Potassium | โพแทสเซียม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Potassium iodide | โพแทสเซียมไอโอไดด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Coolant | ตัวทำให้เย็น, สารระบายหรือถ่ายโอนความร้อนที่หมุนเวียนในระบบระบายความร้อนของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เช่น น้ำ น้ำมวลหนัก อากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ โซเดียมเหลว และโลหะผสมโซเดียม-โพแทสเซียม [นิวเคลียร์] |
Terrestrial radiation | รังสีจากพื้นโลก, รังสีจากสารกัมมันตรังสีที่มีอยู่บนพื้นโลก เป็นรังสีที่มนุษย์ได้รับจากภายนอกร่างกายปีละประมาณ 410 ไมโครซีเวิร์ต ส่วนที่มีผลเป็นปริมาณรังสีต่อมนุษย์คือรังสีแกมมา ซึ่งปลดปล่อยมาจากนิวไคลด์รังสีที่มีกำเนิดมาพร้อมกับโลก (ดู Primordial radionuclides) ได้แก่ สารกัมมันตรังสีในอนุกรมยูเรเนียม อนุกรมทอเรียม และสารกัมมันตรังสีโพแทสเซียม (K-40) [นิวเคลียร์] |
Radioactive dating | การหาอายุจากสารกัมมันตรังสี, การหาอายุของวัตถุหรือตัวอย่างโดยใช้สัดส่วนของสารกัมมันตรังสีหรือผลผลิตจากการสลายกัมมันตรังสีที่มีในวัตถุนั้น เช่น ใช้สัดส่วนของคาร์บอน-14 ต่อคาร์บอนทั้งหมดบอกอายุของกระดูก ไม้ หรือตัวอย่างวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ หรือใช้สัดส่วนของโพแทสเซียม-40 ต่ออาร์กอน-41 บอกอายุของหินหรือแร่ที่มีโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบได้ <br>(ดู carbon-14 ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Primordial radionuclide | นิวไคลด์กัมมันตรังสีเกิดพร้อมโลก, นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่มีกำเนิดมาพร้อมกับโลก ประกอบด้วยนิวไคลด์ในอนุกรม ยูเรเนียม ทอเรียม และแอกทิเนียม รวมทั้งนิวไคลด์กัมมันตรังสีอื่นๆ ที่มีในธรรมชาติ เช่น โพแทสเซียม-40 (K-40) รูบิเดียม-87 (Rb-87) มนุษย์ได้รับรังสีจากนิวไคลด์กัมมันตรังสีกลุ่มนี้ตลอดเวลา ทั้งจากภายนอกและภายในร่างกาย (ดู radioactive series ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Potassium-40 | โพแทสเซียม-40, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของโพแทสเซียม มีครึ่งชีวิต 1.30 x 109 ปี พบในธรรมชาติ เช่น ในดิน และพืช มนุษย์ได้รับธาตุนี้จากการบริโภคอาหาร ทำให้ได้รับรังสีตลอดเวลา (ดู internal radiation ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Naturally occurring radionuclides | นิวไคลด์กัมมันตรังสีตามธรรมชาติ, นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติบนพื้นโลกในปริมาณที่มีนัยสำคัญ (significant quantities) โดยทั่วไปหมายถึงนิวไคลด์กัมมันตรังสีเกิดพร้อมโลก ซึ่งได้แก่ โพแทสเซียม-40 ยูเรเนียม-235 ยูเรเนียม-238 ทอเรียม-232 และผลผลิตการสลายกัมมันตรังสีของนิวไคลด์ดังกล่าว นอกจากนี้ยังรวมถึงทริเทียมและคาร์บอน-14 ซึ่งเกิดจากกระบวนการเชิงก่อกัมมันตภาพรังสีตามธรรมชาติด้วย, Example: [นิวเคลียร์] |
Natural radioactivity | กัมมันตภาพรังสีตามธรรมชาติ, กัมมันตภาพรังสีจากต้นกำเนิดรังสีที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น แร่ยูเรเนียม โพแทสเซียม-40, Example: [นิวเคลียร์] |
Effect of potassium on | ผลกระทบของโพแทสเซียม [TU Subject Heading] |
Potassium | โพแทสเซียม [TU Subject Heading] |
Potassium dichromate | โพแทสเซียมไดโครเมต [TU Subject Heading] |
Potassium hydroxide number | จำนวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ หมายถึง จำนวนกรัมของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่สมมูลย์พอดีกับอนุมูลของกรดทั้งหมดที่ รวมกับแอมโมเนียในน้ำยาง ที่มีปริมาณของแข็งทั้งหมด 100 กรัม นั่นคือ จำนวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นตัวระบุปริมาณของสบู่แอมโมเนียมที่เกิดขึ้น ระหว่างการเปลี่ยนแปลงในน้ำยาง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดจากการกระทำของแบคทีเรียต่อสารที่ไม่ใช่เนื้อยาง ในขณะก่อนการใส่แอมโมเนียลงในน้ำยาง และเกิดขึ้นจากการไฮโดรไลซิสของโปรตีนในระหว่างการเก็บน้ำยาง ค่า KOH ที่สูงแสดงถึง ความเปลี่ยนแปลงมากและอาจบ่งชี้ว่าน้ำยางข้นมีอายุหลังการผลิตนานอีกด้วย [เทคโนโลยียาง] |
Volatile fatty acid number | จำนวนกรดไขมันระเหย หมายถึง ปริมาณของกรดไขมันระเหยที่เกิดขึ้นโดยการไฮโดรไลซิสของคาร์โบไฮเดรตในเซรุ่ม ของน้ำยาง กรดเหล่านี้ประกอบด้วยกรดแอซิติก กรดฟอร์มิก และกรดพรอพิโอนิก เป็นส่วนใหญ่ หรือหมายถึง จำนวนกรัมของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ทำให้กรดไขมันระเหยทั้งหมดในน้ำยางที่ มีปริมาณของแข็งทั้งหมด 100 กรัม เป็นกลาง ค่า VFA No. เป็นค่าที่บ่งชี้ถึงสถานะการเสียสภาพ ถ้าค่า VFA No. สูง แสดงว่าน้ำยางถูกเชื้อจุลินทรีย์เข้าทำลายมาก เกิดกรดไขมันระเหยมาก ทำให้สูญเสียสภาพการเป็นคอลลอยด์ เกิดการบูดเน่าและจับเป็นก้อนได้ [เทคโนโลยียาง] |
Diuretics, Potassium Sparing | ยาขับปัสสาวะที่มีโพแทสเซียมสำรอง [การแพทย์] |
sodium-potassium pump | โซเดียมโพแทสเซียมปั๊ม, กระบวนการสูบไอออนของโซเดียมและโพแทสเซียมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
mineral salts | แร่ธาตุ, สารอาหารประเภทที่ไม่ให้พลังงานแต่มีความจำเป็นสำหรับกระบวนการเมแทบอลิซึมในร่างกาย เช่น เกลือของโซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
fuel cell | เซลล์เชื้อเพลิง, อุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยใส่สารเคมีเข้าไปทำปฏิกิริยากันแล้วได้กระแสไฟฟ้าออกมา เซลล์เชื้อเพลิงแบบง่ายได้จากปฏิกิริยาเคมีระหว่าง แก๊สไฮโดรเจนกับออกซิเจนโดยมีแผ่นนิกเกิลเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี และมีสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ เ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
metal | โลหะ, ธาตุที่มีสมบัติต่าง ๆ คือ ผิวเป็นมันวาว ตีแผ่หรือดึงเป็นเส้นลวดได้ มีความถ่วง จำเพาะสูง นำความร้อนและไฟฟ้าได้ดี เช่น ทองแดง โพแทสเซียม เหล็ก เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
alkali metals | โลหะแอลคาไล, โลหะหมู่ I ในตารางธาตุได้แก่ ลิเทียม โซเดียม โพแทสเซียม รูบิเดียม ซีเซียม และแฟรนเซียม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
soap | สบู่, เป็นเกลือของโซเดียมหรือโพแทสเซียมของกรดไขมัน เช่น กรดสเตียริก กรดปาล์มมิติกหรือกรดไอเลอิก ซึ่งเตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างเบสกับไขมันและอาจเติมสารปรุงแต่งให้มีสีและกลิ่นที่ต้องการ ใช้ชำระล้างหรือการซักฟอก เสื้อผ้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
feldspar | เฟลด์สปาร์, แร่ชนิดหนึ่งเป็นผลึกสารประกอบ ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยอะลูมิเนียมซิลิเกตของโพแทสเซียม หรือของโซเดียม หรือของแคลเซียม ความแข็งประมาณ 6ความถ่วงจำเพาะ 2.55-2.71 มีสีต่าง ๆ กันขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของแร่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
orthoclase | ออร์โทเคลส, แร่ชนิดหนึ่ง เป็นผลึกของสารประกอบโพแทสเซียมอะลูมิเนียมซิลิเกต สูตรเคมีคือ K(AlSi3)O8 มีสีขาว สีเทา สีแดงเข้ม หรือไม่มีสี ความแข็ง 6 เกิดปนอยู่ในหินอัคนีชนิดต่าง ๆ เช่น หินแกรนิต ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบและอุตสาหกรรมแก้วเป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
potash | โพแทช, แร่ชนิดหนึ่งมีธาตุโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบ เกิดปนอยู่ในชั้นของเกลือหินแร่ชนิดนี้ส่วนใหญ่ใช้ในอุตสาหกรรมปุ๋ย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Monobasic Potassium Phosphate | สารละลายโมโนเบซิกโพแทสเซียมฟอสเฟต [การแพทย์] |