Search result for

*กลิ่นฉุน*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: กลิ่นฉุน, -กลิ่นฉุน-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระเทียมน. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i> Allium sativum</i> L. ในวงศ์ Alliaceae คล้ายต้นหอม หัวเป็นกลีบ ๆ เมื่อแห้งสีขาว กลิ่นฉุน รสเผ็ดร้อน ใช้ปรุงอาหาร, พายัพเรียก หอมเตียม, อีสานเรียก หอมขาว, ปักษ์ใต้เรียก เทียม.
กระเทียมโทนน. กระเทียมที่มีหัวเดียว กลิ่นฉุน รสเผ็ดร้อน.
กะทังน. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด <i> Litsea monopetala</i> (Roxb.) Pers. ในวงศ์ Lauraceae มีมากทางปักษ์ใต้ ใบเมื่อขยี้มีกลิ่นฉุนคล้ายการบูร ไม้ใช้ก่อสร้างบ้านเรือนได้.
กะแท้น. ชื่อแมลงพวกมวนหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Cydnidae ลำตัวยาว ๔-๑๒ มิลลิเมตร รูปร่างรูปไข่ ส่วนใหญ่มีสีนํ้าตาลแก่อมดำหรือดำ มักบินเข้าหาแสงไฟ เมื่อจับต้องตัวจะปล่อยกลิ่นฉุนเหม็นติดมือ บางทีคล้ายกลิ่นอุจจาระของคน ที่พบบ่อย ได้แก่ ชนิด <i> Geotomus pygmaeus</i> (Dallas).
กะเพรา(-เพฺรา) น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i> Ocimum</i><i> tenuiflorum</i> L. ในวงศ์ Labiatae กลิ่นฉุน ใช้ปรุงอาหาร พันธุ์ที่กิ่งและก้านใบสีเขียวอมแดงเรียก กะเพราแดง ใช้ทำยาได้.
การบูร(การะบูน) น. ชื่อไม้ต้นชนิด <i> Cinnamomum camphora</i> (L.) J. Presl ในวงศ์ Lauraceae เนื้อไม้มีสารสีขาว กลิ่นฉุนร้อน ซึ่งกลั่นแยกออกมาได้ เรียกว่า การบูร หรือ กรบูร ใช้ทำยา.
กุยช่ายน. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i> Allium tuberosum</i> Roxb. ในวงศ์ Alliaceae คล้ายต้นหอมหรือกระเทียม ใบแบน กลิ่นฉุน กินได้ นำเข้ามาปลูกเพื่อเป็นอาหาร, พายัพเรียก หอมแป้น.
แกง ๓น. ชื่อแมลงพวกมวนหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Pentatomidae ส่วนใหญ่ลำตัวสีน้ำตาลหรือน้ำตาลอ่อน ยาว ๒.๕-๓.๐ เซนติเมตร เมื่อถูกตัวจะปล่อยของเหลว มีกลิ่นฉุน ชนิดที่พบทั่วไป เช่น ชนิด <i> T</i><i> essaratoma javamica</i>Thunberg, <i> T. papillosa</i> (Drury) ดูดกินน้ำเลี้ยงใบลิ้นจี่หรือลำไย, แมลงแคง ก็เรียก.
ข่า ๒น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i> Alpinia galanga</i> (L.) Willd. ในวงศ์ Zingiberaceae มีเหง้า ลำต้นเป็นกอ สูง ๑-๓ เมตร ดอกสีขาว ออกเป็นช่อที่ยอด เหง้ามีกลิ่นฉุน ใช้ปรุงอาหารและทำยาได้.
ขึ้นฉ่ายน. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i> Apium graveolens</i> L. ในวงศ์ Umbelliferae ใบคล้ายผักชีแต่โตกว่า กลิ่นฉุน เป็นพรรณไม้ที่นำเข้ามาปลูกเพื่อเป็นอาหาร.
คนทีสอ(คน-) น. ชื่อไม้พุ่มชนิด <i> Vitex trifolia</i> L. ในวงศ์ Labiatae มักขึ้นในที่โล่งริมนํ้า สูงได้ถึง ๖ เมตร ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ ท้องใบสีนวล เมื่อขยี้มีกลิ่นฉุน ดอกสีครามอ่อน ใช้ทำยาได้, คนทิสอ โคนดินสอ หรือ สีสอ ก็เรียก, พายัพเรียก สีเสื้อน้อย หรือ ผีเสื้อน้อย.
คลอรีน(คฺลอ-) น. ธาตุลำดับที่ ๑๗ สัญลักษณ์ Cl เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊สสีเขียวแกมเหลือง มีกลิ่นฉุนชวนสำลัก เป็นแก๊สพิษ ใช้ประโยชน์ในการฆ่าเชื้อโรคในนํ้าในอุตสาหกรรมผลิตกรดเกลือในการผลิตผงฟอกจาง ยาฆ่าแมลงหลายชนิด เช่น ดีดีที มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบสำคัญ.
งูเห่าน. ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ต้นและหัวเหมือนขมิ้นอ้อย แต่เนื้อสีขาว กลิ่นฉุนเหมือนนํ้ามันดินอ่อน ๆ.
จำปาดะน. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด <i> Artocarpus</i> <i> integer</i> (Thunb.) Merr. ในวงศ์ Moraceae คล้ายต้นขนุน เยื่อหุ้มเมล็ดเนื้อเหลว กลิ่นฉุน กินได้
ชี ๒น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i> Coriandrum sativum</i> L. ในวงศ์ Umbelliferae ทั้งต้นมีกลิ่น ใช้เป็นผัก เรียกว่า ผักชี ดอกเล็กสีขาว ผลกลมมีกลิ่นฉุน เมื่อแก่ใช้เป็นเครื่องเทศ, ชีลา หรือ หอมป้อม ก็เรียก.
ชีฝรั่งน. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i> Eryngium foetidum</i> L. ในวงศ์ Umbelliferae ใบยาวรีขอบจัก กลิ่นฉุน ใช้แต่งกลิ่นอาหารและใช้เป็นผัก.
เบญจมาศ(เบ็นจะมาด) น. ชื่อไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่มขนาดเล็กชนิด <i>Chrysanthemum morifolium</i>Ramat. ในวงศ์ Compositae ใบหนา ใต้ใบมีขนละเอียด รูปใบมีแบบต่าง ๆ ดอกเป็นช่อออกตามปลายกิ่ง มีหลายสี บางพันธุ์โต บางพันธุ์เล็ก บางพันธุ์กลีบดอกซ้อนถี่แน่น บางพันธุ์กลีบดอกยาวบิดเป็นเกลียว ใบหรือกลีบเมื่อขยี้ดมมีกลิ่นฉุน เฉพาะพันธุ์ดอกเล็ก สีขาวกลิ่นหอม เรียก เบญจมาศหนู หรือ เก๊กฮวย ดอกตากแห้งชงกับใบชาหรือต้มกับนํ้าตาล ใช้ดื่มแก้กระหาย.
โบรมีนน. ธาตุลำดับที่ ๓๕ สัญลักษณ์ Br เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของเหลว สีแดงเข้ม ระเหยเป็นไอได้ง่าย มีกลิ่นฉุนจัด เป็นพิษ ระคายเยื่อจมูก เดือดที่ ๕๘.๘ °ซ. สารประกอบของโบรมีนใช้เป็นยาและใช้ในการถ่ายรูป.
ฟอร์มาลดีไฮด์น. แก๊สชนิดหนึ่ง มีสูตร HCHO มีกลิ่นฉุนระคายเยื่อจมูกและเยื่อตา ละลายนํ้าได้ใช้ประโยชน์นำไปทำฟอร์มาลิน พลาสติก สี เป็นต้น.
มวน ๑น. ชื่อแมลงอันดับ Hemiptera เมื่อโตเต็มที่มีปีก ๒ คู่ ปีกคู่หน้าค่อนข้างยาว แคบ เนื้อปีกครึ่งหน้าแข็งครึ่งหลังอ่อน ปีกคู่หลังอ่อนเป็นแผ่นบางตลอด เมื่อพับปีกจะแบนราบแนบไปตามลำตัวด้านหลัง ปากแบบเจาะดูด หลายชนิดปล่อยกลิ่นฉุน และเป็นศัตรูพืช พวกที่อยู่ในวงศ์ Pentatomidae เช่น มวนเขียว [ <i>Rhynchocoris humeralis</i> (Thunberg) ] ทำลายผลส้ม, แมลงแกง [ <i>Tessaratoma javanica</i> (Thunberg) ] ทำลายผลลิ้นจี่และลำไย, ที่อยู่ในวงศ์ Pyrrhocoridae เช่น มวนแดงฝ้าย [ <i>Dysdercus cingulatus</i> (Fabricius) ] ทำลายทุกส่วนของฝ้าย.
มเหาษธ ๒(มะเหาสด) น. ชื่อพรรณไม้ที่มีกลิ่นฉุน เช่น ขิง กระเทียม.
มะแข่นน. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด <i>Zanthoxylum limonella</i> (Dennst.) Alston ในวงศ์ Rutaceae ต้นและกิ่งก้านเป็นหนาม ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๕-๘ คู่ ผลเล็ก มีกลิ่นฉุนจัด ใช้ผลแห้งเป็นเครื่องเทศหรือตำผสมเป็นเครื่องแกง, กำจัด พริกหอม มะข่วง ลูกระมาศ หมากข่วง หรือ หมากมาศ ก็เรียก.
ว่านน้ำน. ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิด ในสกุล Acorus วงศ์ Araceae คือ A. calamus L., พายัพเรียก กะส้มชื่น และ A. gramineus Sol. ex Aition ชอบขึ้นอยู่ในที่ชื้นแฉะ เหง้ามีกลิ่นฉุนแรง.
ส้ม ๑น. ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล <i>Citrus</i> วงศ์ Rutaceae ใบ ดอก และผิวผลมีต่อมนํ้ามัน กลิ่นฉุน ผลรสเปรี้ยวหรือหวาน กินได้ เช่น ส้มซ่า (<i>C. aurantium</i>L.) ส้มโอ [ <i>C. maxima</i> (Burm.)Merr<i></i>. ] ส้มแก้ว (<i>C. nobilis</i>Lour.) ส้มจุก ส้มเขียวหวาน ส้มจันทบูร (<i>C. reticulata</i>Blanco) ส้มเกลี้ยง ส้มเช้ง [ <i>C. sinensis</i> (L.) Osbeck ], ถ้าผลไม้จำพวกนี้มี มะ อยู่หน้า มักตัดคำ ส้ม ออก เช่น ส้มมะนาว ส้มมะกรูด เป็น มะนาว มะกรูด.
สะระแหน่(-แหฺน่) น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i>Mentha cordifolia</i> Opiz ex Fresen. ในวงศ์ Labiatae ใบมีกลิ่นฉุน กินได้.
สาบแร้งสาบกาน. ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในวงศ์ Compositae ใบมีขน กลิ่นฉุน คือ ชนิด <i>Ageratum conyzoides</i> L. ดอกสีฟ้าอ่อน และชนิด <i>Blumea aurita</i> (L. f.) DC. ดอกสีขาว ต้นสูงกว่าชนิดแรก.
หนาดน. ชื่อไม้พุ่มชนิด <i>Blumea balsamifera</i> (L.) DC. ในวงศ์ Compositae ใบใหญ่มีขน กลิ่นฉุน ใช้ทำยาได้ เชื่อกันว่าผีกลัว, หนาดใหญ่ ก็เรียก.
หอม ๑น. ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวหลายชนิดในสกุล <i>Allium</i> วงศ์ Alliaceae กลิ่นฉุน ใช้ปรุงอาหาร เช่น หอมใหญ่ หอมหัวใหญ่ หรือ หอมฝรั่ง (<i>A. cepa</i> L.), หอม หอมหัว หรือ หอมแกง (<i>A. ascalonicum</i> L.) ชนิดหลังนี้มักเรียก หอมแดง.
หูเสือน. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด<i>Plectranthus</i> <i>amboinicus</i> (Lour.) Spreng. ในวงศ์ Labiatae ใบกลม แข็ง กรอบ มีขน กลิ่นฉุน กินได้, เนียมหูเสือ ก็เรียก.
แห้วหมูน. ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด <i>Cyperus rotundus</i> L. ในวงศ์ Cyperaceae หัวมีกลิ่นฉุน ใช้ทำยาได้, หญ้าแห้วหมู ก็เรียก.
โหระพาน. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i>Ocimum basilicum</i> L. ในวงศ์ Labiatae ใบมีกลิ่นฉุน กินได้.
แอมโมเนียน. สารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร NH<sub>3</sub> ลักษณะเป็นแก๊สไม่มีสี กลิ่นฉุน ละลายนํ้าได้ดี ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมทำปุ๋ย กรดไนตริก ใยสังเคราะห์ เป็นตัวทำความเย็น.
แอลกอฮอล์น. สารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นของเหลวใส กลิ่นฉุน ระเหยง่าย มีจุดเดือด ๗๘.๕ ํซ. ชื่อเต็มคือ เอทิลแอลกอฮอล์ แต่มักเรียกกันสั้น ๆ ว่า แอลกอฮอล์ โดยปรกติเกิดขึ้นจากการหมักสารประเภทแป้งหรือนํ้าตาลผสมยีสต์ ซึ่งมักเรียกกันว่า แป้งเชื้อหรือเชื้อหมัก เป็นองค์ประกอบสำคัญของสุราและเมรัยทุกชนิด เมื่อดื่มเข้าไปจะออกฤทธิ์ทำให้มีอาการมึนเมา ใช้ประโยชน์เป็นตัวทำละลาย และเป็นเชื้อเพลิง เป็นต้น.
โอโซนน. แก๊สชนิดหนึ่ง สีนํ้าเงิน กลิ่นฉุน เป็นอัญรูปของธาตุออกซิเจน มีสูตร O<sub>3</sub> ใช้ประโยชน์ฆ่าเชื้อโรคในนํ้าเพื่อใช้เป็นนํ้าดื่ม ใช้ฟอกจางสีของสารอินทรีย์บางอย่างเช่นเส้นใยที่ใช้ทอผ้า.

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Ammoniaก๊าซไม่มีสี มีกลิ่นฉุนแสบจมูก ละลายน้ำได้สารละลายมีฤทธิ์เป็นด่าง ใช้เป็นสารรักษาสภาพของน้ำยาง [เทคโนโลยียาง]
bromineโบรมีน, ธาตุในหมู่เฮโลเจนหรือหมู่ VII ของตารางธาตุ มีเลขอะตอม 35 สัญลักษณ์ Br เป็นของเหลวสีแดงเข้ม กลิ่นฉุนแสบจมูกและเป็นพิษ มีจุดเดือด 58.8oC ใช้ทำสารประกอบในการถ่ายรูปและทำยา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ammoniaแอมโมเนีย, แก๊สไม่มีสี มีกลิ่นฉุนแสบจมูก  สูตรเคมีคือ NH3 ละลายน้ำได้สารละลายเป็นเบส ใช้ในอุตสาหกรรมทำวัตถุระเบิดและทำปุ๋ย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Mousyกลิ่นฉุนแบบหนู [การแพทย์]

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
I got the sheet right in front of me, and I got my reading glasses on.หลังจากถูกเผา มีกลิ่นฉุนรุนแรง, Deja Vu (2006)
A chemical irritant which causes people to have a very predictable reaction.เป็นสารเคมีที่มีกลิ่นฉุน ซึ่งคนทั่วไป รู้ล่วงหน้าถึงปฏิกริยาตอบสนอง Lucky Thirteen (2008)
Smells terrific, doesn't it?กลิ่นฉุนมาก ไปไหมค่ะ Great Sausage or Can I Call You Dick? (2009)
It had a strong nose, with hints of apple, and then a very sour finish.มีกลิ่นฉุนๆของแอปเปิ้ล และจากนั้นก็เปรี้ยวมากๆ Chuck Versus First Class (2010)
It's a--it's a strong smell, like, uh... spicy, มีกลิ่นอะไรแปลกๆ กลิ่นฉุน Pretty Red Balloon (2011)

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
กลิ่นฉุน[klin chun] (n, exp) FR: odeur acide [ f ] ; odeur piquante [ f ] ; odeur forte [ f ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
camphor(n) สารสีขาวมีกลิ่นฉุน, See also: การบูร
gamey(adj) ซึ่งมีกลิ่นฉุน, See also: มีกลิ่นรุนแรง, Syn. strong-tasting, tangy
gamy(adj) ซึ่งมีกลิ่นฉุน, See also: มีกลิ่นรุนแรง, Syn. strong-tasting, tangy
odoriferously(adv) โดยมีกลิ่นแรง, See also: อย่างมีกลิ่นหอม, อย่างสิ่งกลิ่นฉุน
tang(n) กลิ่นแรง, See also: กลิ่นฉุน

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
fruity(ฟรูท'ที) adj. คล้ายผลไม้, มีกลิ่นรุนแรง, มีกลิ่นฉุน, หลานม
funk(ฟังคฺ) n. ความกลัว, อารมณ์หดหู่, อารมณ์เศร้าสลด., กลิ่นฉุน vt. ทำให้กลัว, หดถอย vi. หลบหลีก, See also: funker n.
gingery(จิน'จะรี) adj. คล้ายขิง, กลิ่นฉุน, เผ็ดอย่างออกรส, สีขิง (เหลืองอมน้ำตาลแดง)
tang(แทง) n., vt. (ทำให้) รสเข้มข้น, รสจัด, กลิ่นแรง, กลิ่นฉุน, ลักษณะเฉพาะ, ความหมาย, Syn. piquancy, bite

English-Thai: Nontri Dictionary
tang(n) รสจัด, กลิ่นฉุน, ความหมาย, ลักษณะเฉพาะ

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top