ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การทหาร, -การทหาร- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ การทหาร | (n) military, See also: armed forces, army, Example: การทหารควรแยกออกจากการเมืองอย่างเด็ดขาด | วงการทหาร | (n) military, Syn. แวดวงทหาร, Example: นายทหารคนนี้กระทำตัวเป็นรอยด่างของวงการทหาร สมควรได้รับการลงโทษ, Count Unit: วงการ, Thai Definition: หน่วยงานและกลุ่มบุคคลที่เป็นทหาร | ทางการทหาร | (n) military, See also: armed forces, army force, Example: คอมพิวเตอร์มีบทบาทสำคัญในทางการทหารเพราะอาวุธสมัยใหม่จะมีคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ควบคุมทำให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ, Thai Definition: ด้านการทหาร | ราชการทหาร | (n) military service, See also: fighting service, Ant. ราชการพลเรือน, Example: การที่ท่านสมัครเข้ารับราชการทหาร หมายความว่าท่านพร้อมแล้วที่จะเสียสละทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อส่วนรวม | เสนาธิการทหาร | (n) Chief of Joint Staff, Example: ท่านนายพลจบจปร.รุ่นเดียวกับเสนาธิการทหารคนปัจจุบัน | เสนาธิการทหารบก | (n) Chief of Staff, RTA, Example: ใครจะไม่กล้าให้เกียรติท่านที่เป็นถึงเสนาธิการทหารบกที่มีทั้งอำนาจและอิทธิพล | ผู้บัญชาการทหารบก | (n) Commander-in-Chief, See also: RTA, Syn. ผบ.ทบ., Example: ผู้บัญชาการทหารบกไปเยี่ยมปลอบขวัญทหารบาดเจ็บ, Count Unit: คน, ท่าน | เสนาธิการทหารเรือ | (n) Chief of Staff, RTN, Example: ท่านขึ้นสู่ตำแหน่งรองเสนาธิการทหารเรือก่อนจะเป็นเสนาธิการทหารเรือในปีถัดมา | กองบัญชาการทหารสูงสุด | (n) the Supreme Command Headquarters, See also: headquarters of supreme commander, Example: กองบัญชาการทหารสูงสุดได้สั่งการให้โจมตีข้าศึกได้ทันที, Count Unit: กอง |
|
| กองเกิน | น. ผู้ขึ้นทะเบียนรับราชการทหาร แต่ทางการยังไม่เรียกเข้ารับราชการ. | เกณฑ์ทหาร | ก. เรียกบุคคลมาตรวจเลือกเข้ารับราชการทหารกองประจำการในยามปรกติ. | ข้าราชการ | บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง ทบวง กรม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้าราชการทหาร ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ. | ทหารผ่านศึก | น. ทหารหรือบุคคลซึ่งมีตำแหน่งหน้าที่ในราชการทหาร หรือบุคคลซึ่งทำหน้าที่ทหารตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด และได้กระทำหน้าที่นั้นในการสงครามหรือในการรบไม่ว่าภายในหรือภายนอกราชอาณาจักรหรือในการปราบปรามการจลาจล | นายธง | น. นายทหารเรือคนสนิทของผู้บัญชาการทหารเรือเป็นต้น. | ใบดำ | ใบสลากที่จัดไว้ให้ผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเข้ารับราชการทหารจับ ถ้าจับได้ใบดำก็ไม่ต้องเป็นทหาร. | ใบแดง | ใบสลากที่จัดไว้ให้ผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเข้ารับราชการทหารจับ ถ้าจับได้ใบแดงก็ต้องเป็นทหาร | ภาค, ภาค- | (พาก, พากคะ-) น. ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ภาคต้น หนังสือประวัติศาสตร์ภาคปลาย พงศาวดารภาค ๑, คราว เช่น การศึกษาภาคฤดูร้อน, ส่วนของประเทศที่แบ่งออกเป็นส่วนย่อยเพื่อสะดวกในด้านการปกครอง การศึกษา การทหาร เป็นต้น เช่น เจ้าคณะภาค แม่ทัพภาค. | ยุทโธปกรณ์ | น. วัสดุอุปกรณ์ทั้งปวงและยุทธภัณฑ์ทุกชนิดซึ่งใช้ในราชการทหาร รวมทั้งเครื่องมือยานยนต์ ชิ้นส่วนอะไหล่สาธารณูปโภคอันจำเป็นเพื่อปฏิบัติการรบหรือเพื่อดำรงและสนับสนุนกิจกรรมทางทหารโดยไม่คำนึงถึงว่าจะมีความมุ่งหมายทางธุรการหรือทางการรบ. | รัชชูปการ | น. เงินช่วยราชการตามที่กำหนดเรียกเก็บจากชายฉกรรจ์ที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘-๖๐ ปีที่มิได้รับราชการทหารหรือได้รับการยกเว้นเป็นรายบุคคล เริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชบัญญัติลักษณะการเก็บเงินรัชชูปการ พุทธศักราช ๒๔๖๒). | ราบ | เรียกทหารเดินเท้า ว่า ทหารราบ, เรียกชายฉกรรจ์ที่อายุครบเข้าประจำการทหาร. | ไล่ทหาร | ก. เข้ารับการคัดเลือกเพื่อรับราชการทหารตามหมายเกณฑ์. | วิทยุสนาม | น. การติดต่อสื่อสารด้วยเครื่องรับส่งวิทยุที่ใช้ในงานสนามหรือในราชการทหาร. | ศาลทหาร | น. ศาลที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ ซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทำผิดเป็นบุคคลซึ่งอยู่ในอำนาจศาลทหาร เช่น ทหารพลเรือนที่สังกัดอยู่ในราชการทหาร. | ส่วนหน้า | น. เรียกเขตที่มีการรบ ว่า พื้นที่ส่วนหน้า, เรียกส่วนราชการที่แยกออกไปเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมบังคับบัญชาในการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติงานพิเศษ เช่น เรียกกองบัญชาการทหารสูงสุด ว่า กองบัญชาการทหารสูงสุดส่วนหน้า. | สายยงยศ | น. สายที่ข้าราชการทหารหรือตำรวจใช้เพื่อแสดงสถานะ มี ๓ ชนิด ได้แก่ สายยงยศราชองครักษ์ สายยงยศเสนาธิการ และสายยงยศนายทหารคนสนิท. |
| | Military expenditure | รายจ่ายทางการทหาร [เศรษฐศาสตร์] | Nuclear device | นิวเคลียร์ดีไวซ์, วัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใช้ในทางสันติ การทดสอบ หรือ การทดลอง คำนี้ใช้เพื่อให้แตกต่างจากอาวุธนิวเคลียร์ซึ่งมีการบรรจุพร้อมสำหรับการขนส่งหรือใช้ในการทหาร <br>(ดู nuclear weapon ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] | Combined operations (Military science) | ปฏิบัติการร่วม (การทหาร) [TU Subject Heading] | Command of troops ; Military leadership | ความเป็นผู้นำทางการทหาร [TU Subject Heading] | Low-intensity conflicts (Military science) | ความขัดแย้งแบบลดความรุนแรง (การทหาร) [TU Subject Heading] | Military architerture | สถาปัตยกรรมการทหาร [TU Subject Heading] | Military art and science | การทหาร [TU Subject Heading] | Military education | การศึกษาการทหาร [TU Subject Heading] | Military geography | ภูมิศาสตร์การทหาร [TU Subject Heading] | Military history ; History, Military | ประวัติศาสตร์การทหาร [TU Subject Heading] | Military history, Modern | ประวัติศาสตร์การทหารสมัยใหม่ [TU Subject Heading] | Military planning | การวางแผนการทหาร [TU Subject Heading] | Military policy | นโยบายการทหาร [TU Subject Heading] | Military readiness | ความพร้อมทางการทหาร [TU Subject Heading] | Military service, Voluntary | ราชการทหารอาสาสมัคร [TU Subject Heading] | Military social work | สังคมสงเคราะห์ทางการทหาร [TU Subject Heading] | Military symbols | สัญลักษณ์ทางการทหาร [TU Subject Heading] | Military telecommunication | โทรคมนาคมทางการทหาร [TU Subject Heading] | Military weapons | อาวุธทางการทหาร [TU Subject Heading] | Naval education | การศึกษาวิชาการทหารเรือ [TU Subject Heading] | Surgery, Military | ศัลยกรรมทางการทหาร [TU Subject Heading] | Confidence Building Measures | มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ เป็นมาตรการเพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างรัฐ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง และการทหาร เพื่อลดความหวาดระแวง ลดความขัดแย้ง และสร้างความมั่นใจระหว่างสองฝ่ายหรือหลาย ๆ ฝ่าย อันจะเป็นการส่งเสริมการทูตเชิงป้องกัน ทั้งนี้ CBMs เป็นกระบวนการที่สำคัญในกรอบการประชุม ARF [การทูต] | full dress uniform with sash and decoration without sword | เครื่องแบบเต็มยศ ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด งดคาดกระบี่ (ข้าราชการทหารตำรวจ) [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Joint Commission | คณะกรรมาธิการร่วม " เป็นกลไกความร่วมมือในระดับทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก JC มีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมความสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน วัฒนธรรม และสังคม โดยแต่ละฝ่ายจะสลับกันเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม ซึ่งอาจมีขึ้นปีละครั้งหรือ 2-3 ปีต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความสะดวกของทั้งสองฝ่าย JC อาจมีกลไกย่อยหรือคณะกรรมการภายใต้ JC เพื่อกำกับดูแลเฉพาะเรื่องหรือมีคณะกรรมการในระดับส่วน ภูมิภาค เช่น ไทยกับมาเลเซียมีคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee - GBC) มีบทบาทในการดูแลความร่วมมือด้านการทหารและความมั่นคงบริเวณชายแดน และมีคณะกรรมการจัดทำหลักเขตแดนทางบก (Land Boundary Committee - LBC) เพื่อดูแลการจัดทำหลักเขตแดนระหว่างประเทศทั้งสอง นอกจากนั้น ยังมีคณะกรรมการร่วมทางการค้า (Joint Trade Committee - JTC) ระหว่างไทยกับบางประเทศ เป็นกลไกเพื่อส่งเสริมการค้าและขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน " [การทูต] | North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] | North Atlantic Treaty Organisation | องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2492 เป็นองค์การร่วมมือทางการทหาร มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 19 ประเทศคือ เบลเยี่ยม แคนาดา สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ฮังการี ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส สเปน ตุรกี สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา [การทูต] | strategic partnership | หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เป็นลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศที่มีความใกล้ชิดสนิทสนมอย่างยิ่ง อยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค มีนโยบายและแนวคิดทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหารไปในแนวทางเดียวกัน [การทูต] | War Crimes | อาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร [การทูต] | Western European Union | องค์การความร่วมมือทางด้านการทหารของประเทศในทวีปยุโรป ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ คือ เบลเยี่ยม เยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ สเปน ฝรั่งเศส กรีซ ลักเซมเบิร์ก โปรตุเกส และสหราชอาณาจักร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2501 [การทูต] |
| อัยการทหาร | [aiyakān thahān] (n, exp) EN: judge advocate. | กองบัญชาการทหารสูงสุด | [køngbanchākan thahān sūngsut] (n, exp) EN: the Supreme Command Headquarters ; headquarters of supreme commander FR: grand quartier général [ m ] | กองบัญชาการทหารไทย | [Køngbanchākan Thahān Thai] (org) EN: Royal Thai Armed Forces Headquarters (RTARF HQ) | เผด็จการทหาร | [phadetkān thahān] (n, exp) EN: military dictatorship | ผู้บัญชาการทหาร | [phūbanchākān thahān] (n, exp) EN: commander in chief [ m ] | ผู้บัญชาการทหารอากาศ | [phūbanchākān thahān akāt] (n, exp) FR: commandant de l'armée de l'air [ m ] | ผู้บัญชาการทหารบก | [phūbanchākān thahān bok] (n, exp) EN: Commander-in-Chief ; RTA | ผู้บัญชาการทหารสูงสุด | [phūbanchākān thahān sūngsut] (n, exp) EN: supreme commander FR: chef suprême des armées [ m ] | รับราชการทหาร | [raprātchakān thahān] (v, exp) FR: faire son service (militaire) | ราชการทหาร | [rātchakān thahān] (n, exp) EN: military service | เสนาธิการทหาร | [sēnāthikān thahān] (n, exp) EN: Chief of Joint Staff | เสนาธิการทหารบก | [sēnāthikān thahān bok] (n, exp) EN: Chief of Staff ; RTA | เสนาธิการทหารเรือ | [sēnāthikān thahān reūa] (n, exp) EN: Chief of Staff, RTN | ทางการทหาร | [thāng kān thahān] (x) EN: military ; armed forces ; army force | วงการทหาร | [wongkān thahān] (n, exp) EN: military |
| conventional warfare | (phrase) การยุทธตามรูปแบบ, การทำสงครามโดยใช้อาวุธและยุทธวิธีทางการทหาร ซึ่งแต่ละชนชาติจะเผชิญหน้ากันอย่างเปิดเผย |
| commander in chief | (n) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด, See also: แม่ทัพ, Syn. commandant, head, administrator, chief, leader, captain, dictator, ruler, skipper | counterinsurgency | (n) การกระทำทางการทหารหรือการเมืองที่ใช้ต่อต้านการกบฏ | flagship | (n) เรือสำคัญที่มีผู้บัญชาการทหารของกองทัพเรืออยู่ | generalissimo | (n) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด, See also: แม่ทัพ, จอมทัพ, Syn. commander in chief | hawk | (n) ผู้สนับสนุนนโยบายทางการทหารเพื่อแก้ปัญหาระหว่างประเทศมากกว่านโยบายทางการทูต, See also: ผู้ใฝ่สงคราม | hawkish | (adj) ซึ่งชอบที่จะใช้นโยบายทางการทหารเข้าแก้ปัญหาระหว่างประเทศมากกว่านโยบายทางการทูต, See also: ซึ่งกระหายสงคราม, Ant. dovish | headquarters | (n) กองบัญชาการ (ทางการทหาร), See also: กองบังคับการ, Syn. base | military service | (n) การรับราชการทหาร, See also: ช่วงเวลาเป็นทหาร | sector | (n) เขตป้องกันในความรับผิดชอบของทหารหน่วยหนึ่งๆ (ทางการทหาร), See also: เขตรับผิดชอบของทหาร, Syn. subdivision, division, area, command | tactics | (n) การทหาร, See also: กลยุทธ์ที่ใช้ในการรบหรือทำสงคราม |
| ada | (เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800 | ahq | abbr. Air Headquarters กองบัญชาการทหารอากาศ, Army Headquarters กองบัญชาการทหารเรือ | arpanet | (อาร์ปาเน็ต) ARPA นั้นย่อมาจาก Advanced Research Project Agency เป็นชื่อหน่วยงานที่ทำการวิจัยและทดลองเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วประเทศของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่เชื่อมโยงสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์ที่จะเพิ่มศักยภาพทางการทหารให้แก่กระทรวงกลาโหม ปัจจุบัน เครือข่ายอาร์ปาเน็ต ได้ไปผนวกเข้ากับเครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เป็นเครือข่ายรวมใหญ่ในชื่อว่า "อินเตอร์เน็ต" (Internet) | asc | abbr. Air Service Command หน่วยพลาธิการกองบินทหารบก. Army Service Corps กองพลาธิการทหารบก | commander in chief | (-อินชีฟ) n. ผู้บัญชาการทหารสุงสุด, จอมทัพ, แม่ทัพ, ประธานาธิบดี -pl. (commanders in chief) | conchy | (คอง'ชี) n. การไม่ยอมเข้ารับราชการทหาร | darpanet | (ดาร์พาเน็ต) ย่อมาจาก Defense Advanced Research Projects Agency Network (แปลว่า เครือข่ายสำนักงานโครงการวิจัยขั้นสูงของกระทรวงกลาโหม) เป็นชื่อหน่วยงานที่เป็นเครือข่ายสำนักงานที่ทำโครงการวิจัยขั้นสูงทั่วประเทศของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่เชื่อมโยงสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์ที่จะเพิ่มศักยภาพทางการทหารให้แก่กระทรวงกลาโหม ปัจจุบันเครือข่ายดาร์ปาเน็ต ได้ไปผนวกเข้ากับเครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เป็นเครือข่ายรวมใหญ่ในชื่อว่า "อินเตอร์เน็ต" (internet) ดู internet ประกอบ | generalissimo | n. ผู้บัญชาการทหารสูงสุด | militia | (มิลิช'ชะ) n. กลุ่มทหารกองหนุน, ชายที่มีอยู่ในระหว่างที่เข้าประจำการทหารได้, กลุ่มทหารพลเรือน (ต่างจากทหารอาชีพ) | militiaman | (มิลิช'ชะเมิน) n. ทหารกองหนุน, ทหารพลเรือน, ชายที่มีอายุอยู่ในระหว่างที่เข้าประจำการทหารได้ pl. militiamen | paramilitary | adj. เกี่ยวกับหน่วยเสริมการทหาร | proconsul | (โพรคอน'เซิล) n. ข้าหลวงหรือผู้บัญชาการทหารของมณฑลหรือจังหวัด, ผู้ปกครองอาณาเขตที่ถูกยึดครอง., See also: proconsular adj. | soldier | (โซล'เจอะ) n. ทหาร, ทหารประจำการ, ผู้เชี่ยวชาญการทหาร, ผู้รับใช้, มดหรือปลวกที่มีขากรรไกรแข็งแรง, มดทหาร, ปลวกทหาร vi. เป็นทหาร, ทำหน้าที่ทหาร, หน่วงเหนี่ยวงาน | tactician | (แทคทิช'เชิน) n. นักกลยุทธ, นักการทหาร, นักวางยุทธวิธี | tactics | (แทค'ทิคซฺ) n. ยุทธวิธี, กลยุทธ, การทหาร, Syn. maneuvers, strategy |
| | atlanticist | (n) ผู้นิยมแนวคิดที่สนับสนุนการให้ความร่วมมือกันในทางการเมือง, เศรษฐกิจ, และการทหาร ระหว่างประเทศในยุโรปตะวันตกและอเมริกาเหนือ, See also: Atlanticism | Central Military Commission | (org) คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง | First Sea Lord | (n) สมุหราชนาวี (ตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือสหราชอาณาจักร) | hegemony | มุขยภาพ คืออำนาจครอบงำทางการเมือง, เศรษฐกิจ และการทหารของรัฐหนึ่งเหนือรัฐอื่น | hitch | (n) ช่วงเวลาที่รับราชการทหาร | RTA Commander-in-Chief | (n) ผู้บัญชาการทหารบก | Second Sea Lord | (jargon) รองสมุหราชนาวี (ตำแหน่งรองผู้บัญชาการทหารเรือสหราชอาณาจักร) |
| 指揮幕僚課程 | [しきばくりょうかてい, shikibakuryoukatei] (n) หลักสูตรเสนาธิการทหาร |
| 総督 | [そうとく, soutoku] TH: ผู้บัญชาการทหารสูงสุด EN: governor-general |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |