มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ institution | (n) ธรรมเนียม, See also: ขนบประเพณี, สิ่งที่ปฏิบัติกันมานาน, Syn. convention, custom, practice | institution | (n) สถาบัน, See also: องค์กรสำคัญๆ เช่น มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ธนาคาร, Syn. academy, foundation, institute | institutional | (adj) เกี่ยวกับสถาบัน, See also: เกี่ยวกับระบบ, เกี่ยวกับองค์กรสำคัญๆ เช่น มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ธนาคาร, Syn. convention, custom, practice |
|
| institution | (อินสทิทิว'เชิน) n. สถาบัน, หน่วยงาน, สถานที่ตั้งของสถาบัน, See also: institutional adj. |
| institution | (n) การจัดตั้งขึ้น, หน่วยงาน, สถาบัน | institutional | (adj) เกี่ยวกับสถาบัน, เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม, เกี่ยวกับหลักฐาน |
| | Institutional advertising | โฆษณาเพื่อการประชาสัมพันธ์ [TU Subject Heading] | Institutional care | การสงเคราะห์และดูแล [TU Subject Heading] | Institutional investors | ผู้ลงทุนสถาบัน, Example: ผู้ลงทุนดังต่อไปนี้ 1.ธนาคารพาณิชย์ 2.บริษัทเงินทุน 3. บริษัทหลักทรัพย์ที่ซื้อหน่วยลงทุนเพื่อเป็นทรัพย์สินของตนเอง หรือเพื่อการบริหารกองทุนส่วนบุคคล หรือเพื่อการจัดการโครงการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจฟองซิเอร์ 4. บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ 5. บริษัทประกันภัย 6. นิติบุคคลที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นซึ่งมิได้เป็นบุคคลตาม ข้อ 9 7. ธนาคารแห่งประเทศไทย 8. สถาบันการเงินระหว่างประเทศ 9. ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ 10. กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน 11. กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ 12. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 13. กองทุนรวมตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 14. นิติบุคคลที่มีเงินลงทุนในหลักทรัพย์ตามงบการเงินปีล่าสุดที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้วตั้งแต่หนึ่งร้อยล้านบาทขึ้นไป 15. นิติบุคคลซึ่งมีผู้ถือหุ้นเป็นบุคคลตามข้อ 1 ถึงข้อ 14 ถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของจำนวนหุ้น ที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด 16. ผู้ลงทุนต่างประเทศซึ่งมีลักษณะเดียวกับผู้ลงทุนตามข้อ 1 ถึง ข้อ 15 17. ผู้ลงทุนที่มิใช่ผู้ลงทุนตามข้อ 1 ถึง ข้อ 16 ซึ่งซื้อหน่วยลงทุนตั้งแต่สิบล้านบาทขึ้นไป [ตลาดทุน] | Institutional repository | คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน, Example: Institutional Repository หรือ คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน นั้น หมายถึง คลังเก็บทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล อันเป็นภูมิปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงาน องค์กร ซึ่งมีการจัดเก็บเป็นศูนย์รวม มีการสงวนรักษา และมีการจัดทำดัชนีที่ได้มาตรฐาน สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นได้ [ 1 ] หรือกล่าวได้ว่า คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันเป็นบริการหรือหน้าที่ของมหาวิทยาลัย/องค์กร ในการจัดการและเผยแพร่งานในรูปแบบดิจิทัลอันเป็นผลงานหรือผลผลิตของคณาจารย์ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา หรือสมาชิกในประชาคมนั้นๆ และผู้ใช้ทั้งภายในและภายนอกสามารถเข้าถึงได้ [ 2, 3 ] ซึ่งผลงานเหล่านั้น นอกจากจะเป็นรายงานที่กำลังดำเนินงาน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แล้ว ยังหมายรวมถึงงานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ (grey literature) ซึ่งมีเป็นจำนวนมากในวัฒนธรรมของการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเรื่องยากที่บรรณารักษ์ที่จะรวบรวม จัดเก็บ และสงวนรักษาไว้อย่างเป็นระบบ [ 4 ] <p> คุณลักษณะที่สำคัญของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p>จอห์นสัน [ 3 ] กล่าวว่า การจัดทำคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะดังนี้ <p> 1. เนื้อหาที่เป็นดิจิทัล (Digital content) ในระบบของคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้นเก็บผลงานที่เป็นดิจิทัลเท่านั้น <p> 2. การเน้นงานที่สร้างโดยสมาชิกของสถาบัน (Institutionally-defined) การจัดทำคลังเก็บระดับสถาบันเน้นการจัดเก็บผลงานของสมาชิกในประชาคมนั้นๆ เท่านั้น <p> 3. เนื้อหาทางวิชาการ (Scholarly content) เนื้อหา ที่นำมาจัดเก็บในคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้น เน้นเนื้อหาทางวิชาการ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันในการรวบรวม การสงวนรักษา และการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ซึ่งผลงานเหล่านี้อาจหมายรวมถึง ผลงานก่อนตีพิมพ์ และผลงานที่อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน บทความที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา หนังสือ สื่อการสอน ชุดข้อมูล บทความเสนอการประชุม วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และวรรณกรรมไม่ตีพิมพ์ เป็นต้น การควบคุมและการจัดการการเข้าถึงเนื้อหาทางวิชาการเหล่านี้ จำเป็นต้องอาศัยนโยบายและกลไกที่เหมาะสม รวมทั้งการบริหารจัดการด้านเนื้อหาและระบบการควบคุมเอกสาร (document version control systems) กรอบนโยบายและโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิคของคลังเก็บต้องเอื้ออำนวยให้ผู้ จัดการคลังเก็บมีความยืดหยุ่นต่อการควบคุมระบบ ใครเป็นผู้ที่สามารถรับรอง (approve) เข้าถึง (access) แก้ไข (update) ผลงานดิจิทัลเหล่านั้นที่มาจากต่างแหล่งกันในชุมชนนั้นๆ <p> 4. การสะสมเพิ่มพูน และความยั่งยืน (Cumulative and perpetual) ในส่วนของการเป็นคลังเก็บจะต้องมีการสะสมผลงาน ผลงานเมื่อมีการนำเข้าคลังเก็บแล้ว ไม่ควรมีการถอดถอนออกจากคลัง ยกเว้นแต่มีเหตุจำเป็น เช่น งานนั้นมีการละเมิดลิขสิทธิ์ เป็นต้น การเป็นคลังเก็บจึงต้องพัฒนาเกณฑ์และนโยบาย รวมทั้งนำระบบการจัดการสิทธิ์ (right management) มาประยุกต์ใช้ ในการอนุญาตให้เข้าถึงเนื้อหาในคลังเก็บทั้งจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภาย นอก รวมทั้งต้องมีระบบการสงวนรักษาผลงาน และสามารถให้เข้าถึงได้ในระยะยาวได้ <p> 5. การทำงานร่วมกันได้และการเข้าถึงแบบเปิด/แบบเสรี (Interoperable and open access) คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่งของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน คือ การสามารถให้มีการเข้าถึงได้แบบเปิด / แบบเสรี หรือมีปัญหาในการเข้าถึงให้น้อยที่สุด (เช่น การต้องลงทะเบียนในการเข้าใช้) ในส่วนของการเป็นระบบที่สามารถทำงานร่วมกันได้นั้น เป็นเรื่องทางเทคนิคที่มีการนำการเก็บถาวรแบบเปิด หรือ Open Archives Initiative (OAI) มาใช้เพื่อเป็นแนวทางการกำหนดมาตรฐานสำหรับการเก็บรักษาในเชิงบันทึกถาวร และสามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนเมทาดาทาทำให้สามารถสืบค้น และเรียกใช้ข้อมูลข้ามระบบกันได้ <p>ประโยชน์ของการมีคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p> 1. ทำให้เกิดระบบการรวบรวม สงวนรักษา และเผยแพร่เนื้อหาทางวิชาการ <p> 2. เป็นเสมือนตัวชี้วัดของคุณภาพทางวิชาการของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย โดยมุ่งที่รวมเอางานทางปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย มาไว้ในที่เดียวกัน และสามารถเข้าถึงได้ทั่วโลก <p> 3. เป็นการสงวนรักษาทรัพย์สินทางปัญญาในรูปดิจิทัล <p> 4. เป็นเสมือนพื้นฐานของกระบวนทัศน์ใหม่ในการพิมพ์ผลงานทางวิชาการ <p> 5. เป็นการสื่อสารทางวิชาการ (scholarly communication) <p> 6. เป็นการจัดการความรู้ <p> 7. เป็นการสนับสนุนเรื่องการเข้าถึงโดยเสรี <p>รายการอ้างอิง: <p>[ 1 ] “What is an Institutional Repository”. [ On-line ]. Available: http://library.ucalgary.ca/libraryinformation/dspace/whatisaninstitutionalrepository.php. Visited: 12/08/2007 10.30. <p>[ 2 ] Lynch, Clifford A. “Institutional repository : essential infrastructure for scholarship in the digital age.” ARL 226 (February 2003): 1-7 [ On-line ]. Available: http://www.arl.org/resources/pubs/br/br226/br226ir.shtml. Visited: 12/08/2007 10.34. <p>[ 3 ] Johnson, Richard K. “Institutional repositories : partnering with faculty to enhance scholarly communication.” D-Lib Magazine V.8 No.11 (November 2002) [ On-line ]. Available: http://www.dlib.org/dlib/november02/johnson/11johnson.html. Visited: 12/08/10.52. <p>[ 4 ]Tennant, Roy. “Institutional Repositories”. Library Journal 9, 15 (2002). [ On-line ]. Available: http://www.libraryjournal.com/index.asp?layout=article&articleid=CA242297&publication=libraryjournal. Visited: 13/08/2007. 10.51. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Institutionalization | สถานเลี้ยงดูเด็ก [การแพทย์] |
| | | | สถาบัน | (n) institution, Count Unit: สถาบัน | สถาบันอุดมศึกษา | (n) institution of education, Syn. มหาวิทยาลัย, วิทยาลัย | สถาบัน | (n) institute, See also: institution, Example: ข้อมูลการศึกษาของนักศึกษานานาชาติในสถาบันนี้ ไม่สามารถค้นหาได้ในเมืองไทย, Count Unit: สถาบัน, Thai Definition: สิ่งซึ่งคนในส่วนรวม คือ สังคม จัดตั้งให้มีขึ้นเพราะเห็นประโยชน์ว่ามีความต้องการ และจำเป็นแก่วิถีชีวิตของตน โดยมากตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ |
| กฎหมายเกี่ยวกับสถาบันการเงิน | [kotmāi kīokap sathāban kānngoen] (n, exp) EN: financial institution law | พันธนาคาร | [phanthanākhān] (n, exp) EN: penal institution ; prison | สถาบัน | [sathāban] (n) EN: institution ; institute ; organ FR: institution [ f ] ; institut [ m ] ; organisation [ f ] ; organisme [ m ] | สถาบันการเมือง | [sathāban kānmeūang] (n, exp) EN: political institution FR: institution politique [ f ] | สถาบันการเงิน | [sathāban kānngoen] (n, exp) EN: financial institution FR: institution financière [ f ] | สถาบันการศึกษา | [sathāban kānseuksā] (n, exp) EN: academic institution ; academy ; educational institution FR: institution académique [ f ] | สถาบันครอบครัว | [sathāban khrøpkhrūa] (n, exp) EN: family institution ; family unit | สถาบันสังคม | [sathāban sangkhom] (n, exp) EN: social institution ; social institute FR: institution sociale [ f ] | สถาบันศาสนา | [sathāban sātsanā] (n, exp) EN: religious institution FR: institution religieuse [ f ] | สถาบันสงฆ์ | [sathāban song] (n, exp) EN: monastery institution |
| | | institution | (n) an organization founded and united for a specific purpose, Syn. establishment | institution | (n) an establishment consisting of a building or complex of buildings where an organization for the promotion of some cause is situated | institution | (n) a custom that for a long time has been an important feature of some group or society | institutional | (adj) relating to or constituting or involving an institution | institutional | (adj) organized as or forming an institution, Ant. noninstitutional | institutionally | (adv) by an institution |
| Institution | n. [ L. institutio: cf. F. institution. ] [ 1913 Webster ] 1. The act or process of instituting; as: (a) Establishment; foundation; enactment; as, the institution of a school. [ 1913 Webster ] The institution of God's law is described as being established by solemn injunction. Hooker. (b) Instruction; education. [ Obs. ] Bentley. (c) (Eccl. Law) The act or ceremony of investing a clergyman with the spiritual part of a benefice, by which the care of souls is committed to his charge. Blackstone. [ 1913 Webster ] 2. That which instituted or established; as: (a) Established order, method, or custom; enactment; ordinance; permanent form of law or polity. [ 1913 Webster ] The nature of our people, Our city's institutions. Shak. (b) An established or organized society or corporation; an establishment, especially of a public character, or affecting a community; a foundation; as, a literary institution; a charitable institution; also, a building or the buildings occupied or used by such organization; as, the Smithsonian Institution. (c) Anything forming a characteristic and persistent feature in social or national life or habits. [ 1913 Webster ] We ordered a lunch (the most delightful of English institutions, next to dinner) to be ready against our return. Hawthorne. [ 1913 Webster ] 3. That which institutes or instructs; a textbook; a system of elements or rules; an institute. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] There is another manuscript, of above three hundred years old, . . . being an institution of physic. Evelyn. [ 1913 Webster ] | Institutional | a. 1. Pertaining to, or treating of, an institution or institutions; as, institutional legends. [ 1913 Webster ] Institutional writers as Rousseau. J. S. Mill. [ 1913 Webster ] 2. Instituted by authority. [ 1913 Webster ] 3. Elementary; rudimental. [ 1913 Webster ] | Institutionary | a. 1. Relating to an institution, or institutions. [ 1913 Webster ] 2. Containing the first principles or doctrines; elemental; rudimentary. [ 1913 Webster ] |
| | 出身 | [しゅっしん, shusshin] (n, adj-no) (1) person's origin (town, city, country, etc.); (2) institution from which one graduated; (3) director in charge of employee relations; (P) #155 [Add to Longdo] | 大学(P);大學(oK) | [だいがく, daigaku] (n) (1) (See 総合大学) post-secondary education institution, incl. university, college, etc.; (2) (abbr) (See 大学寮, 国学・こくがく・2) former central university of Kyoto (established under the ritsuryo system for the training of government administrators); (3) (See 四書) the Great Learning - one of the Four Books; (P) #195 [Add to Longdo] | 機関 | [きかん, kikan] (n) (1) engine; (2) agency; organisation; organization; institution; organ; body; (3) system; facility; facilities; (P) #400 [Add to Longdo] | 設置 | [せっち, secchi] (n, vs) (1) establishment; institution; (2) installation (of a machine or equipment); (P) #482 [Add to Longdo] | 施設 | [しせつ, shisetsu] (n, vs) (1) institution; establishment; facility; (2) (army) engineer; (P) #484 [Add to Longdo] | 院 | [いん, in] (n) (1) (hon) imperial palace; (2) emperor (or his empress, imperial princesses, etc.); (suf) (3) temple; (4) institution (esp. a government office, school, hospital, etc.); (5) suffix used in posthumous names (esp. of emperors, daimyos, etc.) #629 [Add to Longdo] | 県立 | [けんりつ, kenritsu] (adj-no, n) prefectural (institution); (P) #709 [Add to Longdo] | 制度 | [せいど, seido] (n, adj-no) system; institution; organization; organisation; (P) #1,161 [Add to Longdo] | 公立 | [こうりつ, kouritsu] (n) public (institution); (P) #1,631 [Add to Longdo] | 別当 | [べっとう, bettou] (n) (1) groom; footman; stableman; equerry; (2) steward; intendant; (3) (arch) head of an institution, edp. religious; head of one institution serving also as the head of another #17,486 [Add to Longdo] |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |