ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ยา ๒-, *ยา ๒* |
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา -ยา ๒- มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *ยา ๒*) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ยา ๒ | ว. ใช้ประกอบคำ พี่ น้อง ลูก ว่า พี่ยา น้องยา ลูกยา, ใช้ในราชาศัพท์หมายความว่า เพศชาย เช่น พระเจ้าลูกยาเธอ. | กฤตยา ๒, กฤติยา | (กฺริดตะ-, กฺริดติ-) น. เสน่ห์, อาถรรพณ์, เช่น มนตร์กฤตยานั้นซั้น เสื่อมสิ้นทุกอัน (โลกนิติ), หาแม่มดถ้วนหน้า หมู่แก้ กฤติยา (ลอ). | เจ้าพระยา ๒ | น. ชื่อมะเขือพันธุ์หนึ่งของชนิด Solanum melongena L. ในวงศ์ Solanaceae. | ฉายา ๒ | น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น นางนาฏแม่ฉายา (มโนห์รา). | ชายา ๒ | น. เมีย. (ป., ส.), บางแห่งใช้หมายความว่า ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น บรรหารท่านหา แขกค้าเคียมครร ถามเขาเขาบรรยายโฉมชายา (สรรพสิทธิ์), เสียงพูดเป็น ฉายา ฉัยยา ไฉยา หรือ สายา ก็มี. | ทยา ๒ | (ทะ-) ว. ดี, สำคัญ, ต้องการ, เช่น ของทยาของเจ้าตะเภาทอง (ไกรทอง), กูจะให้ขนมเข่งของทยา กินอร่อยหนักหนาประสาจน (สังข์ทอง). | น้ำยา ๒ | น. ความสามารถในทางใดทางหนึ่ง (มักใช้ในทางตำหนิ) เช่น ไม่มีนํ้ายา หรือ หมดนํ้ายา หมายความว่า ไม่มีสติปัญญาความสามารถ หรือ หมดความสามารถ. | พัทธยา ๒ | น. เรียกลมที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในต้นฤดูฝน ว่า ลมพัทธยา. | เยา ๒ | ว. เบา, อ่อน, น้อย เช่น ราคาเยา, มักใช้เข้าคู่กับคำ ย่อม เป็น ย่อมเยา เช่น ราคาย่อมเยา. | สังขยา ๒ | (-ขะหฺยา) น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง โดยมากทำด้วยไข่ขาว นํ้าตาล และกะทิ, ถ้าทำเป็นหน้าข้าวเหนียวไม่ใส่กะทิ | สังขยา ๒ | ขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยไข่ น้ำตาลทราย กะทิหรือนมข้น บางทีมีน้ำใบเตยเล็กน้อย กวนในกระทะ กินกับขนมปัง. | ขนาน ๑ | ลักษณนามเรียกยาที่ปรุงขึ้น เช่น ยาขนานหนึ่ง ยา ๒ ขนาน. | ฉัยยา | น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เขียนเป็น ไฉยา ก็มี เช่น เมื่อนั้น นางรจนาไฉยา แลเห็นสมเด็จพระมารดา กัลยาออกมารับทันที (บทละครสังข์ทอง). (ดู ชายา ๒). | ไฉยา | น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น เมื่อนั้น นางรจนาไฉยา แลเห็นสมเด็จพระมารดา กัลยาออกมารับทันที (บทละครสังข์ทอง), เขียนเป็น ฉัยยา ก็มี. (ดู ชายา ๒). | ชาเยนทร์, ชาเยศ | ดู ชายา ๒. | เทียบ ๒ | น. ชุดยาจีน เช่น ยาเทียบหนึ่ง ยา ๒ เทียบ. | วัน ๑ | น. ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน |
| กฤตยา ๒, กฤติยา | (กฺริดตะ-, กฺริดติ-) น. เสน่ห์, อาถรรพณ์, เช่น มนตร์กฤตยานั้นซั้น เสื่อมสิ้นทุกอัน (โลกนิติ), หาแม่มดถ้วนหน้า หมู่แก้ กฤติยา (ลอ). | เจ้าพระยา ๒ | น. ชื่อมะเขือพันธุ์หนึ่งของชนิด Solanum melongena L. ในวงศ์ Solanaceae. | ฉายา ๒ | น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น นางนาฏแม่ฉายา (มโนห์รา). | ชายา ๒ | น. เมีย. (ป., ส.), บางแห่งใช้หมายความว่า ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น บรรหารท่านหา แขกค้าเคียมครร ถามเขาเขาบรรยายโฉมชายา (สรรพสิทธิ์), เสียงพูดเป็น ฉายา ฉัยยา ไฉยา หรือ สายา ก็มี. | ทยา ๒ | (ทะ-) ว. ดี, สำคัญ, ต้องการ, เช่น ของทยาของเจ้าตะเภาทอง (ไกรทอง), กูจะให้ขนมเข่งของทยา กินอร่อยหนักหนาประสาจน (สังข์ทอง). | น้ำยา ๒ | น. ความสามารถในทางใดทางหนึ่ง (มักใช้ในทางตำหนิ) เช่น ไม่มีนํ้ายา หรือ หมดนํ้ายา หมายความว่า ไม่มีสติปัญญาความสามารถ หรือ หมดความสามารถ. | พัทธยา ๒ | น. เรียกลมที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในต้นฤดูฝน ว่า ลมพัทธยา. | ยา ๒ | ว. ใช้ประกอบคำ พี่ น้อง ลูก ว่า พี่ยา น้องยา ลูกยา, ใช้ในราชาศัพท์หมายความว่า เพศชาย เช่น พระเจ้าลูกยาเธอ. | เยา ๒ | ว. เบา, อ่อน, น้อย เช่น ราคาเยา, มักใช้เข้าคู่กับคำ ย่อม เป็น ย่อมเยา เช่น ราคาย่อมเยา. | สังขยา ๒ | (-ขะหฺยา) น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง โดยมากทำด้วยไข่ขาว นํ้าตาล และกะทิ, ถ้าทำเป็นหน้าข้าวเหนียวไม่ใส่กะทิ | สังขยา ๒ | ขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยไข่ น้ำตาลทราย กะทิหรือนมข้น บางทีมีน้ำใบเตยเล็กน้อย กวนในกระทะ กินกับขนมปัง. | ขนาน ๑ | ลักษณนามเรียกยาที่ปรุงขึ้น เช่น ยาขนานหนึ่ง ยา ๒ ขนาน. | ฉัยยา | น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เขียนเป็น ไฉยา ก็มี เช่น เมื่อนั้น นางรจนาไฉยา แลเห็นสมเด็จพระมารดา กัลยาออกมารับทันที (บทละครสังข์ทอง). (ดู ชายา ๒). | ไฉยา | น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น เมื่อนั้น นางรจนาไฉยา แลเห็นสมเด็จพระมารดา กัลยาออกมารับทันที (บทละครสังข์ทอง), เขียนเป็น ฉัยยา ก็มี. (ดู ชายา ๒). | ชาเยนทร์, ชาเยศ | ดู ชายา ๒. | เทียบ ๒ | น. ชุดยาจีน เช่น ยาเทียบหนึ่ง ยา ๒ เทียบ. | วัน ๑ | น. ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |