ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*การขู่*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การขู่, -การขู่-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
การขู่(n) threat, See also: intimidation, Example: การขู่ของเขาเหมือนกับการเขียนเสือให้วัวกลัว

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ยิ้มแสยะก. ยิ้มแบะปากแยกเขี้ยวเป็นการขู่ขวัญให้เกรงกลัวหรือขู่ว่าจะทำร้าย.
เห็นดีก. เห็นประจักษ์ในอำนาจ (มักใช้ในการขู่เด็กหรือผู้น้อย) เช่น เดี๋ยวก็ได้เห็นดีหรอก.
ฮึ่มโดยปริยายหมายถึงการแสดงอาการขู่. ก. แสดงอาการโกรธหรือไม่พอใจ ทำท่าว่าจะลงโทษหรือต่อสู้กัน เช่น เดี๋ยวก็ฮึ่มเสียหรอก เขากำลังฮึ่มเข้าหากัน.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
racketeeringการกรรโชก, การขู่เข็ญ [ ดู extortion ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
racketeeringการกรรโชก, การขู่เข็ญ [ ดู extortion ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
assault๑. การประทุษร้าย๒. การขู่ว่าจะประทุษร้าย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
duress๑. การขู่เข็ญว่าจะทำร้าย (ก. อาญา)๒. การข่มขู่ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
threatขู่, การข่มขู่, การขู่เข็ญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
New World Orderระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต]
Fear Arousing Campaignวิธีการขู่ให้กลัว [การแพทย์]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
การขู่[kān khū] (n) EN: threat  FR: menace [ f ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
blackmail(n) การขู่ว่าจะเปิดโปงความลับ
coercion(n) การบีบบังคับ, See also: การขู่เข็ญ, Syn. compulsion, duress, intimidation
commination(n) การขู่, Syn. threat, denunciation
intimidation(n) การขู่, See also: การข่มขู่, การกรรโชก, Syn. browbeating, coercion
racket(n) กิจกรรมที่ผิดกฎหมาย (คำไม่เป็นทางการ), See also: การหลอกลวง, การติดสินบน, การขู่เข็ญ, Syn. fraud
scare into(phrv) ชักจูงโดยการขู่ให้กลัว, Syn. frighten into, intimidate into, terrify into
terrify(vt) โน้มน้าวโดยการขู่ให้กลัว
threat(n) การคุกคาม, See also: การขู่เข็ญ, Syn. menace, peril, intimidation

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
boot(บูท) { booted, booting, boots } n. รองเท้าหุ้มข้อเท้า, รองเท้าบู๊ท, เครื่องหุ้มคล้ายปลอก, ฝาครอบป้องกัน, ปลอกหุ้มเบาะ, โครงรถ, เครื่องรัดทรมานข้อเท้า, การเตะ, การถีบ, การปลดออก vt. สวมรองเท้าบู๊ท, เตะ, ถีบ เริ่มต้นใหม่เริ่มเครื่องใหม่หมายถึง การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เริ่มต้นทำงาน (ว่ากันว่า คำ "boot" นี้ มาจากคำว่า "bootstrap" เบื้องหลังการใช้คำ ๆ นี้ อยู่ที่การขู่ว่า ถ้าไม่ทำงานแล้วละก็ โดนรองเท้าบู๊ตแน่ ๆ เลย) การเริ่มเครื่องใหม่นั้น โดยปกติ เมื่อกดสวิตช์เปิดแล้ว คอมพิวเตอร์จะเริ่มต้นทำงานด้วยการอ่านจานบันทึกในหน่วยบันทึก A: ถ้าในหน่วยบันทึก A: ไม่มีจานบันทึก ก็จะไปอ่านจานบันทึก C: (จะไม่สนใจหน่วยบันทึก B: เลย) ถ้ามีจานบันทึกใน A: จานบันทึกนั้นจะต้องมีคำสั่งระบบ (แฟ้มข้อมูล command.com) อยู่ คอมพิวเตอร์จึงจะเริ่มต้นทำงานต่อไปได้ ถ้าจานบันทึกใน A: ไม่มีคำสั่งระบบ จะมีรายงานบนจอภาพว่าเป็น "non-system disk" ในกรณีเช่นนี้ต้องเปลี่ยน แผ่น A: หรือดึงแผ่น A: ออก แล้วเริ่มต้นใหม่จาก หน่วยบันทึก C: (ถ้ามี) อนึ่ง การเริ่มเครื่องใหม่นั้น ทำได้ 2 วิธี วิธีแรกเริ่มด้วยการเปิดสวิตช์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ได้อธิบายแล้ว เรียกว่า "cold boot" อีกวิธีหนึ่งที่ใช้เมื่อมีการเปิดเครื่องอยู่ก่อนแล้ว แต่ต้องการเริ่มเครื่องใหม่ หรือเครื่องเกิดขัดข้องหรือค้าง (hang) ให้ กดแป้น CTRL +ALT +DEL เรียกว่า "warm boot"
coercion(โคเออ'เชิน) n. การบังคับ, การบีบบังคับ, การขู่เข็ญ, See also: coercionary adj. coercionist n.
commination(คอมมิเน'เชิน) การประณามหรือขู่ทำโทษ, การขู่ขวัญ., See also: comminatory adj. ดูcommination
extortion(อิคซฺทอร์'เชิน) n. การขู่เข็ญ, การบีบบังคับ, การกรรโชก, การเคี่ยวเข็ญ., See also: extortionary adj., Syn. blackmail
racketeer(แรค'คิเทียร์) n. กิจกรรมต้มคน, กิจกรรมที่ผิดกฎหมาย, การขู่เข็ญเงิน, การฉ้อโกง, กิจกรรมอั้งยี่, Syn. swindler, extortionist
threat(เธรท) n. การคุกคาม, การขู่เข็ญ, ลางร้าย, ลางเตือนภัย, อาการน่ากลัว. vt., vi., คุกคาม, ขู่เข็ญ, เตือนภัย, เป็นลางร้าย., See also: threatful adj. threatfully adv., Syn. danger, menace
thunder(ธัน'เดอะ) n. ฟ้าร้อง, เสียงฟ้าร้อง, เสียงดังสนั่น, เสียงขู่คำราม, การขู่คำราม, vi., vt. (ทำให้เกิด) ส่งเสียงดังสนั่น, ส่งเสียงดังกังวานขู่คำราม, เคลื่อนที่ด้วยเสียงดังสนั่น -Phr. (steal someone's thunder ชิงพูดถึงก่อน, ขโมยใช้สิ่งที่คนอื่นพบก่อน)

English-Thai: Nontri Dictionary
coercion(n) การขู่เข็ญ, การขู่กรรโชก, การบีบบังคับ
exaction(n) ความเข้มงวด, การบีบบังคับ, การเกณฑ์เอามา, การขู่เข็ญเอามา
extortion(n) การบีบคั้น, การขู่เข็ญ, การรีดไถ, การขู่กรรโชก
intimidation(n) การขู่ขวัญ, การทำให้กลัว, การข่มขู่, การคุกคาม
menace(n) การขู่, ห้วงอันตราย, ภัยอันตราย, การคุกคาม
threat(n) คำขู่, การคุกคาม, การขู่เข็ญ, ลางร้าย

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top