มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ | กลองชาตรี | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง มี ๒ หน้า รูปร่างลักษณะคล้ายกลองทัดแต่เล็กกว่ามาก ตีด้วยไม้ ๒ อัน เช่นเดียวกับกลองทัด แต่วิธีการตี ลักษณะของไม้ตี และเสียงจะแตกต่างจากกลองทัด ใช้ร่วมในวงปี่พาทย์ในการแสดงละครชาตรีที่เรียกว่า ปี่พาทย์ชาตรี ใช้ในการบรรเลงเพลงชุดออกภาษาหรือสิบสองภาษา และใช้ประกอบการบรรเลงในเพลงทำนองตะลุง กลองชาตรีมักใช้บรรเลงคู่กับโทน เรียกว่า โทนชาตรี มีชื่อเรียกตามเสียงอีกอย่างหนึ่งว่า กลองตุ๊ก. | กลองต๊อก | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง เป็นของจีนใช้ประกอบในการบรรเลงเพลงสำเนียงจีน มีขนาดเล็ก ตีหน้าเดียวด้วยไม้เล็ก ๆ ๑ คู่. | กลองมริกัน | น. ชื่อกลองฝรั่งชนิดหนึ่ง มีขนาดใหญ่ ขึ้นหนัง ๒ หน้า และตีทั้ง ๒ หน้า ให้เสียงสอดสลับกัน ใช้ไม้ตีข้างละอัน การบรรเลงอาจใช้แขวนหรือวางในแนวตั้ง หรือคล้องคอตีในการบรรเลงในขบวนก็ได้. | กลองสองหน้า | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้ายเปิงมาง แต่ขนาดใหญ่และยาวกว่า ใช้ใบเดียวตีกำกับจังหวะในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง เสภา และกำกับการบรรเลงเพลงเดี่ยวเครื่องดนตรีของวงปี่พาทย์. | กะระนะ | (กะระหฺนะ) น. ชื่อเพลงไทย ใช้ในการบรรเลงและขับร้องในเพลงมโหรี | ขยี้ ๒ | น. วิธีบรรเลงดนตรีโดยเพิ่มพยางค์ในประโยคเพลงให้มากขึ้นกว่าการบรรเลงปรกติ ทำได้ ๒ วิธี คือ เพิ่มโดยเติมพยางค์ก่อนจะถึงลูกตกท้ายประโยค หรือเพิ่มโดยการบรรเลงประโยคนั้นให้เร็วขึ้นเป็นหลายครั้งในเวลาเท่ากับการบรรเลงเดิม. | ชุด ๓ | การบรรเลงเพลงไทยซึ่งมีทำนองคล้ายคลึงกัน เช่น ชุดจีน ชุดแขก | ดุริยางคศาสตร์ | (ดุริยางคะ-) น. วิชาว่าด้วยการบรรเลงเครื่องดุริยางค์ รวมถึงวิชาว่าด้วยทฤษฎีและการปฏิบัติด้านดนตรี. | ดุริยางคศิลป์ | (ดุริยางคะ-) น. ศิลปะของการบรรเลงเครื่องดุริยางค์. | เดี่ยว ๑ | ก. แสดงฝีมือการบรรเลงดนตรีคนเดียวโดยใช้ทางบรรเลงพิเศษ เช่น เดี่ยวปี่ เดี่ยวซอ เดี่ยวระนาด เดี่ยวเปียโน. | ตอด ๓ | น. การบรรเลงดนตรีแบบหนึ่ง ใช้สำหรับการเป่าปี่ ทำเสียงกระตุกสั้น ๆ สลับจังหวะทำนอง เรียกว่า ลูกตอด | ตอด ๓ | ในการบรรเลงแตรวงมีการใช้แตรเป่าเป็นจังหวะ เรียกว่า แตรตอด. | แตรวง | น. วงดนตรีซึ่งประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องลมทองเหลืองจำพวกแตร และเครื่องตีเช่นกลอง จะจัดเป็นวงใหญ่หรือวงเล็กก็ได้ ใช้ในการบรรเลงเพลงต่าง ๆ. | ปี่พาทย์นางหงส์ | น. วงปี่พาทย์ที่ใช้บรรเลงเฉพาะในงานอวมงคล เรียกชื่อตามเพลงซึ่งใช้เป็นหลักในการบรรเลง คือ เพลงเรื่องนางหงส์ อัตรา ๒ ชั้น การประสมเครื่องดนตรีเหมือนวงปี่พาทย์ธรรมดาประสมกับวงบัวลอย แต่ใช้ปี่ชวาแทนปี่ใน ใช้กลองมลายูแทนตะโพนหรือกลองทัด. | ผู้อำนวยเพลง | น. ผู้กำกับและควบคุมการบรรเลงหรือการขับร้องของวงดุริยางค์ วงดนตรี วงนักร้องประสานเสียง ให้มีเอกภาพ รวมทั้งตีความบทเพลงให้สมบูรณ์ โดยปรกติใช้มือ สายตา และสีหน้าท่าทางเป็นสื่อในการให้สัญญาณ, วาทยกร ก็เรียก. | เพลงเสภา | น. เพลงที่มีการบรรเลงแบบรับร้อง. | เพลงหางเครื่อง | น. เพลงที่ใช้บรรเลงต่อท้ายการบรรเลงเพลง ๓ ชั้นหรือเพลงเถา, เพลงท้ายเครื่อง ก็เรียก. | มือ ๒ | น. ใช้ประกอบหน้าชื่อเครื่องดนตรีที่ใช้มือบรรเลง เพื่อหมายถึงผู้ที่มีความชำนาญหรือมีทักษะในการบรรเลงดนตรีนั้น ๆ เช่น มือระนาด มือจะเข้ มือกลอง มือปี่. | ลูกตอด | น. การบรรเลงที่ทำเสียงกระตุกสั้น ๆ สลับจังหวะทำนองเพลง. | วาทนะ | (วาทะ-) น. การประโคม, การบรรเลงดนตรี. | วาทยกร | (วาทะยะกอน, วาดทะยะกอน) น. ผู้กำกับและควบคุมการบรรเลงหรือการขับร้องของวงดุริยางค์ วงดนตรี วงนักร้องประสานเสียง ให้มีเอกภาพ รวมทั้งตีความบทเพลงให้สมบูรณ์ โดยปรกติใช้มือ สายตา และสีหน้าท่าทางเป็นสื่อในการให้สัญญาณ, ผู้อำนวยเพลง ก็เรียก. | ส่ง | น. การบรรเลงหรือขับร้องเมื่อจบท่อนหรือจบเพลง แล้วมีการทอดเสียงส่งต่อให้มีการปฏิบัติต่อไปอีก เช่น ร้องส่ง คือ ร้องจบส่งให้ดนตรีรับ ส่งรำ คือ ดนตรีบรรเลงจบแล้วทอดเสียงให้ผู้รำรำ. | โหมโรง | เพลงเริ่มต้นของการบรรเลงหรือการแสดง เพื่อบอกให้ทราบว่าพิธีหรืองานนั้นได้เริ่มขึ้นแล้ว แบ่งเป็นหลายชนิดตามลักษณะของงานมหรสพที่แสดง และการบรรเลง เช่น โหมโรงเย็น โหมโรงเช้า โหมโรงเทศน์ โหมโรงละคร โหมโรงเสภา. | ออก ๓ | เปลี่ยนการบรรเลงจากเพลงหนึ่งไปเป็นอีกเพลงหนึ่ง เช่น บรรเลงเพลงลมพัดชายเขาจบ ออกเพลงลมหวน | ออกลูกหมด | ก. การบรรเลงต่อท้ายเพลงด้วยทำนองสั้น ๆ ก่อนลงจบ. | อุปรากร | (อุปะรากอน, อุบปะรากอน) น. ละครเพลงประเภทหนึ่ง ดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงผสมผสานการบรรเลงจากวงดุริยางค์. |
|
| | | arpeggio | (อาร์เพจ'จีโอ) n. เสียงดนตรีชนิดมีความถี่ตามกัน แทนที่จะพร้อมกัน, การบรรเลงซอชนิดหนึ่ง. -arpeggiated, arpeggioed adj. | performance | (เพอฟอม'เมินซฺ) n. การกระทำ, การปฏิบัติ, การดำเนินการ, การทำให้บรรลุผลสำเร็จ, การแสดง, การบรรเลง, พฤติการณ์, พฤติกรรม, สมรรถภาพ, สมรรถนะ, Syn. practice, operation, deed, show, play | play | (เพล) n. การเล่น, การละเล่น, การหยอกล้อ, การหยอกเย้า, การแสดง, การบรรเลง, ละคร, เรื่องละคร, การปฏิบัติ vt., vi. เล่น, ล้อเล่น, หยอกเย้า, แสดง, บรรเลง, เล่นละคร, ปฏิบัติ, พนัน, See also: playable adj. playability, n. | prelude | (เพรล'ลูด) n. การแสดงเบิกโรง, ฉากโหมโรง, การบรรเลงนำ, การกระทำเบื้องต้น, สภาพหรือผลงานเบื้องต้น, อารัมภกถา, นิมิต, สิ่งบอกเหตุ, คำนำ vt., vi. นำ, โหมโรง, บรรเลงนำ, เขียนคำนำ., See also: preluder n. preludial adj. preludious, adj. | reading | (รีด'ดิง) n. การอ่าน, การอ่านออกเสียง, การพิจารณากฎหมายตามวิธีของรัฐสภา, ความรู้, การแปล, จำนวนตัวเลขที่อ่านได้จากอุปกรณ์ (เช่นจากปรอทวัดอุณหภูมิ) , การอ่านบทละคร, การบรรเลงดนตรี adj. เกี่ยวกับการอ่าน, ใช้สำหรับอ่าน, Syn. perusal, interpret | repetition | (เรพพิทิช'เชิน) n. การทำซ้ำ, การพูดซ้ำ, สำเนา, สิ่งที่อัดใหม่, เรื่องซ้ำ, จำลอง, การท่อง, การบรรเลงซ้ำ, Syn. redoing | reprise | (รีไพรซ') n. เงินค่าลดหย่อนประจำปี, การบรรเลงซ้ำ, การปรากฎอีก, การปฏิบัติอีก vt. บรรเลงซ้ำ, ชดเชย, ชดใช้ | stick | (สทิค) { stuck, stuck, sticking, sticks } n. กิ่งไม้, ไม้เท้า, ไม้พลอง, ไม้เรียว, ไม้ตีกลอง, ก้าน, คัน, ด้าม, แท่ง, เสา, หนาม, ไม้คุมการบรรเลงของวงดนตรี, การแทง, การทิ่ม, การปัก, การเสียบ, การตอก, การหยุดยั้ง, การหยุดนิ่ง, สิ่งที่ทำให้ชักช้าหรือลำบาก, ความเหนี่ยว, สิ่งที่ทำให้ยึดติดกัน | trio | (ทรี'โอ) n. กลุ่มที่ประกอบ3คน (อัน, ชิ้น...) , ไตรมิตร, การบรรเลงหรือร้องสามครั้ง, กลุ่มนักร้อง3คน, กลุ่มนักแสดง 3คน, ตอง, ไพ่ชุดที่มีแต้มเดียวกัน3ใบ, Syn. threesome | vamp | (แวมพฺ) n. หนังรองเท้า (บู๊ท) ตอนบน, หนังหน้ารองเท้า, สิ่งที่ปะ, สิ่งที่ปะติดปะต่อ, การบรรเลงดนตรีแบบปะติดปะต่อ. vt. ปะด้วยหนังหน้ารองเท้า, ปะติดปะต่อ, บรรเลงดนตรีแบบปะติดปะต่อไม่ได้ดูบท., See also: vamper n. vampish adj. -S... |
| play | (n) การเล่น, การละเล่น, บทละคร, การบรรเลง, การหยอกล้อ |
| 編曲 | [へんきょく, henkyoku] การเรียบเรียงเสียงประสานในการบรรเลงดนตรี |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |