ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เลก, -เลก- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ เลกวัด | (n) man who dedicated his life to the service of a monastery, Example: คุณเสนอเมื่อปลดเกษียณแล้วก็เป็นเลกวัดตลอดไป, Count Unit: คน, Thai Definition: ชายฉกรรจ์ที่อุทิศชีวิตถวายให้แก่วัด, Notes: (โบราณ) |
| โมเลกุล | น. ส่วนที่เล็กที่สุดของสารซึ่งสามารถดำรงอยู่ได้ตามลำพัง และทั้งยังคงรักษาสมบัติต่าง ๆ ของสารนั้นไว้ได้ด้วย โมเลกุลประกอบด้วยอะตอมของธาตุ, เดิมเรียกว่า อณู. | เลก | น. ชายฉกรรจ์, พลเมืองชั้นสามัญ, เขียนเป็น เลข ก็มี. | เลกวัด | น. ชายฉกรรจ์ที่มีผู้อุทิศถวายให้แก่วัด. | เลกสมสัก | น. ชายฉกรรจ์ซึ่งเป็นราษฎรสามัญที่สมควรต้องสักข้อมือเป็นไพร่หลวงหรือไพร่สมเพื่อรับราชการแผ่นดิน เดิมใช้ความสูง ๒ ศอกคืบเป็นเกณฑ์กำหนด ต่อมาใช้อายุ ๑๘ ปีเป็นเกณฑ์กำหนด เว้นแต่จะได้รับยกเว้น. | วิทยุเทเลกซ์ | น. การรับส่งโทรพิมพ์ผ่านชุมสายโดยใช้คลื่นวิทยุ. | กระดี๊กระด๊า | ก. ระริกระรี้, ตื่นเต้นแสดงความสนใจเพศตรงข้าม, เช่น พอเห็นหนุ่มหล่อ ๆ มาร่วมงาน สาว ๆ ก็กระดี๊กระด๊ากันเป็นแถว, แสดงท่าทางอย่างเห็นได้ชัดว่าดีใจหรือพอใจมาก เช่น แค่รู้ว่าผู้ชายจะมาสู่ขอลูกสาว ว่าที่แม่ยายก็กระดี๊กระด๊าจนเก็บอาการไม่อยู่, ตื่นเต้นแสดงความดีใจจนเกินงาม เช่น พอรู้ว่าหัวหน้าจะพาไปเที่ยวทะเลก็กระดี๊กระด๊ากันไปทั้งแผนก, กะดี๊กะด๊า หรือ ดี๊ด๊า ก็ว่า. | กลาบาต ๒ | เจ้าพนักงานถือคบนั่งรายทางรักษาการณ์ เช่น ฝ่ายทหารเกณฑ์ พันทนาย ตำรวจเลวและไพร่เลกหลวง ไพร่สมกำลัง ยืนรักษาประตู ริมถนน และนั่งริ้วกลาบาต (หมายรับสั่งเรื่องต้อนรับแขกเมืองโปรตุเกส พ.ศ. ๒๓๒๙). | กะพง ๒ | น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ชนิด Musculista senhousia (Benson) ในวงศ์ Mytilidae เปลือกบางรูปยาวรี สีเขียวหรือเขียวอมเหลือง มีลายเป็นเส้นสีนํ้าตาล อาศัยอยู่ตามพื้นท้องทะเลที่เป็นเลนปนทราย โดยยึดติดกันเองเป็นกระจุกหรือแผ่เป็นแผ่นใหญ่. | การนำ | การส่งถ่ายพลังงานความร้อนผ่านเทหวัตถุโดยวิธีการซึ่งโมเลกุลของเทหวัตถุนั้นกระทบกระแทกกันเนื่องจากโมเลกุลสั่นสะเทือนอย่างรวดเร็วมาก. | การพา | น. การส่งถ่ายพลังงานความร้อนผ่านของเหลวหรือแก๊สโดยวิธีการซึ่งโมเลกุลของของเหลวหรือแก๊สเคลื่อนที่ไป. | กาแล็กโทส | น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทโมโนแซ็กคาไรด์ ชนิดแอลโดเฮ็กโซส ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว มีรสหวานน้อยกว่านํ้าตาลทราย หลอมละลายที่ ๑๖๕ ํ-๑๖๘ ํซ. โมเลกุลของกาแล็กโทสเชื่อมโยงกับโมเลกุลของกลูโคสเป็นโมเลกุลของแล็กโทสซึ่งมีในนํ้านม. | เกณฑ์หัด | น. ทหารลูกหมู่เลกสมที่ให้หัดตามแบบทหารสมัยใหม่. | เกลือกรด | น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรด ถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่ไม่หมด เช่น โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต (NaHSO4). | เกลือเบสิก | น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยอนุมูลกรดเข้าไปแทนที่หมู่ไฮดรอกซิล (OH) ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของเบสไม่หมด เช่น เลดไฮดรอกซีคลอไรด์ [ Pb(OH)Cl ], เกลือด่าง ก็ว่า. | เกลือปรกติ | น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรดถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่จนหมดสิ้น เช่น โซเดียมซัลเฟต (Na2SO4). | ไข่ขาว | กลุ่มของโปรตีน ซึ่งมีนํ้าหนักโมเลกุลประมาณ ๖๕, ๐๐๐ ถึง ๗๐, ๐๐๐. | คราง ๒ | (คฺราง) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่บางชนิดในสกุล Scapharcaวงศ์ Arcidae ลักษณะคล้ายหอยแครงแต่ขนาดใหญ่กว่า ด้านนอกเปลือกมักมีเส้นคล้ายขน เช่น ชนิด S. inequivalvis (Bruguière), แครงขน ก็เรียก. | ควบแน่น | น. กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในลักษณะซึ่งโมเลกุลของสารตั้งแต่ ๒ โมเลกุลขึ้นไปเข้ารวมตัวกันเป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้นของสารใหม่ โดยวิธีขจัดโมเลกุลของนํ้าหรือโมเลกุลของสารอื่นออกไป | แครง ๑ | (แคฺรง) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิดในวงศ์ Arcidae ด้านนอกเปลือกมีสันและร่องจากขั้วเปลือกถึงขอบเปลือก เลือดหอยแครงเมื่อถูกกับอากาศเป็นสีแดง อาศัยตามชายฝั่งทะเลที่พื้นเป็นโคลน เช่น ชนิด Anadara granosa (Linn.) | จอบ ๓ | น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด ในวงศ์ Pinnidae เปลือกค่อนข้างบางเปราะ รูปคล้ายซองใส่ใบพลูใช้กินกับหมาก ปลายด้านหนึ่งแผ่บานออก อีกด้านหนึ่งเรียวลง สีนํ้าตาลหรือสีเทา เช่น ชนิด Pinna bicolorGmelin, Atrina vexillum (Born), ซองพลู ก็เรียก. | จั่น ๓ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวพวกหอยเบี้ยชนิด Cypraea moneta Linn . ในวงศ์ Cypraeidae เปลือกสีนวล หลังโค้งนูน ตามขอบช่องเปลือกที่อยู่ด้านท้องเป็นรอยหยัก เรียกว่า เบี้ยจั่น ในสมัยโบราณใช้แทนเงิน, เบี้ยจักจั่น ก็เรียก. | จุกพราหมณ์ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวชนิด Cymbiola nobilis (Lightfoot) ในวงศ์ Volutidae เปลือกหนา พื้นผิวด้านนอกเรียบสีน้ำตาลอ่อนมีลายเส้นหยักสีนํ้าตาลไหม้เข้ม เปลือกม้วนเป็นวงซ้อนกันปลายยอดเป็นจุกเหมือนมวยผมของพราหมณ์. | จุ๊บแจง ๑ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวชนิด Cerithidea obtusa (Lamarck) ในวงศ์ Potamididae เปลือกขรุขระ รูปค่อนข้างยาว ปลายแหลม สีเทาอมดำหรือน้ำตาล. | เจดีย์ ๒ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิด ในวงศ์ Turritellidae เปลือกม้วนเป็นวงซ้อนกันเป็นเกลียวสูงหลายชั้น ยอดแหลมคล้ายเจดีย์ มักเป็นสีน้ำตาล เช่น ชนิด Turritella terebra (Linn.). | เฉลียบ ๒ | (ฉะเหฺลียบ) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ ในวงศ์ Isognomonidae เปลือกแบน อาจยาวหรือค่อนข้างกลม สีน้ำตาลเข้มหรือเทาเข้ม เช่น ชนิด Isognomon isognomum (Linn.). | แฉลบ ๓ | (ฉะแหฺลบ) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ชนิด Placuna ephippium (Philipsson) ในวงศ์ Placunidae เปลือกแบนค่อนข้างกลม โค้งเล็กน้อยคล้ายอานม้า สีนํ้าตาลเข้มหรือม่วงเข้ม, อานม้า ก็เรียก. | ชายทะเล | ที่ใกล้ทะเล เช่น วันหยุดสุดสัปดาห์นี้ไปเที่ยวชายทะเลกัน. | ซูโครส | (-โคฺร้ด) น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทไดแซ็กคาไรด์ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๘๐ ºซ. องค์ประกอบเป็นโมเลกุลของกลูโคสเชื่อมกับโมเลกุลของฟรักโทส มีรสหวานจัด มักทำจากอ้อย, สามัญเรียกว่า นํ้าตาลทราย. | เซลลูโลส | น. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโพลีแซ็กคาไรด์ชนิดที่ซับซ้อน มีสูตรเคมี (C6H10O5)nประกอบด้วยโมเลกุลของกลูโคสมากมายเชื่อมโยงกัน เซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสำคัญของเนื้อไม้ ฝ้าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมพลาสติก กระดาษ ไหมเทียม ดินระเบิด ฟิล์มภาพยนตร์ หรือฟิล์มถ่ายรูปชนิดไม่ไวไฟ เป็นต้น. | ไดแซ็กคาไรด์ | น. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตจำพวกนํ้าตาลที่ประกอบด้วย โมโนแซ็กคาไรด์ ๒ โมเลกุลเชื่อมกัน มีสูตรโมเลกุล C12H22O11. | ตลับ ๒ | (ตะหฺลับ) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด ในวงศ์ Veneridae เปลือกหนารูปคล้ายสามเหลี่ยม ส่วนใหญ่ผิวเรียบ เป็นมัน มีสีและลวดลายต่าง ๆ กัน เช่น ชนิด Meretrix meretrix (Linn.). | ตะกั่ว | ดีบุก (ปรัดเล, ปาเลกัว) | ตะโกรม | (-โกฺรม) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด ในวงศ์ Ostreidae ลักษณะเหมือนหอยนางรม แต่มีขนาดใหญ่กว่า เปลือกขรุขระ สีขาวคล้ำ เช่น ชนิด Crassostrea iredalei (Faustino), C. belcheri (Sowerby), นางรมใหญ่ ก็เรียก. | ตางัว ๒ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิด ในวงศ์ Turbinidae เปลือกหนา ค่อนข้างกลม ก้นหอยสั้น ผิวขรุขระ แผ่นปิดช่องเปลือกกลมหนา ด้านนอกโค้ง เรียก เบี้ยตางัว ใช้สำหรับเล่นหมากรุก เช่น ชนิด Turbo marmoratus Linn., T. bruneus (Röding). | ถา ๒ | ก. ถูให้เกลี้ยง เช่น ถาไม้, (โบ) ลับ, ถูให้คม, เช่น ถามีด (ปาเลกัว), ถาขวาน (ปรัดเล). | ทำเล | น. ถิ่นที่, ตำบล, ภูมิที่ตั้ง, (มักใช้แก่แหล่งทำมาหากิน) เช่น ทำเลการค้า. | นมนาง ๒ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวชนิด Trochus niloticus Linn. ในวงศ์ Trochidae เปลือกเป็นรูปกรวยคว่ำ ฐานกว้าง ปลายยอดแหลม ผิวขรุขระ มีลวดลายสีม่วงบนพื้นสีอ่อน คล้ายหอยนมสาวแต่มีขนาดใหญ่กว่า เมื่อขัดผิวเปลือกออกจะเห็นเป็นมุก ใช้ทำเป็นเครื่องประดับ. | นมสาว ๒ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิด ในวงศ์ Trochidae เปลือกเป็นรูปกรวยคว่ำ ฐานกว้าง ปลายยอดแหลม ผิวขรุขระ สีและลายแตกต่างกันตามแต่ละชนิด มีขนาดเล็กกว่าหอยนมนาง เมื่อขัดผิวเปลือกออกจะเห็นเป็นมุก ใช้ทำเป็นเครื่องประดับ. | น่องแน่ง ๒ | ว. ติดกันนุงนัง, เกี่ยวเนื่องกันยุ่ง, ผูกติดกันและห้อยแขวนอยู่ (ปาเลกัว), เช่น ให้เอามันผู้ลอบทำแก่ท่านนั้นมาจำน่องแน่ง เอาขึ้นขาหย่างประจารปลงลงทวนด้วยลวดหนัง ๓๐ ที (สามดวง) | นางรม ๑ | น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิดในวงศ์ Ostreidae รูปเปลือกค่อนข้างกลม ยาวรี หรือบิดเบี้ยวตามพื้นที่ที่ติดอยู่ ส่วนใหญ่มีสีเทา เปลือกล่างเป็นแอ่งคล้ายรูปถ้วยยึดติดกับวัสดุที่ใช้เป็นอาหาร เช่น ชนิด Saccostrea forskali (Gmelin), อีรม ก็เรียก. | น้ำผลึก | น. โมเลกุลของนํ้าที่ประกอบอยู่กับโมเลกุลของสารประกอบบางชนิดเมื่ออยู่ในภาวะเป็นรูปผลึก. | นิวคลิอิก | น. ชื่อกรดชนิดหนึ่ง ซึ่งมีโมเลกุลใหญ่มากและมีโครงสร้างซับซ้อน มี ๒ ชนิด คือ กรดดีออกซีไรโบ-นิวคลิอิก (deoxyribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า DNA และกรดไรโบนิวคลิอิก (ribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า RNA มีปรากฏอยู่ในสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ทำหน้าที่เก็บรวบรวมและถ่ายทอดพันธุกรรม. | ไนลอน | น. สารประกอบอินทรีย์ซึ่งสังเคราะห์ขึ้น มีโมเลกุลขนาดใหญ่ มักผลิตให้เป็นเส้นใยเล็ก ๆ ซึ่งนำไปฟั่นเป็นเส้นด้ายหรือเส้นเชือกที่มีความเหนียวมาก หรือนำไปทอเป็นผ้าได้, เรียกสิ่งที่ทำจากเส้นใยนั้น เช่น ผ้าไนลอน เชือกไนลอน. | เบี้ย ๑ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิดในวงศ์ Cypraeidae เปลือกแข็ง ผิวเป็นมัน หลังโค้งนูน ด้านท้องแบน ช่องเปลือกยาวและแคบ เป็นลำราง ตามขอบทั้ง ๒ ข้างเป็นรอยหยัก เรียกรวม ๆ ว่า หอยเบี้ย, เปลือกหอยเบี้ยที่ใช้เป็นเงินตราในสมัยก่อนมี ๒ ชนิด ได้แก่ ชนิด Cypraea moneta Linn. เรียก เบี้ยจั่นหรือเบี้ยจักจั่น ชนิด C. annulus Linn. เรียก เบี้ยแก้วหรือเบี้ยนาง มีอัตรา ๑๐๐ เบี้ย เป็น ๑ อัฐ คำว่า เบี้ย จึงเป็นคำเรียกแทนเงินติดมาจนทุกวันนี้ เช่น เบี้ยประชุม เบี้ยประกัน เบี้ยเลี้ยงชีพ. | เบี้ยแก้ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวพวกหอยเบี้ย ในวงศ์ Cypraeidae เปลือกสีน้ำตาลเข้ม ด้านหลังมีลายเป็นวงกลมสีอ่อน มี ๒ ชนิด ได้แก่ เบี้ยแก้ใหญ่หรือเบี้ยอีแก้ (Cypraea mauritiana Linn.) ใช้ขัดผ้าให้เรียบเป็นมันและเบี้ยแก้เล็ก (C. caputserpentis Linn.) ใช้ทำยาหรือเครื่องราง. | เป๋าฮื้อ ๑ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยว หลายชนิด ในวงศ์ Haliotidae เปลือกแบนค่อนข้างกลมหรือรี ผิวขรุขระ ใกล้ขอบเปลือกมีรูเรียงเป็นแถว สีเขียวหรือสีน้ำตาล ด้านในเป็นมุก เช่น ชนิด Haliotis asinina Linn. เป็นอาหารทะเลที่มีราคาแพง ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงเชิงพาณิชย์, โข่งทะเล ก็เรียก. | โปรตีน | (โปฺร-) น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็นสารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจำเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. | พอก ๓ | น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ ในวงศ์ Veneridae รูปเปลือกค่อนข้างกลม สีนวล ผิวเปลือกมีสันลักษณะเป็นเส้นทั้งในแนวตั้งและแนวนอน เช่น ชนิด Periglypta puerpera (Linn). | พิมปะการัง | น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ชนิด Pholas orientalis Gmelin ในวงศ์ Pholadidae เปลือกบางเปราะค่อนข้างยาว สีขาวคล้ำ ผิวขรุขระสามารถใช้เปลือกเจาะพื้นที่เป็นดินโคลนให้เป็นรูเพื่อผังตัวอยู่ได้, พิม พิมการัง หรือ พิมพการัง ก็เรียก. | เพรียง ๓ | (เพฺรียง) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด ในวงศ์ Teredinidae ลำตัวกลมยาวอ่อนนุ่มคล้ายหนอน เปลือกเล็กมากคลุมอยู่เฉพาะหัว เจาะกินเนื้อไม้ ที่แช่อยู่ในน้ำ เช่น ชนิด Lyrodus pedicellatus (Quatrefages), หนอนเพรียง หรือ เพรียงเรือ ก็เรียก. |
| adhesion | ๑. การดึงดูด [ ระหว่างโมเลกุลของสารต่างชนิดกัน ]๒. การยึดติด, การประสาน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | abyssopelagic | -ท้องทะเลก้นสมุทร, -ก้นสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | Alexandrian | หินสมัยอะเลกซานเดรียน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | alexandrite | อะเลกซานไดรต์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | biomolecule | โมเลกุลชีวภาพ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | molecular sieve | ตัวกรองระดับโมเลกุล [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | cohesion | ๑. การดึงดูด [ ระหว่างโมเลกุลของสารชนิดเดียวกัน ]๒. การเชื่อมติด [ มีความหมายเหมือนกับ coalescence; symphysis ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | telex | เทเลกซ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | telex | เทเลกซ์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
|
| Conversion Refinery | โรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming Refinery ที่มี cracking เพิ่มเข้ามา, โรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming Refinery ที่มี cracking เพิ่มเข้ามา ซึ่งจะทำหน้าที่แตกตัวโมเลกุลของสารไฮโดรคาร์บอนต่างๆให้เป็นน้ำมันที่มีคุณค่าสูง, Example: โรงกลั่นน้ำมันประเภทนี้จะให้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหนัก เช่น น้ำมันเตา น้อยกว่าที่ผลิตได้จากโรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming เพราะน้ำมันหนักที่กลั่นได้จะถูกทำให้แตกตัวที่หน่วย cracking เปลี่ยนสภาพเป็นน้ำมันเบาชนิดต่างๆ ที่มีมูลค่าสูงขึ้น [ปิโตรเลี่ยม] | Cracking | กระบวนการที่ทำให้โมเลกุลขนาดใหญ่ของสารไฮโดรคาร์บอนชนิดหนักแตกตัวเป็นโมเลกุลที่เล็กลง, Example: เป็นการทำให้น้ำมันหนักแตกตัวให้เป็นน้ำมันเบาที่มีมูลค่าสูงขึ้น ถ้าทำให้โมเลกุลแตกตัวด้วยความร้อน เรียกว่า Thermal cracking ถ้าแตกตัวโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา เรียกว่า catalytic (cat) cracking และถ้ากระบวนการ cat cracking เกิดขึ้นในบรรยากาศก๊าซไฮโดรเจน เรียกว่า hydrocracking [ปิโตรเลี่ยม] | Electron | อิเลกตรอน, Example: พาหะที่เคลื่อนที่ผ่านไปในผลึกของของแข็งเกิดเป็นกระแสไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Atomic Mass Unit | หน่วยมวลอะตอม, หน่วยของมวล โดยหนึ่งหน่วยมีค่าเท่ากับ 1/12 ของมวลหนึ่งอะตอมของคาร์บอน-12 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.66033 10–27 กิโลกรัม หน่วยนี้ใช้สำหรับอะตอมและโมเลกุล [นิวเคลียร์] | Binding energy | พลังงานยึดเหนี่ยว, พลังงานยึดเหนี่ยวของโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียส มีค่าเท่ากับพลังงานที่น้อยที่สุดสำหรับการแยกนิวเคลียสออกเป็นโปรตอนและนิวตรอน นอกจากนี้ยังหมายถึง พลังงานยึดเหนี่ยวของอิเล็กตรอนด้วย ซึ่งมีค่าเท่ากับพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกอิเล็กตรอนออกมาจากอะตอมหรือโมเลกุล [นิวเคลียร์] | Cosmogenic radionuclides | นิวไคลด์กัมมันตรังสีเกิดจากรังสีคอสมิก, นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นเมื่อรังสีคอสมิกชนกับโมเลกุลของแก๊สในชั้นบรรยากาศของโลก เช่น ทริเทียม (<sup>3</sup>H) คาร์บอน-14 (C-14) โซเดียม-22 (Na-22) และ เบริลเลียม-7 (Be-7) [นิวเคลียร์] | Excited state | สถานะถูกกระตุ้น, สถานะของนิวเคลียส อิเล็กตรอน อะตอม หรือโมเลกุล ขณะเมื่อมีพลังงานสูงกว่าระดับปกติ พลังงานส่วนเกินของนิวเคลียสมักถูกปลดปล่อยเป็นรังสีแกมมา สำหรับพลังงานส่วนเกินของโมเลกุลอาจปรากฏในลักษณะการเรืองแสงหรือความร้อน (ดู ground state ประกอบ) [นิวเคลียร์] | X-ray diffraction analysis | การวิเคราะห์โดยการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์, การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ เพื่อหาโครงสร้างของอะตอม หรือโมเลกุลในธาตุ หรือสารประกอบที่มีการเรียงตัวเป็นระเบียบซ้ำๆ กัน เช่น เพชร โซเดียมคลอไรด์ รวมทั้งชีวโมเลกุลที่มีโครงสร้างซับซ้อน เช่น โปรตีน กรดนิวคลีอิก [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiolytic product | ผลผลิตการแยกสลายด้วยรังสี, สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีสารใดๆ เช่น การฉายรังสีอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และ เกิดการแยกสลาย ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียรและทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหารได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง [นิวเคลียร์] | Radiolysis | การแยกสลายด้วยรังสี, การแตกตัว หรือสลายตัว ของโมเลกุลด้วยรังสี เช่น ขณะเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จะมีน้ำส่วนหนึ่งที่อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เกิดการแตกตัวเป็นไฮโดรเจนและออกซิเจน [นิวเคลียร์] | Molecular biology | ชีวโมเลกุล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Labelled compound | สารประกอบติดฉลาก(รังสี), สารประกอบเข้ากัมมันตรังสี , สารประกอบทำรอย, สารสังเคราะห์ที่มีนิวไคลด์กัมมันตรังสีประกอบอยู่ในโมเลกุล มี 2 ประเภทหลัก คือ การแทนที่นิวไคลด์เสถียรในโมเลกุลด้วยนิวไคลด์กัมมันตรังสีของธาตุเดียวกัน อีกประเภทหนึ่งเป็นการแทนที่นิวไคลด์เสถียรในโมเลกุลด้วยนิวไคลด์กัมมันตรังสีของธาตุต่างชนิดกัน, Example: [นิวเคลียร์] | Ion pair | คู่ไอออน, ไอออนบวกและไอออนลบที่มีขนาดประจุเท่ากัน เกิดจากการแตกตัวของอะตอมหรือโมเลกุลที่เป็นกลางเมื่อได้รับรังสี โดยอิเล็กตรอนที่หลุดออกจากอะตอมหรือโมเลกุลจะเป็นไอออนลบ ส่วนอะตอมหรือโมเลกุลที่อิเล็กตรอนหลุดออกไปนั้นจะเป็นไอออนบวก [นิวเคลียร์] | Ion | ไอออน, อะตอมหรือโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้าจากการสูญเสียหรือได้รับอิเล็กตรอนหนึ่งอนุภาคหรือมากกว่า อะตอมหรือโมเลกุลที่สูญเสียอิเล็กตรอนจะเป็นไอออนบวก ถ้าได้รับอิเล็กตรอนเข้ามาจะเป็นไอออนลบ [นิวเคลียร์] | Ground state | สถานะพื้น , สถานะของนิวเคลียส อิเล็กตรอน อะตอม หรือโมเลกุล ขณะมีระดับพลังงานปกติ ซึ่งเป็นระดับต่ำที่สุด <br>(ดู excited state ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | protein | โปรตีน, โปรตีน [ โปฺร- ] น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็น สารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจําเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. (อ. protein)., Example: <p>ลำดับเบสภายในดีเอ็นเอเป็นตัวกำหนดชนิดของโปรตีนที่สร้าง โดยลำดับเบสถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) โดยกระบวนการที่เรียกว่า transcription หลังจากนั้นลำดับเบสทีละ 3 เบสที่เรียงติดกันของ mRNA แปลรหัสเป็นกรดอะมิโนแต่ละตัวกระบวนการนี้เรียกว่า translation ในกระบวนการนี้อาศัย ribosome (จับกับ mRNA ในขณะเกิดการแปลรหัส) transfer RNA (RNA ที่มีหน้าที่ลำเลียงกรดอะมิโนเข้าสู่ ribosome เพื่อมาเชื่อมต่อเป็นโปรตีนตามรหัสของ mRNA) หลังจากผ่านกระบวนการแปลรหัสได้โปรตีนที่เซลล์ต้องการ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุดสงวน ชูสกุลธนะชัย. “ดีเอ็นเอ: รหัสแห่งชีวิต” ในดีเอ็นเอ : ปริศนาลับรหัสชีวิต. หน้า 19-38. ปทุมธานี : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, 2546. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | direct action | การกระทำโดยตรง, รังสีถ่ายเทพลังงานโดยตรงให้กับชีวโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น ดีเอ็นเอ และโปรตีน แล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกุลนั้น [นิวเคลียร์] | Free radical | อนุมูลเสรี, อนุมูลอิสระ, ธาตุ หรือ หมู่ธาตุที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว (unpaired electron) อยู่ในโครงสร้าง เกิดขึ้นจากการกระตุ้นโมเลกุลของสารด้วยปฏิกิริยาเคมีหรือพลังงานบางชนิด ส่วนใหญ่มีความไวในการทำปฏิกิริยาเคมี เนื่องจากต้องการจับคู่กับอิเล็กตรอนอื่นเพื่อเข้าสู่สถานะเสถียร อนุมูลเสรีใช้จุดทึบเป็นสัญลักษณ์ เช่น H•, Example: [นิวเคลียร์] | Canned seafood | อาหารทะเลกระป๋อง [TU Subject Heading] | Intermolecular forces | แรงกระทำระหว่างโมเลกุล [TU Subject Heading] | Indirect action | การกระทำโดยอ้อม, การที่รังสีถ่ายเทพลังงานให้กับโมเลกุนของน้ำ มีผลให้เกิดอนุมูลเสรี ซึ่งมีความไวในการทำปฏิกิริยาทางเคมีกับชีวโมเลกุล แล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกุลนั้น [นิวเคลียร์] | Lexington, Battle of, 1775 | การรบที่เลกซิงตัน, ค.ศ. 1775 [TU Subject Heading] | Molecular biology | ชีวโมเลกุล [TU Subject Heading] | Molecular cloning | การแยกวิเคราะห์โมเลกุล [TU Subject Heading] | Molecular genetics | พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล [TU Subject Heading] | Molecular Theory | ทฤษฎีโมเลกุล [TU Subject Heading] | Plant molecular genetics | พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล (พืช) [TU Subject Heading] | Plants lectins | เลกตินจากพืช [TU Subject Heading] | Clone (โคลน) | การสร้างสำเนาที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการของโมเลกุล เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | radiolytic products | เรดิโอไลติกโปรดักส์, คือ สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีอาหาร เมื่อรังสีทะลุผ่านอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และเกิดปฏิกิริยาเรดิโอไลซิส ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียร และไปทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร ได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง ซึ่งเรียกโดยรวมว่า เรดิโอไลติก โปรดักส์ การเกิดอนุมูลอิสระนอกจากจะเกิดจากการใช้รังสีแล้ว ยังเกิดจากการใช้ความร้อน เช่น การต้ม การทอด การอบ การย่าง และการปิ้ง และอนุมูลอิสระที่เกิดจากการใช้ความร้อนนี้ทำให้เกิดสารประกอบต่างๆ ที่มี โมเลกุลเล็กลงได้เช่นกัน แต่เรียกโดยรวมว่าเทอร์โมไลติกโปรดักส์ และเมื่อเปรียบเทียบกับเรดิโอไลติกโปรดักส์ พบว่า สารประกอบส่วนใหญ่เป็นชนิดเดียวกัน และเป็นสารประกอบที่ตรวจพบได้ในอาหารที่ไม่ได้ฉายรังสี [พลังงาน] | radiopharmaceutics , radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี เภสัชภัณฑ์รังสี, หมายถึง ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบ หรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากล สารเภสัชรังสี ใช้ในการตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีกับผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าว จะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดง "พยาธิสภาพ" ตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ [พลังงาน] | Dendrimer antibody | เดนดริเมอร์ แอนติบอดี้ คือ แอนติบอดี้ที่เชื่อมติดกับโมเลกุลพอลิเมอร์ที่มีแขนงกิ่งก้านยื่นออกมาคล้ายต้นไม้ ซึ่งเรียกว่า เดนดริเมอร์ โดย เดนดริเมอร์ แอนติบอดี้ มักใช้ในการตรวจวัดปริมาณสารแอนติเจน และถือว่าเป็นการประยุกต์ใช้เดนดริเมอร์ในการวัดสารภูมิคุ้มกันของร่างกายวิธีหนึ่ง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | ออกซิเจนเนต | สารประกอบที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบอยู่ในโมเลกุล ซึ่งอาจเป็นพวกอีเทอร์หรือแอลกฮอล์ สำหรับประเทศไทยใช้ MTBE (Methyl Tertiary Butyl Ether) เติมในน้ำมันเบนซิน เพื่อช่วยให้เกิดการเผาไหม้สมบูรณ์มากขึ้น [ปิโตรเลี่ยม] | Biosensor | ไบโอเซ็นเซอร์, อุปกรณ์ตรวจจับ บันทึก แสดง หรือส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา โดยที่อุปกรณ์ดังกล่าวทำงานโดยอาศัยสารชีวภาพ ในขั้ตอนใดขั้นตอนหนึ่งของการตรวจวัดสารเคมีหรือชีวโมเลกุลจำเพาะชนิดใดชนิดหนึ่ง [เทคโนโลยีชีวภาพ] | Cloning | โคลนนิ่ง, โคลนนิ่ง กระบวนการสร้างสิ่งที่เหมือนกันโดยสมบูรณ์กับสิ่งที่มีอยู่ก่อน ไม่ว่าจะเป็น ดีเอ็นเอ ยีน เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิต การสร้างชุดของดีเอ็นเอที่เหมือนกันทุกประการเรียกว่า การโคลนนิ่งดีเอ็นเอ (DNA Cloning) หรือ การโคลนนิ่งโมเลกุล (Molecular Cloning) การสร้างเซลล์ที่เหมือนกันทุกประการเรียกว่า การโคลนนิ่งเซลล์ (Cell Cloning) เป็นต้น, Example: ปัจจุบันมีผู้จำแนกคำว่า โคลนนิ่ง ออกเป็นสองแบบ เพื่อให้เห็นความแตกต่างของเป้าหมายการทำโคลนนิ่งคือ การโคลนนิ่งเพื่อการรักษา (Therapeutic Cloning) และการโคลนนิ่งเพื่อการสืบพันธุ์ (Reproductive Cloning) โดยการโคลนนิ่งแบบแรกต่างจากการโคลนนิ่งในแบบหลังคือ จะไม่มีการพัฒนาของสิ่งที่ได้จากกระบวน จนเป็นตัวสัตว์ที่สมบูรณ์ แต่จะเป็นการโคลนเพื่อให้เกิดเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่มีประโยชน์ใช้ในการรักษาโรคได้ [เทคโนโลยีชีวภาพ] | Balata | ยางธรรมชาติสายพันธุ์หนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างโมเลกุลของยางเป็น ทรานส์-พอลิไอโซพรีน (trans-polyisoprene) ยางที่มีลักษณะโครงสร้างดังกล่าวสามารถใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตสายพานและลูก กอล์ฟ [เทคโนโลยียาง] | Chicle | ยางธรรมชาติสายพันธุ์หนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างโมเลกุลเป็น ทรานส์-1, 4 พอลิไอโซพรีน (trans-1, 4 polyisoprene) โดยปกติใช้ทำผลิตภัณฑ์ประเภทหมากฝรั่ง [เทคโนโลยียาง] | Chloroprene rubber | ยาง CR เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากมอนอเมอร์ของคลอโรพรีน มีทั้งประเภทที่ใช้งานทั่วไปและประเภทใช้งานพิเศษ เช่น ทำกาวยาง ยางใช้เคลือบ และวัสดุอุดรอยรั่ว เป็นต้น เนื่องจากโมเลกุลของยาง CR สามารถจัดเรียงตัวได้อย่างเป็นระเบียบภายใต้สภาวะที่เหมาะสม ยางชนิดนี้จึงสามารถตกผลึกได้เช่นเดียวกับยางธรรมชาติ มีค่าความทนต่อแรงดึงสูง มีค่าความทนต่อการฉีกขาดและความต้านทานต่อการขัดถูสูง ยาง CR มีสมบัติทนต่อน้ำมันได้ปานกลางถึงดี และทนต่อความร้อน แสงแดด และโอโซนได้ค่อนข้างดี และยังมีสมบัติการหน่วงไฟ จึงนิยมนำไปใช้ในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ในงานภายนอกอาคาร เช่น ยางขอบหน้าต่าง ยางรองคอสะพาน ยางปลอกสายเคเบิล เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Chlorosulfonated polyethlene rubber | ยาง CSM เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างพอลิเอทิลีนและ ของผสมของก๊าซคลอรีน (Cl2) กับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) มีหลายเกรดขึ้นกับปริมาณคลอรีนในโมเลกุล สมบัติเชิงกลของยางชนิดนี้ค่อนข้างดี ทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากโอโซนและสภาพอากาศได้อย่างดีเยี่ยม ทนต่อการเปลี่ยนสี (discoloration) อันเนื่องมาจากแสงแดดและรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) ได้ดีอีกด้วย แต่สามารถทนต่อน้ำมันได้ปานกลางถึงดี ทนต่อกรดและสารเคมีต่างๆ ที่มีฤทธิ์กัดกร่อนได้ดีเยี่ยม และยังทนต่อน้ำร้อนได้ดี แต่มีข้อจำกัดคือ มีค่า compression set ที่ต่ำ และการใช้งานที่อุณหภูมิต่ำขึ้นกับปริมาณของคลอรีน ถ้าปริมาณของคลอรีนสูงสมบัติการหักงอของยางที่อุณหภูมิต่ำจะด้อยลง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ยางชนิดนี้ ได้แก่ ปลอกหุ้มสายเคเบิล ท่อยาง ยางหุ้มลูกกลิ้ง ยงบุผนัง ท่อที่ต้องทนต่อกรด แผ่นยางมุงหลังคา แผ่นยางรองสระน้ำ เรือยาง เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Constant viscosity rubber | ยางธรรมชาติที่มีการเติมสารเคมี เช่น hydroxylamine ลงไปในน้ำยางก่อนที่จะเติมกรดเพื่อทำให้ยางจับตัว สารดังกล่าวจะเข้าไปทำปฏิกิริยากับหมู่อัลดีไฮด์ ป้องกันไม่ให้เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของยางดิบที่เก็บไว้ก่อนนำมา ใช้แปรรูป ทำให้ค่าความหนืดคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา [เทคโนโลยียาง] | Copper content | ปริมาณของธาตุทองแดงที่อยู่ในส่วนที่ไม่ใช่ยางในน้ำยาง มีผลต่อความทนทานต่อการเสื่อมสภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากน้ำยางนั้น เนื่องจากทองแดงเป็นตัวกระตุ้นปฏิกิริยาออกซิเดชันในโมเลกุลของยาง [เทคโนโลยียาง] | Crosslinking | การทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ เช่น การเติมกำมะถันในยางธรรมชาติ (กระบวนการเรียกว่า vulcanization) ทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของยางโดยกำมะถัน ได้ยางที่มีโครงสร้างแบบเชื่อมโยง (crosslink) หรือร่างแห (network) ทำให้ยางเปลี่ยนสมบัติจากอ่อนนิ่ม เป็นยางที่มีสมบัติแข็งและเหนียวขึ้น เหมาะแก่การใช้งาน [เทคโนโลยียาง] | Cyclised or cyclized rubber | ยางไซไคลส์เป็นยางธรรมชาติที่ปรับสภาพโครงสร้างโมเลกุลยางให้มีสัดส่วน ของพันธะที่ไม่อิ่มตัวในโมเลกุลยางลดลง โดยการทำให้โมเลกุลของยางธรรมชาติเกิดการเชื่อมโยงกันเอง เป็นแบบวงแหวน (cyclize) ทำให้สมบัติของยางเปลี่ยนไป มีความแข็งแรงมากกว่าปกติ สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง [เทคโนโลยียาง] | Epoxidised or Epoxidized natural rubber | ยางธรรมชาติอิพ็อกซิไดซ์เป็นยางที่ได้จากการเติมออกซิเจนเข้าไปใน โมเลกุลของยางตรงบริเวณพันธะคู่เกิดเป็นวงแหวนอิพ็อกไซด์โดยผ่านปฏิกิริยาอิ พ็อกซิเดชัน (Epoxidation) โดยมีระดับของการเกิดอิพ็อกซิเดชันตั้งแต่ร้อยละ 10-50 ยาง ENR ที่ได้จึงมีความเป็นขั้วสูงกว่ายางธรรมชาติทั่วไป ทำให้ทนต่อความร้อนและน้ำมันได้ดีขึ้น โดยยาง ENR เกรดที่มีระดับอิพ็อกซิเดชันสูงถึงร้อยละ 50 จะมีความเป็นขั้วสูงเทียบเท่ากับยาง NBR ที่มีปริมาณอะไครโลไนไทรล์ปานกลาง นอกจากนี้ยังพบว่ายาง ENR ที่เสริมแรงด้วยซิลิกาจะมีสมบัติคล้ายกับยางธรรมชาติที่เสริมแรงด้วยเขม่าดำ อีกด้วย การเตรียมยาง ENR นี้สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง [เทคโนโลยียาง] | Ethylene propylene diene rubber | ยาง EPDM เป็นยางสังเคราะห์ที่พัฒนามาจากยาง EPM โดยเติมมอนอเมอร์ตัวที่สาม คือ ไดอีน ลงไปเล็กน้อยในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ทำให้ยางที่ได้มีส่วนที่ไม่อิ่มตัว (พันธะคู่) อยู่ในสายโซ่โมเลกุล ยางชนิดนี้จึงสามารถคงรูปได้ด้วยกำมะถัน แต่ไดอีนที่เติมลงไปไม่ได้ไปแทรกอยู่ที่สายโซ่หลักของโมเลกุล ดังนั้นสายโซ่หลักก็ยังคงเหมือนเดิมหรือไม่มีผลต่อสายโซ่หลักมากนัก จึงทำให้ยาง EPDM ยังคงมีสมบัติเด่นในเรื่องการทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อน แสงแดด ออกซิเจน โอโซน สารเคมี กรด ด่างได้ดีมาก และมีความยืดหยุ่นตัวได้ดีที่อุณหภูมิต่ำเมื่อเทียบกับ ยางธรรมชาติ มักใช้ทำผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ภายนอกเนื่องจากทนต่อสภาพอากาศได้ดีและใช้ผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์เป็นส่วนใหญ่ เช่น ยางขอบกระจก ยางปัดน้ำฝน ท่อยางของหม้อน้ำรถยนต์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้เป็นฉนวนหุ้มสายเคเบิล สายพานลำเลียง แผ่นยางกันน้ำ แผ่นยางมุงหลังคา [เทคโนโลยียาง] | Ethylene propylene rubber | ยาง EPM เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากการทำปฏิกิริยาโคพอลิเมอไรเซชันระหว่างมอนอเมอร์ ของเอทิลีน (ethylene) กับโพรพิลีน (propylene) มีลักษณะการจัดเรียงตัวของโมเลกุลแบบอสัณฐานและมีสมบัติเป็นยาง แต่ไม่มีส่วนที่ไม่อิ่มตัว (ไม่มีพันธะคู่) จึงทำให้มีสมบัติเด่นในเรื่องความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากแสง แดด ออกซิเจน ความร้อน โอโซน และสารเคมี แต่ยางชนิดนี้มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กำมะถันในการคงรูปได้ (เนื่องจากไม่มีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล) ดังนั้นการทำให้ยางคงรูปจึงต้องใช้เพอร์ออกไซด์เท่านั้น การใช้งานนิยมใช้ทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานภายนอก เช่น ยางขอบประตู ยางขอบหน้าต่าง โอริง ฉนวนหุ้มสายเคเบิล เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Fluorocarbon rubber | ยางฟลูออโรคาร์บอนเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่มีฟลูออรีนเป็นองค์ ประกอบอยู่ในโมเลกุล ทำให้ยางมีความเป็นขั้วและมีความเสถียรสูงมาก ทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากสภาพอากาศ ความร้อน ปฏิกิริยาออกซิเดชัน เปลวไฟ และสารเคมีต่างๆ ได้ดีเยี่ยม ถึงแม้ว่ายางชนิดนี้จะทนสารเคมีต่างๆ ได้ดีแต่ไม่แนะนำให้นำไปผลิตผลิตภัณฑ์ที่สัมผัสกับตัวทำละลายที่มีขั้ว เช่น คีโตน อีเทอร์และเอสเทอร์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำ สารประกอบเอมีน กรดไฮโดรฟลูออริกและกรดคลอโรซัลโฟนิคที่ร้อน น้ำร้อนและไอน้ำ เมทานอล และน้ำมันเบรกที่มีไกลคอลเป็นองค์ประกอบ ยางฟลูออโรคาร์บอนมีหลายเกรดแตกต่างกันตามโครงสร้างทางเคมีและปริมาณของ ฟลูออรีนในยาง การใช้งานค่อนข้างจำกัดเนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูงมาก มักนำไปผลิตปลอกหุ้มสายไฟหรือสายเคเบิล โดยเฉพาะในกรณีที่ต้องการความทนทานต่อความร้อน โอโซน สารเคมี และเปลวไฟสูงเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ โดยเฉพาะชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องบิน จรวด เช่น ท่อน้ำมันเชื้อเพลิง ยางโอริง ปะเก็น ยางซีล เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Gutta percha | ยางธรรมชาติสายพันธุ์หนึ่งที่ได้จากต้นยางกัตตา (Palaquium gutta) ซึ่งเป็นต้นไม้ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีสมบัติความยืดหยุ่นไม่ดีเนื่องจากลักษณะโครงสร้างโมเลกุลเป็น ทรานส์-1, 4-พอลิไอโซพรีน (trans-1, 4-polyisoprene) แต่มีความเป็นฉนวนที่ดี นิยมใช้ในการทำส่วนประกอบของลูกกอล์ฟ ทำฟันปลอม ฉนวนหุ้มสายเคเบิลไฟทั้งใต้ดินและในทะเล [เทคโนโลยียาง] |
| You're gonna grant me any three wishes I want, right? -Ah, almost. There are a few provisos, a couple of quid pro quos | เจ้า ให้คำอธิษฐานข้า 3 ข้อที่ข้าต้องการ ใช่มั้ย อา เกือบหมด มีเงื่อนไขนิดหน่อย เป็นการเเลกเปลี่ยน Aladdin (1992) | The atomic number of zinc is 30. | โมเลกุลของตะกั่วเท่ากับ 30 The Bodyguard (1992) | The idea as I see it is that we expand the molecules and the ring grows bigger and drops off. | คือการที่เราขยายโมเลกุล และแหวนเติบโตใหญ่และมันหยด ออก มีอะไรค่าไฟฟ้าของคุณคืออย่างไร Help! (1965) | He saw us and he came in low, and three hours later... a big fat PBY comes down and starts to pick us up. | เครื่องบินตรวจการทางทะเลก็มารับเรา Jaws (1975) | Well, I'll add it to my threat collection. | ก็ฉันจะเพิ่มเข้าไปใน คอลเลกชันภัยคุกคามของฉัน Mad Max (1979) | Molecular breakdown? | การสลายโมเลกุล? 2010: The Year We Make Contact (1984) | This is actually the largest single collection of... | นี้เป็นจริงคอลเลกชันเดียว ที่ใหญ่ที่สุดของ ... Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | Miss Porter, this is one of the largest single collections... of hummingbirds in Europe. | นางสาวพอร์เตอร์นี้เป็นหนึ่ง ในคอลเลกชันเดียวที่ใหญ่ที่สุด ... ของฮัมมิ่งเบิร์ในยุโรป Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | Probably some local fisherman out for a pleasure cruise at night through eel-infested waters. | อาจจะเป็นคนตกปลาที่อาศัยอยู่แถวนี้ ออกมาล่องเรือในยามค่ำ เพื่อชมปลาไหลทะเลก็ได้นะ The Princess Bride (1987) | (SCREAMING) She doesn't get eaten by the eels at this time. | เธอไม่ได้ถูกปลาไหลทะเลกินในเวลานั้น The Princess Bride (1987) | Last year, in the valley of Legman, the next valley, 6.000 Afghans were killed. | ปีก่อน ที่หุบเขาเลกมาน อยู่ถัดไปจากนี่ ชาวอัฟกัน 6, 000 คนถูกฆ่า Rambo III (1988) | It's a classy place. Look at the layout. | สถานที่ยอดเยี่ยม ทำเลก็แจ๋ว Goodfellas (1990) | Take her to sea, Mr. Murdoch. Let's stretch her legs. | พาออกทะเลกว้าง คุณเมอร์ด็อค ยืดแข้งยืดขาเรือหน่อย Titanic (1997) | But just three days later, the ocean got tired of the festivities | แต่แค่ 3 วันให้หลัง ท้องทะเลก็เบื่อความอึกทึก The Legend of 1900 (1998) | Allegra! Allegra! | อัลเลกร้า อัลเลกร้า eXistenZ (1999) | I give you the game-pod goddess herself Allegra Geller. | เราขอเสนอเกม-พอด เจ้าแห่งเกมเธอเอง อัลเลกร้า เกลเลอร์ eXistenZ (1999) | Everything's in order. Are you ready, Allegra? | ทุกๆ อย่างอยู่ในความควบคุม คุณพร้อมนะ อัลเลกร้า eXistenZ (1999) | Death to the demoness Allegra Geller! | ความตายสู่ปีศาจร้าย อัลเลกร้า เกลเลอร์! eXistenZ (1999) | ' Death to Allegra Geller.' | "ความตายสู่อัลเลกร้า เกลเลอร์" eXistenZ (1999) | Allegra Geller. | อัลเลกร้า เกลเลอร์ eXistenZ (1999) | Before it was changed by Allegra Geller. | ก่อนที่มันจะถูกเปลี่ยน โดยอัลเลกร้า เกลเลอร์ eXistenZ (1999) | There's a bonus for killing Allegra Geller's latest game, or whatever it is. | การฆ่ายอมมีโบนัสบ้าง เกมล่าสุดของอัลเลกร้า เกลเลอร์ หรืออะไรก็ตามแต่ eXistenZ (1999) | Allegra, we need help. | อัลเลกร้า เราต้องการความช่วยเหลือ eXistenZ (1999) | Allegra Geller. | อัลเลกร้า เกลเลอร์ eXistenZ (1999) | Allegra we're back home. | อัลเลกร้า เรากลับบ้าน เรากลับมาบ้าน eXistenZ (1999) | Allegra! Listen to me. Listen to me. | อัลเลกร้า ฟังนะ ฟังผม eXistenZ (1999) | How could Allegra Geller the world's premier game designer, be on our side? | อัลเลกร้า เกลเลอร์ นักออกแบบเกมของโลก จะอยู่ข้างเราได้ไง? eXistenZ (1999) | Allegra, you were so good in that role, I suspect it won't be long before Pilgrlmage is after you to sign a design contract. | อัลเลกร้า คุณเยี่ยมมากในบทนั้น ผมสงสัย ว่าอีกไม่นานเลยที่ พิลจ์อิมเมจ จะเสนอสัญญาการทำงานให้ eXistenZ (1999) | But I'd just like to assure everybody here that Allegra wouldn't really jump into bed with a security guard. | แต่ผมรับประกันว่าทุกๆ คนที่นี่ อัลเลกร้านั้น ไม่โดดขึ้นเตียงจริงกับรปภ.หรอก eXistenZ (1999) | Take both the parasites. They're yours. | บางทีนะ, บางทีเราน่าจะเเลกเบอร์กัน Fight Club (1999) | It wasn't all that bad. | ไม่เลวหรอก มีด๊อกเลกแค่ 2-3 หลุม The Legend of Bagger Vance (2000) | The sea is beautiful, too | ทะเลก็งดงามเช่นกัน Failan (2001) | Legs! | เลกส์ Ken Park (2002) | Legs, please. I'm trying to work! | เลกส์ ขอร้องน่าาา ชั้นทำงานอยู่ Ken Park (2002) | - They are at the seaside. | - พวกป๊าไปเที่ยวทะเลกัน The Dreamers (2003) | And using the magic of research oil companies compete with each other in taking the petroleum molecule apart and rearranging it into well you name it... | ด้วยความมหัศจรรย์ในการค้นคว้าวิจัย บรรษัทน้ำมันแข่งขันกัน ค้นคว้าเรื่องการแตกโมเลกุลของปิโตรเลียม The Corporation (2003) | Id like it to be relatively non-destructible and then he'd put two benzene molecules on the blackboard and add a chlorine here and a chlorine there that was DDT! | อยากให้มันตกค้างค่อนข้างนาน นักเคมีก็เขียนโมเลกุลเบนซิน 2 ตัว ลงบนกระดานดำ The Corporation (2003) | The bonding enzymes in proteus molecules which... | ซึ่งเกี่ยวพันกับเอนไซม์ในโมเลกุลของโปรตีอุส Sky Captain and the World of Tomorrow (2004) | You're living on borrowed time, Lex. | คุณมีชีวิตอยู่อย่างยื้อเวลา เลกซ์ Crusade (2004) | I'll get it for you! Sit down! | ไม่นะเลกซ์, รอก่อน ผมจะหามันให้คุณนะ หามันให้คุณ นั่งลง Crusade (2004) | - Gloria! - Alex! | กลอเรีย อเลกซ์ Madagascar (2005) | You ever thought it might be more than life and stake, Alex? | นายไม่เคยคิดบ้างเหรอว่ามันมีอะไรที่มากกว่า ชีวิต กับ สเตค น่ะอเลกซ์ Madagascar (2005) | - What's eating him? - Maybe you should talk to him, Alex. | เค้าเป็นอะไรนะ/ นายน่าจะเข้าไปคุยกะเค้าหน่อยนะ อเลกซ์ Madagascar (2005) | - Alex. - I can see where this is going. | อเลกซ์ ฉันรู้ว่าเกิดอะไรขึ้นที่นี่ Madagascar (2005) | Alex, look here. | อเลกซ์ ดูนี่นะ Madagascar (2005) | - Marty, I'm thinking of a song. - Alex please, not now. | มาร์ตี้ ฉันกำลังคิดถึงเพลง ๆนึง อย่า อเลกซ์ ไม่ใช่ตอนนี้ Madagascar (2005) | - You are a rare delicacy. - Alex? Alex. | เจ้าอร่อยจริงๆ / อเลซ์ อเลกซ์ อเลกซ์ Madagascar (2005) | - So alone, so alone. - Alex! | เหงาจัง ฉันเหงา อเลกซ์ Madagascar (2005) | - Alex are you there? - Marty? | อเลกซ์ นายอยู่นั่นรึเปล่า มาร์ตี้เหรอ Madagascar (2005) | - Alex? Marty? Is that you? | อเลกซ์ มาร์ตี้ นั่นพวกเธอเหรอ กลอเรีย เธอก็อยู่นี่ด้วยหรอ Madagascar (2005) |
| ค่าอิเลกโตรเนกาติวิตี้ | [khā ilēktrōnēkātiwitī] (n, exp) EN: electronegativity FR: électronégativité [ f ] | โมเลกุล | [mōlēkun] (n) EN: molecule FR: molécule [ f ] | โมเลกุลน้ำ | [mōlēkun nām] (n, exp) EN: H2O FR: molécule d'eau [ f ] ; H2O | สารชีวโมเลกุล | [sān chīwamōlēkun] (n) EN: biomolecule | สูตรโมเลกุล | [sūt mōlēkun] (n, exp) EN: chemical formula FR: formule chimique [ f ] |
| bleep | (n) เสียงสูงสั้นๆ เกิดจากเครื่องอิเลกทรอนิกส์, Syn. beep | bleep | (vt) ดูดเสียงคำที่หยาบคายออกแล้วใส่เสียง บี๊บ ของเครื่องอิเลกทรอนิกส์เข้าไปแทน | denature | (vt) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางโมเลกุล (ทางชีวเคมี) | mole | (n) น้ำหนักโมเลกุลของสสาร, See also: กรัมโมเลกุล | molecular | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับโมเลกุล, See also: ซึ่งประกอบด้วยโมเลกุล, Syn. atomic, microscopic | molecular | (adj) เกี่ยวกับโมเลกุล, Syn. microscopic, atomic, subatomic | molecular weight | (n) น้ำหนักโมเลกุล, Syn. weight | molecularity | (n) การประกอบด้วยโมเลกุล | molecularly | (adv) ประกอบด้วยโมเลกุล | molecule | (n) โมเลกุล, See also: อณูของสารประกอบ, Syn. bit, atom, particle, Ant. lot, mass | pectin | (n) คาร์โบไฮเดรตที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงพบในพืชและผลไม้สุก, See also: สารเพคติน, Syn. gelatin, isinglass | structural | (adj) เกี่ยวกับโครงสร้างโมเลกุล | substituent | (n) อะตอมซึ่งแทนที่อะตอมอื่นในโมเลกุล | xanthine | (n) สารประกอบสีเหลืองในโมเลกุลของสีย้อม |
| atomicity | (แอททัมมิส'ซิที) n. จำนวนอะตอมในหนึ่งโมเลกุลของแก๊ส. =valence | avogadro's law | กฎที่ว่าแก๊สทั้งหลายที่มีปริมาตรที่เท่ากัน ภายใต้อุณหภูมิและความกดดันเดียวกันย่อมมีจำนวนโมเลกุลเท่ากัน | avogadro's number | ค่าคงที่ 6.02 X 1023 ซึ่งเป็นจำนวนอะตอมในกรัม-อะตอม หรือจำนวนโมเลกุลในกรัม-โมเลกุล, Syn. Avogadro's constant Avogadro number | bond | (บอนดฺ) { bonded, bonding, bonds } n. ข้อผูกมัด, ข้อตกลงในสัญญา, สิ่งผูกมัด, พันธนาการ, สลัก, ตรวน, โซ่, การคุมขัง, การติดคุก, พันธบัตร, ใบกู้ยืม, ใบหุ้นกู้, พันธุกรรม, พันธะระหว่างอะตอมในโมเลกุล vi., vt. (ทำให้) ผูกมัดเข้าด้วยกัน, เชื่อมติด, ผนึกเข้าด้วยกัน adj. เกี่ยวกับควา | bootleg | (บูท'เลก) n. เหล้าเถื่อน vt. & vi. กลั่นขายหรือขนส่งเหล้าเถื่อน, See also: bootlegger n. | bowleg | (โบ'เลก) n. ภาวะขาโก่ง, ขาที่โก่งงอ., See also: bowlegged adj. ขาโก่ง bowleggedness n. ภาวะขาโก่ง | cohesive | (โคฮี'ซิฟว) adj. ซึ่งยึดติด, ซึ่งติดเกาะ, ซึ่งเกาะกัน, เกี่ยวกับโมเลกุลที่ยึดเกาะของสาร. | configuration | (คันฟิกยะเร'เชิน) n. โครงร่าง, สัณฐาน, รูปร่างภายนอก, องค์ประกอบ, กลุ่มดวงดาว, ตำแหน่งของอะตอมในโมเลกุล., See also: configurational adj. ดูconfiguration configurative adj. ดูconfiguration, Syn. arrangement, set | daddy-longlegs | (แดด'ดีลองลเลกซฺ) n. แมลงขายาวมาก | dogleg | (ดอก'เลก) n. สิ่งที่งอเป็นมุม | foreleg | (ฟอร์'เลก) n. ขาหน้า | hydrate | (ไฮ'เดรท) n. สารประกอบที่มีโมเลกุลของน้ำอยู่ด้วย. vt., vi.รวมกับน้ำ., See also: hydration, hydrator n. | leg | (เลก) { legged, legging, legs } n. ขา, ช่วงการเดินทางหรือเดินเรือ, นักต้ม vt. เคลื่อนด้วยเท้า พายด้วยเท้า -Phr. (pull one's leg ล้อเลียน), See also: leggy adj. | legacy | (เลก'กะซี) n. มรดก, มรดกตกทอด, ของขวัญ, Syn. estate, bequest | legate | (เลก'กิท) n. ทูต, ทูตขององค์สันตะปาปา, ตำแหน่งหรือที่ทำการของทูต, ตำแหน่งหรือที่ทำการของทูตขององค์สันตะปาปา, See also: legationary adj. | legator | (ลิเก'เทอะ, เลก'กะทอร์') n. ผู้ยกมรดกให้, ผู้ทำพินัยกรรมยกมรดกให้., See also: legatorial adj. | legged | (เลก'กิด) adj. มีขา, มีจำนวนหรือชนิดของขาที่ระบุไว้ | legging | (เลก'กิง) n. ที่ปกคลุมขา, ที่หุ้มขา., See also: legginged adj. ดูlegging, Syn. leggin | leggy | (เลก'กี) adj. มีขายาวอย่างงุ่มง่าม, มีขายาวที่สวย, เกี่ยวกับขา., See also: legginess n. ดูleggy | legume | (เลก'กูม, ลิกูม') n. พืชฝักตระกูล ถั่ว, ฝักของพืชดังกล่าว, ถั่ว | mol | (โมล) n. น้ำหนักโมเลกุลเป็นกรัมของสาร, กรัม-โมเลกุล., Syn. mole | molal | (โม'ลัล) adj. เกี่ยวกับน้ำหนักโมเลกุลเป็นกรัม | mole | (โมล) n. ไฝ, ครรภ์ไข่ปลาดุก, ก้อนโลหิตในมดลูก, กรัมโมเลกุล, ตัวตุ่น, กำแพงหินกั้นน้ำ | molecular | (โมเลค'คิวละ) adj. เกี่ยวกับโมเลกุล | molecule | (มอล'ละคูล) n. โมเลกุล, ปริมาณที่น้อยที่สุดของสาร, Syn. smallest particle | pixel | (พิก'เซลฺ) ย่อมาจาก picture element หมายถึง จุดที่เล็กที่สุดที่รวมตัวกันเป็นภาพ เหมือนอะตอมที่รวมตัวกันเป็นโมเลกุล (อะตอมนั้นไม่อาจจะแยกแยะต่อไปได้อีกแล้ว) จอภาพที่แสดงภาพที่มีจุด เล็ก ๆ มาก จะยิ่งให้ภาพที่คมชัด ในปัจจุบัน จอภาพชั้นดีและมีประสิทธิภาพสูง จะมีถึง 1, 280 จุดในแนวตั้ง และ 1, 024 จุดในแนวนอน | substituent | (ซับสทิช'ชูเอินทฺ) n. อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่แทนที่อะตอมหรือกลุ่มอะตอมอื่นในโมเลกุลของสารประกอบเดิม. adj. แทนที่ได้, สามารถแทนที่ได้ | telegraphy | (ทะเลก'กระฟี) n. เทคนิคการส่งโทรเลข, เทคนิคของระบบโทรเลข | un- | (คำเสรมหน้า) ไม่, ไม่ม, ปราศจาก, ไร, สลัด, เอาออก, เลก, ยกเลิก, ทำให้สูญเสย, ตรงกันข้าม | vitamin d3 | n. วิตามิน D ที่มีตามธรรมชาติพบในน้ำมันตับปลา มันมีโครงสร้างโมเลกุลแตกต่างจากvitamin-D2เล็กน้อย., Syn. cholecalciferol |
| | amphipathic | [แอมฟิพาติก] (n) สารที่มีทั้งส่วนที่ชอบน้ำและไม่ชอบในโมเลกุลเดียวกัน | Glycosylation | การปรับเปลี่ยนภายหลังการแปลซึ่งโมเลกุลของคาร์โบไฮเดรตหนึ่งหรือมากกว่าจะถูกเพิ่มไปยังโปรตีน | octameric | แปดโมเลกุล | peptide | (n) ลูกโซ่โมเลกุลของโปรตีนขนาดยาว (Chain molecule, Poly molecular chain) | Sickle cell disease | กลุ่มของความผิดปกติที่มีผลต่อฮีโมโกลโมเลกุลในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ให้ออกซิเจนไปยังเซลล์ทั่วร่างกาย คนที่มีความผิดปกตินี้มีโมเลกุลของโมโกลเศร้าที่เรียกว่าฮีโมโกล S ซึ่งสามารถบิดเบือนเซลล์เม็ดเลือดแดงเป็นเคียวหรือเสี้ยว, รูปร่าง | Thiazide | เป็นชนิดของโมเลกุลและระดับของยาขับปัสสาวะมักจะใช้ในการรักษาความดันโลหิตสูง (แรงดันโลหิตสูง) และอาการบวมน้ำ (เช่นที่เกิดจากหัวใจ, ตับ, หรือโรคไต). |
| 分子 | [ぶんし, bunshi] TH: โมเลกุล |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |