มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ วิเคราะห์ | (v) analyze, See also: contemplate, consider, Syn. พินิจพิจารณา, Example: การจับคนมาขึ้นเขียงเพื่อวิเคราะห์นั้น เราอาจจะทำได้หลายแง่หลายมุม, Thai Definition: พิจารณาอย่างละเอียด | บทวิเคราะห์ | (n) review, See also: critic, Example: บทวิเคราะห์การเมืองในหนังสือพิมพ์ฉบับนี้วิเคราะห์ได้ละเอียดมาก, Count Unit: บท, Thai Definition: ส่วนที่เป็นการพิจารณาวิเคราะห์ | จิตวิเคราะห์ | (n) psychoanalysis, Example: ฟรอยด์ใช้หลักจิตวิเคราะห์อธิบายพฤติกรรมของเด็กวัยรุ่นตอนต้น, Thai Definition: ทฤษฎีที่อธิบายพัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่วัยทารกจนถึงวัยผู้ใหญ่ ในด้านลักษณะความขัดแย้งของแรงจูงใจ และปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาของชีวิต | นักวิเคราะห์ | (n) analyst, Example: ในอนาคตบริษัทของเราจะจ้างนักวิเคราะห์เกี่ยวกับระบบอีกสามคน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ทำการวิเคราะห์, ผู้เชี่ยวชาญในการวิเคระห์ | ผลการวิเคราะห์ | (n) analysis result, Syn. ผลวิจัย, Example: จากผลการวิเคราะห์ พบว่าการโคจรของดาวเทียมทำให้เรามีสื่อสารที่ก้าวหน้ามากขึ้น, Thai Definition: ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นคว้า ศึกษาข้อมูลอย่างมีระบบ | การวิเคราะห์งาน | (n) analysis, Example: การวิเคราะห์งานในแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียด | นักจิตวิเคราะห์ | (n) psychoanalysis, Example: นักจิตวิเคราะห์ถือว่าความฝันเป็นสิ่งสะท้อนถึงจิตในส่วนลึกทั้งความสุขและความทุกข์, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ชำนาญการในด้านวิเคราะห์จิตใจตามหลักจิตวิทยา | นักวิเคราะห์ข่าว | (n) commentator, See also: news analyst, Syn. นักพิเคราะห์ข่าว, นักวินิจฉัยข่าว, Example: ทางรายการมีโอกาสต้อนรับนักวิเคราะห์ข่าวชื่อดังซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข่าวนั้น | เรขาคณิตวิเคราะห์ | (n) analytic geometry, Thai Definition: เรขาคณิตที่ใช้สมการมาควบคุมเซตของจุดที่เรียงกันเป็นรูปทรงต่างๆ แล้วอนุมานผลลัพธ์จากการแก้สมการนั้นๆ รวมทั้งการแปลความหมายด้วย, Notes: (คณิต) | การวิเคราะห์เนื้อหา | (n) content analysis, Example: ขั้นตอนที่ยากที่สุดในการทำรายงานคือการวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อเขียนในรายงาน |
|
| เรขาคณิตวิเคราะห์ | น. เรขาคณิตที่ใช้สมการมาควบคุมเซตของจุดที่เรียงกันเป็นรูปทรงต่าง ๆ แล้วอนุมานผลลัพธ์จากการแก้สมการนั้น ๆ พร้อมทั้งการแปลความหมายด้วย. | วิเคราะห์ | ก. ใคร่ครวญ เช่น วิเคราะห์เหตุการณ์ | วิเคราะห์ | แยกออกเป็นส่วน ๆ เพื่อศึกษาให้ถ่องแท้ เช่น วิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ วิเคราะห์ข่าว. | เคมี | น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงเรื่องราวและสมบัติของสารต่าง ๆ ว่าประกอบกันขึ้นเป็นสารนั้น ๆ ได้อย่างไร และเมื่อสารนั้น ๆ แปรเปลี่ยนไปเป็นสารอื่นได้ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ เป็นอย่างไร ทั้งกล่าวถึงการที่จะสังเคราะห์สารนั้น ๆ ขึ้นได้อย่างไรด้วย แบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ อีกหลายสาขา เช่น เคมีอินทรีย์ เคมีอนินทรีย์ ชีวเคมี เคมีกายภาพ เคมีวิเคราะห์. | ตีความ | วิเคราะห์ถ้อยคำ ข้อความ และความมุ่งหมายของบทกฎหมาย นิติกรรม สัญญา หรือเอกสารอื่น ๆ ที่มีปัญหาสงสัย หรือที่มีความหมายไม่ชัดเจน เพื่อให้ทราบความหมายของถ้อยคำหรือข้อความนั้น ๆ. | ถึงแก่น | ว. จนถึงสาระสำคัญ เช่น เขาวิเคราะห์เจาะลึกได้ถึงแก่น. | บิวเรตต์ | น. หลอดแก้วยาว ปลายล่างมีลูกบิดให้ปิดเปิดได้ ข้างหลอดมีขีดบอกปริมาตรสำหรับวัดของเหลวที่ไขออก ใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ทางเคมี. | ภาษาศาสตร์ | น. วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล. | เภสัชเคมี | (เพสัด-) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียม การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ และการทำสารเคมีที่ใช้เป็นยาให้ได้มาตรฐาน. | รังสีแพทย์ | น. แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา. | รังสีวิทยา | น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสี รวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค. | ลิตมัส | (ลิดมัด) น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งลักษณะเป็นผงสีม่วง ละลายนํ้าได้ สารละลายลิตมัสให้สีแดงเมื่อถูกกรด แต่ให้สีนํ้าเงินเมื่อถูกด่าง ใช้ประโยชน์ในเคมีวิเคราะห์และใช้ทดสอบสภาพกรดหรือด่างของดิน. | สเปกโทรสโกป | น. เครื่องมือที่ใช้ศึกษาการวิเคราะห์สเปกตรัม. | สืบเสาะและพินิจ | น. การค้นหาและรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคลและนำมาวิเคราะห์วินิจฉัยตามหลักวิชาการทางสังคมสงเคราะห์ แพทย์ จิตวิทยา กฎหมาย และหลักวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้องกับบุคคลและครอบครัวของบุคคลนั้น. | องค์ความรู้ | น. ความรู้ซึ่งได้มาจากการวิเคราะห์และสังเคราะห์ แล้วนำมาบูรณาการเข้าเป็นความรู้ในระดับที่สูงขึ้น. |
| | Classification | การวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Content analysis | การวิเคราะห์เนื้อหา , การวิเคราะห์เนื้อหา, Example: Content analysis หมายถึง การวิเคราะห์เนื้อหา เป็นวิธีการในทางสังคมศาสตร์เพื่อการศึกษาเนื้อหาของการสื่อสาร โดยการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาหรือแนวคิดที่ปรากฏในตำรา หนังสือ เอกสาร ข่าวสาร สื่อสิ่งพิมพ์ บทสนทนา หรือรูปภาพ วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ เนื้อหาเพื่อผลิตสื่อการสอน โดยผู้สอนมักมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งเนื้อหาทำให้ทราบโครงสร้าง ลำดับของเนื้อหา และขอบเขตเนื้อหาอย่างละเอียด รวมทั้งทำให้ผู้สอนเห็นการเปลี่ยนแปลงของเนื้อหาในแต่ละช่วงเวลาที่ทำการวิเคราะห์ด้วย และผลจากการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาช่วยให้สามารถแบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็นหัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยและหัวข้อย่อย สำหรับหน่วยในการวิเคราะห์ เพื่อใช้แสดงปริมาณของการวิเคราะห์ จึงมักวิเคราะห์ออกมาเป็น หัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยหัวข้อย่อย รวมทั้งปริมาณ เช่น จำนวนแนวคิด จำนวนหน้า เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | System analysis | การวิเคราะห์ระบบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Classification, Dewey Decimal | การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Hazard analysis and critical control point | ระบบวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Latent structure analysis | การวิเคราะห์กลุ่มแฝง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Logistic regression analysis | การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Conjoint analysis (Marketing) | การวิเคราะห์คอนจอยท์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Plastic analysis (Engineering) | การวิเคราะห์ด้วยวิธีพลาสติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Colorimetric analysis | การวิเคราะห์โดยการวัดสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electrochemical analysis | การวิเคราะห์ทางเคมีำไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nearest neighbor analysis (Statistics) | การวิเคราะห์เพื่อนบ้านใกล้ที่สุด (สถิติ) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Function point analysis | การวิเคราะห์ฟังก์ชันพอยต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Diagnosis, Ultrasonic | การวิเคราะห์ด้วยคลื่นเหนือเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Activity analysis | การวิเคราะห์กิจกรรม [เศรษฐศาสตร์] | Cost analysis | การวิเคราะห์ต้นทุน [เศรษฐศาสตร์] | Cost-benefit analysis | การวิเคราะห์ต้นทุนต่อผลตอบแทน [เศรษฐศาสตร์] | Analysis | การวิเคราะห์ [เศรษฐศาสตร์] | Economic analysis | การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] | Chemical analysis | การวิเคราะห์ทางเคมี [เศรษฐศาสตร์] | Comparative analysis | การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ [เศรษฐศาสตร์] | Mathematical analysis | คณิตวิเคราะห์ [เศรษฐศาสตร์] | Monetary analysis | การวิเคราะห์ภาวะการเงิน [เศรษฐศาสตร์] | Discriminant analysis | การวิเคราะห์การจำแนกประเภท [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Regression analysis | การวิเคราะห์การถดถอย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Remote-sensing images | การวิเคราะห์ข้อมูลภาพระยะไกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Remote sensing | การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Error analysis (Mathematics) | การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Analysis of variance | การวิเคราะห์ความแปรปรวน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Analysis of covariance | การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Value analysis (Cost control) | การวิเคราะห์คุณค่า (การควบคุมต้นทุนการผลิต) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Structural analysis (Engineering) | การวิเคราะห์โครงสร้าง (วิศวกรรมศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cluster analysis | การวิเคราะห์จัดกลุ่ม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Complex analysis | การวิเคราะห์เชิงซ้อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Numerical analysis | การวิเคราะห์เชิงตัวเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Quantitative analysis | การวิเคราะห์เชิงปริมาณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Instrumental analysis | การวิเคราะห์โดยอุปกรณ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Factor analysis | การวิเคราะห์ตัวประกอบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Principle components analysis | การวิเคราะห์ตัวประกอบสำคัญ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Multivariate analysis | การวิเคราะห์ตัวแปรพหุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Thermal analysis | การวิเคราะห์ทางความร้อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Environmental impact analysis | การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Multilevel analysis | การวิเคราะห์พหุระดับ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Fourier analysis | การวิเคราะห์ฟูเรียร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electric circuit analysis | การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Spectrum analysis | การวิเคราะห์สเปกตรัม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Path analysis | การวิเคราะห์เส้นโยง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Time-series analysis | การวิเคราะห์อนุกรมเวลา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Meta-analysis | การวิเคราะห์อภิมาน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
| ใบสำคัญแสดงการวิเคราะห์ | [baisamkhan sadaēng kān wikhrǿ] (n, exp) EN: certificate of analysis | บทวิเคราะห์ | [botwikhrǿ] (n) EN: review ; analysis FR: revue [ f ] | โดยวิธีวิเคราะห์ | [dōi withī wikhrǿ] (adv) FR: analytiquement ; par la méthode analytique | การคิดเชิงวิเคราะห์ | [kān khit choēng wikhrǿ] (n, exp) EN: analytical thinking | การวิเคราะห์ | [kān wikhrǿ] (n) EN: analysis FR: analyse [ f ] | การวิเคราะห์เชิงเหตุผล | [kān wikhrǿ choēng hētphon] (n, exp) EN: causal analysis | การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ | [kān wikhrǿ choēng khunnaphāp] (n, exp) EN: qualitative analysis FR: analyse qualitative [ f ] | การวิเคราะห์เชิงปริมาณ | [kān wikhrǿ choēng parimān] (n, exp) EN: quantitative analysis FR: analyse quantitative [ f ] | การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ | [kān wikhrǿ khā sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis | การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ | [kān wikhrǿ khunnaphāp nām] (n, exp) FR: analyse de la qualité de l'eau [ f ] | การวิเคราะห์ความแปรปรวน | [kān wikhrǿ khwām praēprūan] (n, exp) EN: analysis of variance (ANOVA) | การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม | [kān wikhrǿ khwām praēprūan ruam] (n, exp) EN: analysis of covariance (ANCOVA) | การวิเคราะห์กระบวนการ | [kān wikhrǿ krabūankān] (n, exp) EN: process analysis | การวิเคราะห์เนื้อหา | [kān wikhrǿ neūahā] (n, exp) EN: content analysis | การวิเคราะห์งาน | [kān wikhrǿ ngān] (n, exp) EN: job analysis | การวิเคราะห์ปัจจัย | [kān wikhrǿ patjai] (n, exp) EN: factor analysis | การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน | [kān wikhrǿ patjai pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental analysis | การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค | [kān wikhrǿ patjai thāng thēknik] (n, exp) EN: technical analysis | การวิเคราะห์ภายใน | [kān wikhrǿ phāinai] (n, exp) EN: internal analysis | การวิเคราะห์ภายนอก | [kān wikhrǿ phāinøk] (n, exp) EN: external analysis | การวิเคราะห์พฤติกรรม | [kān wikhrǿ phreuttikam] (n, exp) EN: behavior analysis FR: analyse du comportement [ f ] | การวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ | [kān wikhrǿ phreuttikam manut] (n, exp) FR: étude du comportement humain [ f ] | การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค | [kān wikhrǿ phreuttikam phūbøriphōk] (n, exp) FR: analyse du comportement du consommateur [ f ] | การวิเคราะห์ระบบข้อความ | [kān wikhrǿ rabop] (n, exp) EN: system analysis | การวิเคราะห์ระบบข้อความ | [kān wikhrǿ rabop khøkhwām] (n, exp) EN: discourse analysis | การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ | [kān wikhrǿ sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis | การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย | [kān wikhrǿ sahasamphan yāng-ngāi] (n, exp) EN: simple correlation analysys | การวิเคราะห์สัมพันธสาร | [kān wikhrǿ samphanthasān] (n, exp) EN: discourse analysis | การวิเคราะห์ศัพท์ | [kān wikhrǿ sap] (n, exp) EN: lexical analysis | การวิเคราะห์เศรษฐกิจ | [kān wikhrǿ sētthakit] (n, exp) EN: economic analysis FR: analyse économique [ f ] | การวิเคราะห์ตลาด | [kān wikhrǿ talāt] (n, exp) EN: market analysis FR: analyse de marché [ f ] | การวิเคราะห์ต้นทุน | [kān wikhrǿ tonthun] (n, exp) EN: cost analysis FR: analyse du coût [ f ] | การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ | [kān wikhrǿ tonthun lae phonprayōt] (n, exp) EN: cost-benefit analysis FR: analyse coût-bénéfice [ f ] ; analyse coût-avantage [ f ] | เคมีวิเคราะห์ | [khēmīsāt wikhrǿ] (n, exp) EN: analytical chemestry | เกี่ยวกับการวิเคราะห์ | [kīokap kān wikhrǿ] (adj) EN: analytical FR: analytique | นักเคมีวิเคราะห์ | [nakkhēmī wikhrǿ] (n, exp) EN: chemical analyst FR: chimiste analyste [ m ] | นักวิเคราะห์ | [nakwikhrǿ] (n) EN: analyst FR: analyste [ m ] | นักวิเคราะห์ข่าว | [nak wikhrǿ khāo] (n, exp) EN: commentator ; news analyst FR: commentateur [ m ] ; commentatrice [ f ] | ผลการวิเคราะห์ | [phon kān wikhrǿ] (n, exp) EN: result of the analysis FR: résultats d'analyse [ mpl ] | ผู้วิเคราะห์ | [phū wikhrǿ] (n) FR: analyseur [ m ] (vx) | เรขาคณิตวิเคราะห์ | [rēkhākhanit wikhrǿ] (n, exp) EN: analytic geometry FR: géométrie analytique [ f ] | วิเคราะห์ | [wikhrǿ] (v) EN: analyze ; consider ; ponder ; contemplate ; analyze chemically FR: analyser ; considérer ; analyser chimiquement | วิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบัน | [wikhrǿ sathānakān nai patjuban] (v, exp) EN: analyse the present situation |
| haccp | (abbrev) การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุม, มาตรฐานการผลิต ที่มีมาตรการป้องกันอันตรายที่ผู้บริโภคอาจได้รับจากการบริโภคอาหาร ย่อจาก hazard analysis critical control point | data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | data analytics | (n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
| analyse | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, นำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. analyze, resolve into elements | analysis | (n) การวิเคราะห์, See also: การพิเคราะห์, การนำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. separation, breakdown | analysis | (n) จิตวิเคราะห์, See also: การวิเคราะห์ทางจิตใจ, Syn. psychotherapy, depth psychiatry | analysis | (n) ผลการวิเคราะห์ | analyst | (n) นักวิเคราะห์, Syn. examiner, investigator, interpreter | analyst | (n) นักวิเคราะห์ทางจิต, Syn. psychoanalyst, psychiatrist | analytic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์, See also: ซึ่งใช้การวิเคราะห์, Syn. analytical, systematic | analytics | (n) วิเคราะห์วิทยา | analyze | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, Syn. analyse, examine, resolve into elements | anatomy | (n) การวิเคราะห์อย่างละเอียด | assay | (n) การวิเคราะห์ทางเคมี | assay | (vt) วิเคราะห์, See also: ตรวจสอบ, Syn. test, analyze | assay | (n) สารที่ใช้วิเคราะห์ | construe | (vi) วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ) | construe | (vt) วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ) | dissect | (vt) ชำแหละคน สัตว์หรือพืชเพื่อการศึกษา, See also: ผ่าศพ, ผ่าเพื่อวิเคราะห์, Syn. dismember, operate anatomize, Ant. join, unite | dissect | (vi) ชำแหละคน สัตว์หรือพืชเพื่อการศึกษา, See also: ผ่าศพ, ผ่าเพื่อวิเคราะห์, Syn. dismember, operate anatomize, Ant. join, unite | dissect | (vt) ตรวจสอบ, See also: พินิจพิเคราะห์, วิเคราะห์, Syn. analyze | electrophoresis | (n) การเคลื่อนไหวของอนุภาคคอลลอยด์ที่แขวนอยู่ในของเหลวเนื่องจากอิทธิพลของสนามไฟฟ้าในของเหลวนั้น, See also: วิธีการวิเคราะห์ประเภทของสารโดยการวัดอัตราการเคลื่อนที่ของแต่ละสารประกอบในคอลลอยด์ข | going-over | (n) การตรวจสอบ (คำไม่เป็นทางการ), See also: การสืบสวน, การวิเคราะห์, Syn. inspection, examination, overhaul | indefinable | (n) สิ่งที่ไม่สามารถอธิบายได้, See also: สิ่งที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ | muse | (vi) ตรึกตรอง, See also: ใคร่ครวญ, พิจารณา, วิเคราะห์, ครุ่นคิด, คิดทบทวน, Syn. cogitate, ruminate, think, meditate, ponder, contemplate, deliberate | news commetator | (n) นักวิเคราะห์ข่าว | parse | (vi) วิเคราะห์คำในประโยค (ทางไวยากรณ์), See also: ตัดคำในประโยค, วิเคราะห์โครงสร้างประโยค, Syn. analyze | parse | (vt) วิเคราะห์คำในประโยค (ทางไวยากรณ์), See also: ตัดคำในประโยค, วิเคราะห์โครงสร้างประโยค, Syn. analyze | psychoanalyse | (vt) รักษาด้วยวิธีจิตวิเคราะห์ | psychoanalysis | (n) วิชาจิตวิเคราะห์, Syn. psychoanalytic therapy | psychoanalyze | (vt) รักษาด้วยวิธีจิตวิเคราะห์ | psychoanalyzer | (n) นักจิตวิเคราะห์, Syn. psychoanalyst | psychological | (adj) ทางจิตวิทยา, See also: ในทางจิตศาสตร์, ทางด้านจิตวิเคราะห์ | qualitative analysis | (n) การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ | quantitative analysis | (n) การวิเคราะห์หาปริมาณหรือจำนวณ | resolve | (vt) วิเคราะห์ (ปัญหา), Syn. analyze | quan | (sl) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ, Syn. quant | quant | (sl) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ, Syn. quan | sampler | (n) ผู้วิเคราะห์ตัวอย่าง | scan | (vt) วิเคราะห์เสียงสัมผัสของบทกวี | scansion | (n) การวิเคราะห์เสียงสัมผัสของบทกวี | speculator | (n) ผู้วิเคราะห์, See also: ผู้พิจารณา, Syn. experimenter, theorist, philosopher | study | (vt) วิเคราะห์, See also: ตรวจสอบ, Syn. investigate, research | study | (n) การวิเคราะห์, See also: การตรวจสอบ, Syn. investigation, inspection |
| algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ | anaclisis | (แอนนะไคล' ซิส) n. ขบวนการเลือกแบบหนึ่งทางจิตวิเคราะห์ โดยดูจากปมที่เกี่ยวกับตัณหา (livido) . -anaclitic adj. | analyse | (แอน' นะไลซ) vt. วิเคราะห์, แยกธาตุจำแนกแยกแยะ, วิภาค, วิเคราะห์ | analysis | (อะแนล' ลิซิส) n. การวิเคราะห์, การแยกธาตุ, การจำแนกแยกแยะ, การวิเคราะห์, การวิภาค, Syn. anatomization, dissection | analyst | (แอน' นะลิสทฺ) n. ผู้วิเคราะห์, นักวิเคราะห์, จิตแพทย์ผู้ทำการวิเคราะห์ | analytic | (แอนนะลิท' ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการวิเคราะห์, เกี่ยวกับการแยกธาตุ, เกี่ยวกับการจำแนกแยกแยะ., Syn. logical | analytics | (แอนนะลิท' ทิคซฺ') n. วิเคราะห์วิทยา | anatomy | (อะแนท' โทมี) n. กายวิภาควิทยา, แบบจำลองสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ศึกษาด้านกายวิภาควิทยา, โครงกระดูก, การตรวจวิเคราะห์อย่างละเอียด | aphanite | (แอฟ'ฟะไนท) แร่หินอย่างละเอียดที่ส่วนประกอบต่าง ๆ ของมันไม่สามารถวิเคราะห์ได้ด้วยตาเปล่า. -aphanitic adj. -aphanitism n. (a fine-grainedigneous rock) | assay | (อะเซ') vt. ตรวจสอบ, ทดสอบ, วิเคราะห์, ประเมินค่า, พยายาม. -n. การหาปริมาณของโลหะ (โดยเฉพาะเงินหรือทอง) ในแร่หรือโลหะผสม, สารที่ได้รับวิเคราะห์, รายงานการวิเคราะห์, ความพยายาม -assayer n., Syn. test, analyze, examination | bioassay n. | vt. (การ) วิเคราะห์ทางชีวภาพของสาร | biopsy | (ไบออพ'ซี) n. การตัดเอาชิ้นเนื้อเยื่อออกจากร่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาวิเคราะห์, See also: bioptic adj. ดูbiopsy | breakdown | (เบรค'ดาวน์) n. ความล้มเหลว, การล้มเจ็บ, การไม่สบาย, การสลายตัว, การวิเคราะห์, การแบ่งออกเป็นส่วน -Conf.break down เสียหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงาน ซึ่งเกิดจากความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง | breathalyse | vt. วิเคราะห์ความเมาจากอากาศที่หายใจออก, See also: breathalysis n.breathalyse ดู breathalyser n. ดูbreathalyse breathalyzer n. ดูbreathalyse | breathalyze | vt. วิเคราะห์ความเมาจากอากาศที่หายใจออก, See also: breathalysis n.breathalyse ดู breathalyser n. ดูbreathalyse breathalyzer n. ดูbreathalyse | buret | (บิวเรท') n. หลอดแก้วมีที่ปิดเปิดสำหรับวัดปริมาณเล็กน้อยของของเหลว/มีขีดบอกปริมาตรที่ข้างหลอด/ใช้ในการวิเคราะห์ทางเคมี | burette | (บิวเรท') n. หลอดแก้วมีที่ปิดเปิดสำหรับวัดปริมาณเล็กน้อยของของเหลว/มีขีดบอกปริมาตรที่ข้างหลอด/ใช้ในการวิเคราะห์ทางเคมี | chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | complicated | (คอม'พละเคทิด) adj. ซับซ้อน, ยุ่งเหยิง, ยุ่งยาก, ยากที่จะวิเคราะห์ เข้าใจหรืออธิบาย, See also: complicatedness n. ดูcomplicated, Syn. complex | computer personnel | บุคลากรคอมพิวเตอร์หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ หรือทำงานในศูนย์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ผู้จัดการ นักวิเคราะห์ระบบ วิศวกรคอมพิวเตอร์ นักเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ผู้ควบคุมเครื่อง พนักงานเตรียมข้อมูล ๆ บางทีเรียกรวม ๆ ว่า นักคอมพิวเตอร์ (computerese) หรือ peoplewareมีความหมายเหมือน liveware | constructionist | n. ผู้วิเคราะห์หรือแปล, ผู้ตีความหมาย, See also: constructionism n. | construe | (คันสทรู') { construed, construing, construes } v., n. (การ) อธิบาย, ชี้แจง, ตีความอนุมาน, แปล, วิเคราะห์, ผูกประโยค. | critic | (คริท'ทิค) n. นักวิจารณ์, ผู้วิเคราะห์, ผู้ติชม, ผู้ชอบนินทา, Syn. connoisseur | critical | (คริท'ทิเคิล) adj. เกี่ยวกับการวิจารณ์, เกี่ยวกับการวิเคราะห์, ซึ่งติเตียน, เกี่ยวกับความเป็นความตาย, เกี่ยวกับวิกฤติกาล, อันตราย, เกี่ยวกับจุดเปลี่ยนแปลงหรือจุดวิกฤตบนเส้นโค้ง, See also: criticalness n. ดูcritical, Syn. censor | critique | (คริทิด') { critiqued, critiquing, critiques } n. บทวิจารณ์, บทวิจารณ์สั้น ๆ , วิธีการวิจารณ์. vt. วิจารณ์, วิเคราะห์ | delineate | (ดิลิน'นีเอท) vt. วาดโครงร่าง, วาดเค้าโครง, วาดเป็นลายเส้น, พรรณนา, วิเคราะห์, See also: delineable adj. ดูdelineate | diagnose | (ได'อักโนส) v. วินิจฉัย, ตรวจโรค, วิเคราะห์., See also: diagnosable adj. ดูdiagnose, Syn. analyze | dissect | (ดิสเซคทฺ') vt. ชำแหละเพื่อศึกษา, ผ่า (ศพ, เนื้อเยื่อ) เพื่อศึกษา, ตัดกิ่ง ต้นดอกเพื่อศึกษา, จำแนก, วิเคราะห์., See also: dissecter n. ดูdissect dissector n. ดูdissect, Syn. cut apart, analye, anatomize | eliza | (เอลิซา) เป็นชื่อโปรแกรมประเภทปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) ที่มีชื่อเสียงมากโปรแกรมหนึ่ง กล่าวคือ เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นให้ทำหน้าที่แทนจิตแพทย์ วิธีการก็คือ เราจะต้องพิมพ์ปัญหาของตัวเองใส่ลงในคอมพิวเตอร์ โปรแกรมนี้จะช่วยวิเคราะห์ปัญหา และแนะนำวิธีการแก้ปัญหาให้ | freud | (ฟรอยด์, ซิก'มันด) n. นักประสาทวิทยาชาวออสเตรียผู้เป็นบิดาแห่งจิตเวชวิเคราะห์ | hierophant | n. พระชั้นสูง, พระราชาคณะ, พระที่แปลหรือวิเคราะห์ ความหมายที่ลึกลับ., See also: hierophantic adj. | image processing | การประมวลผลภาพเป็นเทคนิคในการประมวลผลที่มีข้อมูลเป็นภาพ คอมพิวเตอร์จะอ่านภาพที่ถูกส่งเข้าไป แล้วแปลงเป็นตัวเลข เราสามารถดัดแปลง แก้ไข ปรับขยาย หมุน ฯ เพื่อการวิเคราะห์บางอย่างได้ ปัจจุบัน ถือเป็นสาขาหนึ่งของคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาไปไกลมากจนเป็นที่ยอมรับ และมีผู้สนใจมาก การมีภาพประกอบในเอกสารต่าง ๆ หรือในการแสดงผลงาน จะช่วยทำให้งานนั้นน่าสนใจขึ้น | indeterminate | (อินดีเทอ' มิเนท) adj. ไม่แน่นอน, ไม่จำกัด, ไม่แน่ชัด, คลุมเครือ, ยังไม่ตกลงใจ, ยังไม่ตัดสิน, ซึ่งไม่สามารถวิเคราะห์ได้สมบูรณ์โดยหลักของวิชาสถิติศาสตร์ (statics) ., See also: indeterminateness n., Syn. unfixed, indefinite | information technology | เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | it | (อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | liveware | หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นต้นว่า1. วิศวกรคอมพิวเตอร์ (computer engineer) ซึ่งมีหน้าที่ดูแลเรื่องการบำรุงรักษาตัวเครื่อง หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับส่วนตัวเครื่อง (hardware) 2. นักวิเคราะห์ระบบ (system analyst) คือ ผู้ที่จะวิเคราะห์ระบบงานที่จะใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล3. นักเขียนชุดคำสั่งหรือผู้ทำโปรแกรม (programmer) คือผู้ที่จะเขียนคำสั่งต่าง ๆ ให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตาม4. ผู้ควบคุมเครื่อง (operator) คือผู้ที่จะบังคับควบคุมคอมพิวเตอร์ ด้วยการกดปุ่มบนแผงหน้าปัด ให้ทำงานตามคำสั่ง5. ผู้เตรียมข้อมูล (data entry operator) หมายถึงผู้ที่นำข้อมูลลงในสื่อชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น แถบบันทึก จานบันทึกมีความหมายเหมือน peopleware | manipulate | (มะนิพ'พิวเลท) vt. จัดการ, จับต้อง, ใช้, ยักย้าย, เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม. จัดดำเนินการหมายถึง การปรับข้อมูล เป็นต้นว่า ลบ เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม เพื่อหวังผลอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เพื่อการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ ฯ, See also: manipulatable adj. manipulative adj. manipulatelyadv. manipulateness n. | parse | (พาร์ส) vt. วิเคราะห์คำในไวยากรณ์, See also: parser n. | peopleware | ส่วนบุคลากรในวงการคอมพิวเตอร์ หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ทั้งหมดไม่ว่าจะเป็น นักเขียนโปรแกรม (programmer) นักวิเคราะห์ระบบ (systems analyst) วิศวกร (engineer) ผู้เตรียมข้อมูล (data entry) รวมไปถึงผู้ควบคุมเครื่อง (operator) อย่างไรก็ตาม สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว คำว่า "ผู้ใช้เครื่อง" (user) จะถูกรวมอยู่ในบุคลากรคอมพิวเตอร์ด้วย | psychoanalysis | (ไซโคอะแนล'ลิซิส) n. จิตวิเคราะห์, การใช้จิตวิเคราะห์รักษา., See also: psychoanalytical adj. | questionnaire | (เควส'ชะแนร์) n. แบบข้อคำถามที่สามารถนำมาวิเคราะห์หาข้อมูลที่มีประโยชน์ | reagent | (รีเอ'เจินทฺ) n. สารเคมีที่ใช้ในการวิเคราะห์ทดลองและการสังเคราะห์ทางเคมี, ตัวกระทำ | resolve | (รีซอลว') vt., vi., n. (การ) ตกลงใจ, ตัดสินใจ, มีมติ, แยกออก, แยกวิเคราะห์ แยกสลาย n. การตกลงใจ, การตัดสินใจ, ความแน่วแน่, มต', Syn. determine | reverse engineer | วิศวกรรมย้อนกลับหมายถึง กระบวนการถอดรหัสโปรแกรม โดยไม่ต้องดูรหัสที่โปรแกรมนั้นใช้อยู่ แต่ถอดจากการวิเคราะห์แยกแยะว่าโปรแกรมนั้น ๆ มีผลกระทบทางด้านฮาร์ดแวร์อย่างไร ทำงานอย่างไร | riddle | (ริด'เดิล) n. ปัญหา, ปริศนา, คำปริศนา, สิ่งที่ทำให้ฉงน, ตะแกรง, กระชอนที่ร่อน, ตรวจสอบ, วิเคราะห์ vi. ทำให้พิศวงงงงวย, ออกปริศนา vt. แทงหรือเจาะเป็นรูพรุน, ร่อนด้วยตะแกรง, ทำให้เสื่อม, Syn. puzzle, enigma, mystery | scan | (สแคน) vt., vi. ตรวจอย่างละเอียด, มองกวาด, ดูผ่าน ๆ ตา, วิเคราะห์เสียงสัมผัสของบทกวี, อ่านบทกวีโดยพิจารณาเสียงสัมผัส, (โทรทัศน์, เรดาร์) กวาดภาพ ปรากฎภาพ., See also: scannable adj. scanner n., Syn. inspect, scrutinize, peruse, glan | sigmund | (ฟรอยด์, ซิก'มันด) n. นักประสาทวิทยาชาวออสเตรียผู้เป็นบิดาแห่งจิตเวชวิเคราะห์ | student | (สทิว'เดินทฺ) n. นักเรียน, นักศึกษา, ผู้ศึกษา, ผู้วิเคราะห์, ผู้สืบสวนสอบสวน, ผู้พิจารณา. adj. เกี่ยวกับนักเรียนหรือนักศึกษา, Syn. learner, pupil, trainee | systems analysis | การวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้อุปกรณือิเล็คทรอนิคส์ช่วย |
| analyse | (vt) วิเคราะห์, จำแนก, วิภาค, แยกแยะ | analysis | (n) วิภาค, การแยกแยะ, การวิเคราะห์ | analytic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ | analytical | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ | analyze | (vt) วิเคราะห์, จำแนก, วิภาค, แยกแยะ | anatomize | (vt) วิเคราะห์, แบ่งแยก, ชำแหละ(ร่างกาย) | assay | (n) การพยายาม, การทดสอบ, การทดลอง, การวิเคราะห์ | assay | (vt) พยายาม, ทดสอบ, ตรวจสอบ, ทดลอง, วิเคราะห์ | construe | (n) การตีความ, การวิเคราะห์ประโยค, การอนุมาน, การอธิบาย | construe | (vt) แปลความ, บรรยาย, อธิบาย, ขยายความ, ชี้แจง, ตีความ, วิเคราะห์ | critic | (n) นักวิจารณ์, นักวิเคราะห์, ผู้ติ | criticism | (n) การวิจารณ์, การวิเคราะห์, การติเตียน, บทวิจารณ์ | criticize | (vt) วิจารณ์, วิเคราะห์, ติเตียน, จับผิด | delineate | (vt) วาดภาพ, วาดเค้าโครง, วาดลายเส้น, วิเคราะห์, พรรณนา | delineation | (n) การวาดภาพ, การวาดเค้าโครง, การวาดลายเส้น, การวิเคราะห์, การพรรณนา | diagnose | (vt) พิจารณา, วินิจฉัย, วิเคราะห์, ตรวจโรค | diagnosis | (n) การพิจารณา, การวินิจฉัย, การวิเคราะห์, การตรวจโรค | diagnostic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์โรค, เกี่ยวกับการตรวจโรค | dissect | (vt) ผ่า, ตัดออก, ชำแหละ, วิเคราะห์, จำแนก | dissection | (n) การผ่าตัด, การชำแหละ, การผ่าศพ, การวิเคราะห์, การจำแนก | electrolysis | (n) การวิเคราะห์สารประกอบเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า | electrolyte | (n) สารประกอบที่ถูกวิเคราะห์ด้วยกระแสไฟฟ้า | explore | (vt) สำรวจ, ตรวจค้น, ตรวจ, วินิจฉัย, วิเคราะห์ | parse | (vt) กระจายคำ, วิเคราะห์คำ | riddle | (vi) ทำให้พิศวง, พูดเป็นปริศนา, ตรวจสอบ, วิเคราะห์, เลือกสรร | scan | (vt) วิเคราะห์, พิจารณา, ดูผ่านตา |
| analyzed | (vt) กระบวนการวิเคราะห์ | chromatograph | (n) กรรมวิธีในการวิเคราะห์ทางวิชาเคมี : เทคนิคสำหรับการแยกส่วนประกอบในสารผสม | Diskriminanzanalyse { f } | การวิเคราะห์จำแนกประเภท | overanalyze | วิเคราะห์มากเกินไป | S.W.O.T | การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true | spectroscopy | (n) การใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์สเปกตรัม | swot | (abbrev) SWOT คือ รูปแบบการวิเคราะห์ทางการตลาด เกิดจาก Strengths, Weaknesses, Opportunities และ Threats, Syn. SWOT Analysis | swot | การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจ | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ |
| 解析 | [かいせき, kaiseki] (n) การวิเคราะห์ | 解析する | [かいせきする, kaisekisuru] (vt) การวิเคราะห์ | 費用便益分析 | [ひようべんえきぶんせき, hiyouben'ekibunseki] การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์, See also: R. cost-benefit analysis |
| untersuchen | (vt) |untersuchte, hat untersucht| ตรวจสอบ, ทดสอบ, วิเคราะห์ | analysieren | (vt) |analysierte, hat analysiert| วิเคราะห์, ศึกษาหรือตรวจสอบคุณสมบัติหรือโครงสร้าง เช่น ein Problem analysieren วิเคราะห์ปัญหา | auswerten | (vt) |wertete aus, hat ausgewertet| วิเคราะห์ออกมา, ประเมินผลออกมา เช่น Seine Gruppe wertete unter anderem aus, wie viele Patente die Unternehmensgründer zusammen mit Kollegen anmeldeten. |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |