ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อือ, -อือ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ อือ | (int) yeah, See also: right, Example: เธอจะไม่พูดอะไรบ้างหรือนอกจากอืออือ, Thai Definition: คำที่เปล่งออกมาเป็นการตอบรับหรือรับรู้ | อือออ | (v) agree with, Syn. คล้อยตาม, Thai Definition: พลอยเห็นดีเห็นงามไปด้วย | เอือน | (adj) incomplete development of inside meat of a coconut, Thai Definition: ที่มีเนื้อบาง ขรุขระเหมือนผิวมะกรูด (ใช้แก่มะพร้าว) | เอือม | (v) be fed up, See also: be bored, be tired of, Syn. เอือมระอา, เบื่อหน่าย, Example: คนไทยไม่รักการอ่าน เพราะกว่าจะอ่านออกเขียนได้ ต้องทนทุกข์ทรมานอย่างแสนสาหัส เอือมแสนที่จะเอือมต่อการเรียนรู้ภาษาไทยเบื้องต้น, Thai Definition: เบื่อหน่ายในสิ่งที่ซ้ำๆ ซากๆ มากเกินไป | เอือมระอา | (v) be fed up, See also: be bored, be tired of, Syn. เอือม, เบื่อหน่าย, Example: การเคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนจากประชาชนทั่วประเทศที่ต่างเอือมระอารัฐบาลเผด็จการ | น่าเอือมระอา | (adv) tediously, See also: tiresomely, boringly, Syn. น่าเบื่อ, Example: อาจารย์ประจำวิชาส่ายหน้าอย่างน่าเอือมระอาที่นักเรียนพากันไม่ตั้งใจเรียนหนังสือ |
|
| นอนเอือก | ก. นอนอืดอย่างเกียจคร้าน. | ไม่หือไม่อือ | ว. ไม่ตอบ, ไม่ขานรับ, เช่น เรียกแล้วก็ยังไม่หือไม่อือ. | อือ | อ. คำที่เปล่งออกมาเป็นการตอบรับหรือรับรู้. | เอือด | ว. ชื้น เช่น เกลือเอือด ผ้าเอือด. | เอือด | น. ดินที่มีธาตุเกลือปนอยู่และขึ้นเป็นขุยขาวที่หน้าดิน. | เอือน ๑ | น. พยาธิในท้องชนิดหนึ่ง เช่น ลางคาบมีตืดมีเอือนในท้องนั้น (ไตรภูมิ). | เอือน ๒ | น. ลักษณะของเนื้อมะพร้าวแก่ที่บาง ขรุขระเหมือนผิวมะกรูด มีรสออกหวานไม่มัน เรียกว่า มะพร้าวเป็นเอือน หรือ มะพร้าวเอือนกิน. | เอือนกิน | ว. เรียกลักษณะมะพร้าวเป็นเอือน ว่า มะพร้าวเอือนกิน. | เอือม | ว. เบื่อหน่ายในสิ่งที่ซํ้า ๆ ซาก ๆ มากเกินไป. | โฮกอือ | น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใช้ปลาแห้งหรือหัวปลาแห้งเป็นต้นต้มกับหัวหอม ส้มมะขามหรือใบมะขามอ่อน แล้วเติมเกลือให้ออกรสเปรี้ยวเค็ม, ต้มโคล้ง ก็เรียก. | ต้มโคล้ง | (-โคฺล้ง) น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใช้ปลาแห้งหรือหัวปลาแห้งเป็นต้นต้มกับหัวหอม ส้มมะขามหรือใบมะขามอ่อน แล้วเติมเกลือ ให้ออกรสเปรี้ยวเค็ม, โฮกอือ ก็เรียก. | ทีฆสระ | น. สระที่มีเสียงยาว ในภาษาบาลีได้แก่ อา อี อู เอ โอ, ในภาษาสันสกฤตได้แก่ อา อี อู ฤๅ ฦๅ เอ ไอ โอ เอา, ในภาษาไทยได้แก่ อา อี อือ อู เอ แอ โอ ออ เออ เอีย เอือ อัว. | รัสสระ | (รัดสะสะหฺระ) น. สระที่มีเสียงสั้น ในภาษาบาลีได้แก่ อ อิ อุ, ในภาษาสันสกฤตได้แก่ อ อิ อุ ฤ ฦ, ในภาษาไทยได้แก่ อ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ อำ ใอ ไอ เอา. | อ ๑ | (ออ) พยัญชนะตัวที่ ๔๓ เรียกว่า ออ อ่าง เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น, ใช้นำตัว ย ให้ผันอย่างอักษรกลาง มี ๔ คำ คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก, ใช้เป็นรูปสระ ออ เช่น รอ ปอ และประสมเป็นสระ อือ เอือ เออ เช่น มือ เถือ เธอ. | อิดหนาระอาใจ | ก. เบื่อหน่าย, เอือมระอา. |
| Babling | ส่งเสียงอืออาเล่น [การแพทย์] | Lallation | ส่งเสียงอืออาเลียนเสียงของตัวเองซ้ำๆซากๆ [การแพทย์] |
| อือ | [eū] (interj) EN: yeah ; right ; yes ; aye FR: oui | อือม์ | [eūm] (interj) EN: um FR: hum | อือออ | [eū-ø] (v) EN: agree with |
| | ahem | (อะเฮม') interj. อือฮื้อ (แสดงความสงสัย, ความสนใจและอื่น) (an utterance) |
| irk | (vt) ทำให้เบื่อ, ทำให้เอือม, รบกวน, ทำให้รำคาญ | irksome | (adj) น่าเบื่อ, เอือม, น่ารำคาญ, เซ็ง |
| 白眼視 | [hakuganshi] (n, vt) การมองบน (เมื่อเอือมระอา) |
| alphabet | (n) |m, pl. -s| ตัวอักษร ประกอบด้วย A(อา) B(เบ) C(เซ) D(เด) E(เอ) F(เอฟ) G(เจ) H(อาช) I(อี) J(จี) K(คา) L(เอ็ล) M(เอ็ม) N(เอ็น) O(โอ) P(เพ) Q(คู) R(แอร์) S(เอส) T(เท) U(ออกเสียงระหว่าง อู-อือ) V(เว) W(ดุบเบลอเว) X(อิกส์) Y(อีเกร็ค) Z(เซท) | consonne | (n) |f, pl. -s| พยัญชนะ, สระอักษร ประกอบด้วย A(อา) B(เบ) C(เซ) D(เด) E(เอ) F(เอฟ) G(เจ) H(อาช) I(อี) J(จี) K(คา) L(เอ็ล) M(เอ็ม) N(เอ็น) O(โอ) P(เพ) Q(คู) R(แอร์) S(เอส) T(เท) U(ออกเสียงระหว่าง อู-อือ) V(เว) W(ดุบเบลอเว) X(อิกส์) Y(อีเกร็ค) Z(เซท) é: e accent aigu è: e accent grave ê: e accent circonflexe ë: e tréma ç ตัวอักษรที่เรียกว่า cédille (เซดีย์) ใช้เปลี่ยงเสียงคำที่ขึ้นต้นด้วย ca, co, cu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ค ให้เป็น ça, ço, çu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ส |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |