdict [ f ] | การอ่านลายมือ | [kān ān lāimeū] (n, exp) EN: palmistry FR: chiromancie [ f ] | การอ่านหนังสือ | [kān ān nangseū] (n, exp) EN: reading FR: lecture [ f ] | การอ่านตามความนิยม | [kān ān tām khwām niyom] (n, exp) EN: modern pronunciation FR: prononciation moderne [ f ] | การอ่านตามหลัก | [kān ān tām lak] (n, exp) FR: prononciation ancienne [ f ] ; prononciation traditionnelle [ f ] |
| dyslacxia | (n) โรคดิสเล็กเซีย คือ ความบกพร่องในการอ่าน มีปัญหาในการอ่าน อ่านได้บ้างไม่ได้บ้าง อ่านไม่คล่อง สะกดคำติดขัด ผสมคำไม่ได้ หรืออ่านไม่ได้เลย โดยมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของเส้นประสาท |
| alexia | (n) การสูญเสียความสามารถในการอ่าน, Syn. word blindness | browse | (n) การอ่านคร่าวๆ, Syn. skim | erudition | (n) ความรู้ (ที่ได้จากการเรียนและการอ่าน), Syn. education, knowledge, scholarship | illiteracy | (n) การไม่รู้หนังสือ, See also: การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้, Syn. ignorance | learning | (n) ความรู้ที่ได้มาจากการอ่านหรือการศึกษา, See also: ความรู้, Syn. knowledge, information | literacy | (n) ความสามารถในการอ่านและเขียน | phonics | (n) วิชาการอ่านออกเสียงและการสะกดคำศัพท์ | read | (adj) ซึ่งมีความรู้จากการอ่าน, See also: ซึ่งอ่านหนังสือมามาก | readable | (adj) ซึ่งสามารถอ่านได้, See also: ง่ายต่อการอ่าน, อ่านง่าย, Syn. clear, legible | reader | (n) หนังสือฝึกการอ่าน, Syn. schoolbook, textbook | reading | (adj) ซึ่งใช้ในการอ่าน | reading | (n) การอ่าน | reading age | (n) ความสามารถในการอ่านของบุคคล | recital | (n) การท่อง, See also: การอ่านออกเสียง | read in | (phrv) เข้าใจ (ด้วยการอ่านหรือค้นคว้า) | well-read | (adj) ซึ่งมีความรู้มากและถี่ถ้วนจากการอ่าน, Syn. erudite, knowledgeable |
| bar code optical scanner | เครื่องกราดตรวจรหัสแท่งด้วยแสง <คำแปล>เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปากกาแสง (light pen) ใช้ฉายแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องการอ่าน เครื่องจะรายงานบนจอภาพในขณะเดียวกันก็ส่งข้อมูลนั้นไปบันทึกในหน่วยความจำ การทำงานจะอยุ่ในราว 100 ตัวอักษรต่อวินาที หรืออาจเร็วกว่านั้น | begin of tape | จุดเริ่มต้นเทป <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BOT หมายถึง จุดบนแถบบันทึกหรือเทป (tape) ที่กำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้นให้มีการบันทึกข้อมูลลงได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสงบนแถบบันทึก ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณ บังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลบนแถบบันทึกโดยเริ่มจากจุดนั้นเป็นต้นไป | boot | (บูท) { booted, booting, boots } n. รองเท้าหุ้มข้อเท้า, รองเท้าบู๊ท, เครื่องหุ้มคล้ายปลอก, ฝาครอบป้องกัน, ปลอกหุ้มเบาะ, โครงรถ, เครื่องรัดทรมานข้อเท้า, การเตะ, การถีบ, การปลดออก vt. สวมรองเท้าบู๊ท, เตะ, ถีบ เริ่มต้นใหม่เริ่มเครื่องใหม่หมายถึง การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เริ่มต้นทำงาน (ว่ากันว่า คำ "boot" นี้ มาจากคำว่า "bootstrap" เบื้องหลังการใช้คำ ๆ นี้ อยู่ที่การขู่ว่า ถ้าไม่ทำงานแล้วละก็ โดนรองเท้าบู๊ตแน่ ๆ เลย) การเริ่มเครื่องใหม่นั้น โดยปกติ เมื่อกดสวิตช์เปิดแล้ว คอมพิวเตอร์จะเริ่มต้นทำงานด้วยการอ่านจานบันทึกในหน่วยบันทึก A: ถ้าในหน่วยบันทึก A: ไม่มีจานบันทึก ก็จะไปอ่านจานบันทึก C: (จะไม่สนใจหน่วยบันทึก B: เลย) ถ้ามีจานบันทึกใน A: จานบันทึกนั้นจะต้องมีคำสั่งระบบ (แฟ้มข้อมูล command.com) อยู่ คอมพิวเตอร์จึงจะเริ่มต้นทำงานต่อไปได้ ถ้าจานบันทึกใน A: ไม่มีคำสั่งระบบ จะมีรายงานบนจอภาพว่าเป็น "non-system disk" ในกรณีเช่นนี้ต้องเปลี่ยน แผ่น A: หรือดึงแผ่น A: ออก แล้วเริ่มต้นใหม่จาก หน่วยบันทึก C: (ถ้ามี) อนึ่ง การเริ่มเครื่องใหม่นั้น ทำได้ 2 วิธี วิธีแรกเริ่มด้วยการเปิดสวิตช์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ได้อธิบายแล้ว เรียกว่า "cold boot" อีกวิธีหนึ่งที่ใช้เมื่อมีการเปิดเครื่องอยู่ก่อนแล้ว แต่ต้องการเริ่มเครื่องใหม่ หรือเครื่องเกิดขัดข้องหรือค้าง (hang) ให้ กดแป้น CTRL +ALT +DEL เรียกว่า "warm boot" | bot | 1. (บอท) n. ด้วยอ่อนของแมลงbotfly 2. (บีโอที) ย่อมาจาก begin of tape (จุดเริ่มต้นเทป) หมายถึง จุดเริ่มต้นที่จะให้มีการบันทึกลงแถบบันทึกหรือเทป (tape) ได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสง ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณบังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลจากจุดนั้นเป็นต้นไป | card reader | เครื่องอ่านบัตรหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้การอ่านรูที่เจาะในบัตรแล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านั้นทำได้ด้วยการใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลเหล่านั้นส่งเข้าไปเก็บในหน่วยความจำเพื่อนำไปประมวลผลต่อไป | cd-rom drive | หน่วยขับซีดีรอมหมายถึง หน่วยบันทึกที่ใช้อ่านจานบันทึกอัดแน่น หรือซีดี ในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากมีหน่วยบันทึกที่สามารถอ่านข้อมูลจากสื่อชนิดนี้ได้ แต่ยังคงบันทึกข้อมูลลงไปไม่ได้ ต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ความเร็วในการอ่านค่อนข้างสูงจนดูภาพเคลื่อนไหวได้ดีเหมือนดูภาพยนตร์ ในปัจจุบัน จานซีดีกำลังได้รับความนิยมมากขึ้นทุกที ทำให้ราคาถูกลงมาก คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจึงมักจะมีหน่วยบันทึกชนิดนี้ติดตั้งไว้ด้วย | character reader | เครื่องอ่านอักขระหมายถึง เครื่องอ่านอักขระจากตัวพิมพ์ซึ่งจะต้องมีลักษณะพิเศษที่เป็นมาตรฐาน การอ่านใช้วิธีให้แสงผ่านช่องว่างของตัวอักขระนั้น ๆ แล้วแปลเป็นรหัสบันทึกลงไว้ในแถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) | cim | (ซีไอเอ็ม) 1. ย่อมาจาก computer input from microfilm (ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) 2. ย่อมาจาก computer integrated manufacturing (การผลิตแบบผสมผสานด้วยคอมพิวเตอร์) หมายถึงการผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์ร่วมด้วย | collation | (โคเล'เชิน) n. การตรวจเทียบ, อาหารว่าง, การอ่านเรื่องนักบุญให้ฟังกัน, Syn. snack | computer input from micro | ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) | direct access | การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ | ibg | (ไอบีจี) ย่อมาจาก interblock gap (ช่องว่างระหว่างบล็อก) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ | image scanner | เครื่องตรวจภาพอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านภาพหรือข้อความแล้วนำเข้าไปเก็บเป็น "ภาพ " ในหน่วยความจำ เพื่อนำมาใช้ในการประมวลผลต่อไป ดู scanner ประกอบ | immediate access | หมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากมีความหมายเหมือน direct access | interblock gap | ช่องว่างระหว่างบล็อกใช้ตัวย่อว่า IBG (อ่านว่า ไอบีจี) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ | interrecord gap | ช่องว่างระหว่างระเบียนใช้ตัวย่อว่า IRG ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ | intonation | (อินโทเน'เชิน) n. ลักษณะหรือท่วงทำนองเสียง, เสียงสูงต่ำ, การอ่านหรือออกเสียง สูงต่ำ, การเปล่งเสียงเฉพาะ., See also: intonational adj. | irg | (ไออาร์จี) ย่อมาจาก interrecord gap ที่แปลว่า ช่องว่างระหว่างระเบียน ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ | magnetic ink character re | เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็กใช้ตัวย่อว่า MICR (อ่านว่า เอ็มไอซีอาร์) หมายถึง เครื่องอ่านตัวอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก การอ่านหมึกแม่เหล็กที่ว่านี้ ใช้วิธีอ่านด้วยแสง ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้น ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น | main memory | หน่วยความจำหลักหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main storage | main storage | หน่วยเก็บหลักหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main memory | micr | (เอ็มไอซีอาร์) ย่อมาจาก magnetic ink character reader แปลว่าเครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก การอ่านนี้จะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ หมึกที่ใช้ต้องมีลักษณะพิเศษ เช่นเป็นแม่เหล็ก ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น | ocr | abbr. optical character recognition, optical character reader (แปลตรง ๆ ได้ว่า เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง) หมายถึง ความสามารถของคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมทำให้แสงผ่านตัวอักขระหรือภาพ แล้วสามารถรับรู้ นำเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ และนำไปประมวลผลได้ ซึ่งจะทำให้ทุ่นเวลากว่าการส่งข้อมูลเข้าด้วยแป้นพิมพ์ได้มากทีเดียว ใช้ในการอ่านตัวเลขต่าง ๆ เช่น ธนาคารนำมาใช้อ่านเบอร์บัญชีของเช็ค เป็นต้น | odd even check | การตรวจสอบภาวะคู่หรือคี่หมายถึง วิธีการตรวจสอบโดยการตรวจสอบแต่ละหน่วยข้อมูลไม่ว่าจะเป็นไบต์ (byte) หรือเป็นคำ (word) ว่ามีจำนวนบิต (bit) ที่เป็น 1 เป็นจำนวนคู่หรือคี่ โดยการเพิ่มหนึ่งบิตที่เรียกว่า บิตเสริม (parity bit) เข้าที่ท้ายหรือต้นข้อมูลนั้น ๆ เพื่อให้จำนวนบิตที่เป็น 1 เป็นเลขคี่หรือคู่เป็นการตรวจสอบความเคลื่อนคลาดในการอ่าน, บันทึก, หรือถ่ายโอนข้อมูลนั้น ๆ โดยปกติ พออ่านข้อมูลเข้าไปหน่วยหนึ่ง บิตเสริมก็จะถูกนำมาคำนวณและเปรียบเทียบกับบิตเสริมที่เก็บไว้แล้ว หากมีค่าเท่ากันก็แปลว่าการอ่านข้อมูลเข้าไปถูกต้อง มิฉะนั้น อาจต้องให้อ่านซ้ำอีกครั้งหนึ่งมีความหมายเหมือน parity check | omr | โอเอ็มอาร์ย่อมาจาก optical mark reader หรือที่แปลว่า เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสง หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้สำหรับอ่านตัวพิมพ์ หรือเครื่องหมายต่าง ๆ ด้วยแสง นิยมใช้ในการอ่านรหัสแท่ง (bar code) หรือตรวจข้อสอบแบบมีตัวเลือก (multiple choices) ฯ | optical character reecogn | การรับรู้อักขระด้วยแสงใช้ตัวย่อว่า OCR (อ่านว่า โอซีอาร์) หมายถึง ความสามารถของคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมทำให้แสงผ่านตัวอักขระหรือภาพ แล้วสามารถรับรู้ นำเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ และนำไปประมวลผลได้ ซึ่งจะทำให้ทุ่นเวลากว่าการส่งข้อมูลเข้าด้วยแป้นพิมพ์ได้มากทีเดียว ใช้ในการอ่านตัวเลขต่าง ๆ เช่น ธนาคารนำมาใช้อ่านเบอร์บัญชีของเช็ค เป็นต้น | optical mark reader | เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสงใช้ตัวย่อว่า OMR (อ่านว่า โอเอ็มอาร์) หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้สำหรับอ่านตัวพิมพ์ หรือเครื่องหมายต่าง ๆ ด้วยแสง นิยมใช้ในการอ่านรหัสแท่ง (bar code) หรือตรวจข้อสอบแบบมีตัวเลือก (multiple choices) ฯ | paper tape | แถบกระดาษเทปกระดาษเป็นสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลเข้าและส่งข้อมูลออกของคอมพิวเตอร์เมนเฟรมในสมัยแรก ๆ โดยทั่วไป แถบกระดาษที่เคยนิยมใช้มีขนาดกว้าง 0.75 ถึง 1 นิ้ว แถบกระดาษม้วนหนึ่ง ๆ ยาว 30 - 1000 ฟุต ม้วนอยู่บนล้อวงกลม ลักษณะการบันทึก ใช้วิธีการเจาะเป็นรูกลม ๆ มีความจุประมาณ 10 ล้านตัวอักขระต่อเทป 1 นิ้ว ปัจจุบัน ไม่มีใครรู้จักแล้ว เพราะแก้ไขยาก ใช้ซ้ำไม่ได้เลย ทำให้สิ้นเปลืองมาก ในการอ่านข้อมูลบนแถบกระดาษ ใช้เครื่องอ่านแถบกระดาษ เรียกว่า paper tape reader ในการบันทึก ใช้เครื่องเจาะแถบกระดาษ ซึ่งเรียกว่า paper tape punch ซึ่งจะทำงานเมื่อได้รับสัญญาณจากหน่วยประมวลผลกลาง สามารถเจาะได้ประมาณ 10 - 150 แถวต่อวินาที | paper tape reader | เครื่องอ่านแถบกระดาษเครื่องอ่านเทปกระดาษหมายถึงอุปกรณ์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในการอ่านรูที่เจาะบนแถบกระดาษ แล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านี้ ทำได้โดยใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพื่อทำหารประมวลผลต่อไปดู paper tape ประกอบ | parity check | การตรวจสอบภาวะเสริมหมายถึง วิธีการตรวจสอบโดยการตรวจแต่ละหน่วยข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นไบต์ (byte) คำ (word) ว่าเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ เป็นการตรวจสอบความเคลื่อนคลาดในการอ่าน บันทึก หรือ ถ่ายโอนข้อมูลนั้น ๆ โดยปกติ พออ่านข้อมูลเข้าไปหน่วยหนึ่ง บิตเสริม (parity bit) ก็จะถูกนำมาคำนวณแล้วเปรียบเทียบกับบิตเสริมที่เก็บไว้แล้ว หากมีค่าเท่ากัน ก็แปลว่า การอ่านข้อมูลเข้าไปถูกต้อง มิฉะนั้น อาจต้องให้มีการอ่านซ้ำอีกครั้งหนึ่งมีความหมายเหมือน odd even check | perusal | (พะรู'เซิล) n. การอ่าน, การอ่านตรวจ. | primary storage | หมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main storageดู secondary storage เปรียบเทียบprint : พิมพ์หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ประมวลผลได้จากคอมพิวเตอร์ลงบนกระดาษ หรือแผ่นใส ฯ กับใช้เป็นรายการคำสั่งในโปรแกรมสำเร็จหลายโปรแกรม ที่จะให้คอมพิวเตอร์ทำการดังกล่าว ซึ่งมักจะมีคำถามตามมาอีกหลายคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) เป็นต้นว่า พิมพ์กี่ชุด พิมพ์หน้าไหนบ้าง ขยายหรือย่อขนาดกี่เปอร์เซ็นต์ ฯ รวมทั้งเป็นคำสั่งในโปรแกรมในภาษาต่าง ๆ เกือบทุกภาษาด้วย | reading | (รีด'ดิง) n. การอ่าน, การอ่านออกเสียง, การพิจารณากฎหมายตามวิธีของรัฐสภา, ความรู้, การแปล, จำนวนตัวเลขที่อ่านได้จากอุปกรณ์ (เช่นจากปรอทวัดอุณหภูมิ) , การอ่านบทละคร, การบรรเลงดนตรี adj. เกี่ยวกับการอ่าน, ใช้สำหรับอ่าน, Syn. perusal, interpret | recitation | (เรสซิเท'เ?ิน) n. การเล่นดนตรีเดี่ยว, การท่อง, การท่องให้ครูฟัง, บทเรียนท่องจำ, การบรรยายในห้องเรียน, การอ่านออกเสียง | scanner | เครื่องกราดตรวจเครื่องกราดภาพตัวกราดตรวจตัวกราดภาพหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้สำหรับนำข้อความหรือภาพเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ ด้วยวิธีการกราดแสงผ่าน คอมพิวเตอร์สามารถนำข้อมูลที่ส่งเข้าไปนั้นมาแก้ไข ปรับแต่ง เพิ่มเติม จัดเก็บและแสดงผลออกมาได้ทั้งทางจอภาพและเครื่องพิมพ์ แต่เดิม เมื่อใช้เครื่องจับภาพอ่านข้อมูลที่เป็นเอกสารเข้าไป คอมพิวเตอร์จะนำไปเก็บในลักษณะของภาพ (image) กล่าวคือไม่สามารถนำข้อความนั้นมาแก้ไขได้ แต่ในปัจจุบัน การพัฒนาได้ก้าวไปไกล ถึงการที่สามารถแปลงตัวอักษรที่เป็นภาพ ให้มีลักษณะเป็นเอกสารที่นำมาแก้ไขตัวสะกดได้ โดยนำมาทำในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) เครื่องกราดภาพที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันมี 2 แบบคือ แบบระนาบ (flatbed) กับแบบมือถือ (handheld) เช่น แบบที่ใช้ในการอ่านรหัสแท่ง (bar code) ใช้ตามร้านสรรพสินค้า | serial processing | การประมวลผลแบบลำดับหมายถึง การอ่าน ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ไปทีละแฟ้มข้อมูล โดยเรียงไปตามลำดับของแฟ้มที่เก็บไว้ ตรงข้ามกับการประมวลผลแบบขนาน (pararell processing) ดู pararell processing เปรียบเทียบ | system disk | จานบันทึกระบบหมายถึง จานบันทึกที่บรรจุระบบปฏิบัติการ (ถ้าเป็นพีซี ก็หมายถึง MS DOS) สามารถนำมาใช้เริ่มเครื่องใหม่ได้ (boot) โดยใส่ในหน่วยบันทึก A : จานบันทึกระบบต้องมีโปรแกรม 3 โปรแกรม เป็นอย่างน้อย คือ lo.sys, Msdos.sys และ Command.com สองแฟ้มแรกจะถูกซ่อนอยู่ (hidden files) แม้ว่าจะใช้คำสั่ง Dir ก็จะไม่แสดงบนจอภาพโปรแกรม lo.Sys จะดูแลในเรื่องการนำข้อมูลเข้า และการแสดงผล ส่วน MSDOS.sys จะจัดการเกี่ยวกับเรื่องการอ่านและการบันทึกข้อมูลลงในแผ่นจานบันทุกนั้น ส่วน Command.com ก็จะมีคำสั่งพื้นฐานต่าง ๆ เช่น dir, copy, delete จานบันทึกระบบนี้มีความสำคัญมาก (โดยเฉพาะเครื่องที่ไม่มีฮาร์ดดิสก์) ถ้าไม่มีจานบันทึกนี้จะเริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ไม่ได้เลย ถ้ามีฮาร์ดดิสก์ อาจใช้ฮาร์ดดิสก์เป็นจานบันทึกระบบเลยก็ได้ | tape drive | หน่วยขับแถบบันทึกอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่าน/บันทึกข้อมูลจากหรือลงในแถบบันทึก (tape) การอ่านข้อมูลจากแถบบันทึกนั้นสามารถอ่านได้ทั้ง 2 ทิศทาง หน่วยขับแถบบันทึกนี้จะมีลักษณะเป็นเสมือนตู้กระจก มองเห็นวงล้อเทปสองวง และจะมีม้วนเทปร้อยติดอยู่ ส่วนหนึ่งของเนื้อเทปจะต้องร้อยผ่านหัวอ่าน/บันทึก การอ่านและบันทึกนั้นจะทำได้เร็วมากคือประมาณ 100, 000 ถึง 300, 000 ตัวอักษรต่อวินาที การหมุนของวงล้อจึงต้องอยู่ในตู้ที่เป็นสุญญากาศ (อุปกรณ์นี้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม (mainframe) เท่านั้น) | tape unit | หน่วยแถบบันทึกหมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) หรือบันทึกข้อมูลลงบนแถบบันทึก การอ่านข้อมูลจากเทปนั้นสามารถอ่านได้ทั้ง 2 ทิศทาง แต่การบันทึกจะสามารถทำได้โดยเดินเทปไปข้างหน้าเพียงทิศทางเดียวเท่านั้น หน่วยขับเทปหรือแถบบันทึกนี้จะมีลักษณะเป็นเสมือนตู้กระจก มองเห็นวงล้อเทปสองวง และจะมีม้วนเทปร้อยติดอยู่ ส่วนหนึ่งของเนื้อเทปจะต้องร้อยผ่านหัวอ่าน/บันทึก การอ่านและบันทึกนั้นจะทำได้เร็วมากคือประมาณ 100, 000 ถึง 300, 000 ตัวอักษรต่อวินาที การหมุนของวงล้อจึงต้องอยู่ในตู้ที่เป็นสูญญากาศมีความหมายเหมือนกับ tape driveดู tape ประกอบ | well-read | (เวล'เรด) adj. อ่านหนังสือมาก, ู้ดีจากการอ่าน |
| coding | (n) การถอดรหัส, การอ่านรหัส | elocution | (n) ศิลปะในการพูด, วิชาการพูด, การอ่านออกเสียง | enunciation | (n) การออกเสียง, การอ่านออกเสียง, การแถลง, การประกาศ, การสาธยาย | perusal | (n) การอ่าน, การพินิจพิจารณา, การตรวจ | reading | (n) การอ่าน, หนังสือสำหรับอ่าน | recitation | (n) การอ่านออกเสียง, การสวด, การท่องอาขยาน, การบรรยาย |
| Dyslexia | (n) ความบกพร่องในการอ่าน หรือ ความบกพร่องในด้านการเรียนรู้ | rying | [ไร'อิง] (n) การอ่าน |
| 今日は | [こんにちは, konnichiwa, konnichiha , konnichiwa] สวัสดี (ใช้ได้โดยทั่วไป แต่ความหมายเฉพาะคือสวัสดีตอนสายถึงช่วงใกล้เวลาเย็น มักมีการอ่านผิดโดยสะกดตรงตัวเป็น konnichiha) |
| faulenzen | (vi) |faulenzte, hat gefaulenzt| เกียจคร้าน ปล่อยเวลาให้ผ่านไปเฉยๆ เช่น Am Wochenende habe ich oft gefaulenzt z.B. im Bett gelesen und ferngesehen. วันเสาร์อาทิตย์ฉันมักอยู่ว่างๆ เฉยๆ ตัวอย่างเช่น โดยการอ่านหนังสือบนเตียงและดูทีวี |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |