ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ฟิสิกส์, -ฟิสิกส์- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ฟิสิกส์ | (n) physics, Example: สถานศึกษากำลังประสบปัญหาขาดแคลนครูอยู่มาก โดยเฉพาะครูสอนฟิสิกส์ และเคมี, Thai Definition: วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งซึ่งกล่าวถึงสมบัติทางกายภาพของสารต่างๆ และพลังงาน, Notes: (อังกฤษ) | นักฟิสิกส์ | (n) physicist, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิชาฟิสิกส์ |
|
| ฟิสิกส์ | น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งซึ่งกล่าวถึงสมบัติทางกายภาพของสารต่าง ๆ และพลังงาน. | กลศาสตร์ | (กนละ-) น. วิชาฟิสิกส์สาขาหนึ่ง ที่ศึกษาเกี่ยวกับการกระทำของแรงต่อเทหวัตถุ และผลที่เกิดขึ้นแก่เทหวัตถุนั้นภายหลังที่ถูกแรงมากระทำ. | แขนง ๑ | (ขะแหฺนง) น. กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แตกใหม่จากลำของไม้พวกไม้ไผ่, กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แยกออกจากกิ่งใหญ่, โดยปริยายหมายถึงส่วนย่อยที่แยกจากส่วนใหญ่ เช่น วิชาฟิสิกส์เป็นแขนงหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์. | ทัศนศาสตร์ | น. วิชาฟิสิกส์แขนงหนึ่งว่าด้วยเรื่องราวของแสง. | วิทยาศาสตร์กายภาพ | น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ของสิ่งไม่มีชีวิต เช่น เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์. | สมุทรศาสตร์ | (สะหฺมุดทฺระ-) น. วิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของนํ้าทะเล ชีววิทยาทะเล และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของทะเลและมหาสมุทร. | หมวด | (หฺมวด) น. กลุ่มที่ประกอบด้วยหลายหมู่ เช่น หมวดหนังสือ วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยหมู่หนังสือเคมี หมู่หนังสือฟิสิกส์ เป็นต้น |
| | Heliosphere (Astrophysics) | เฮลิโอสเฟียรื (ดาราฟิสิกส์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Seismic Survey | การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์, Example: การวัดคลื่นไหวสะเทือนในชั้นหิน เพื่อศึกษาลักษณะโครงสร้างของชั้นหินใต้พื้นดิน และหาโครงสร้างหินที่จะเป็นแหล่งกักเก็บปิโตรเลียม [ปิโตรเลี่ยม] | Scattering (Physics)) | การกระเจิืง (ฟิสิกส์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Bragg’s law | กฎของแบรกก์, กฎที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ตกกระทบ มุมตกกระทบและระยะห่างของอะตอมซึ่งเป็นเงื่อนไขของการเกิดปรากฏการณ์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ กฎนี้ ดับเบิลยู. แอล. แบรกก์ (W. L. Bragg) คิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2455 และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับบิดา คือ ดับเบิลยู. เอช. แบรกก์ (W. H. Bragg) ในปี พ.ศ. 2458 [นิวเคลียร์] | Cyclotron | ไซโคลทรอน, เครื่องเร่งอนุภาคที่อนุภาคถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้าและถูกควบคุมด้วยสนามแม่เหล็ก ให้วิ่งวนเป็นวงออกไปคล้ายก้นหอย เมื่อได้ความเร็วที่ต้องการ อนุภาคจะถูกปล่อยให้ชนกับวัสดุที่ใช้เป็นเป้า เครื่องเร่งอนุภาคชนิดนี้ใช้ในการวิจัยฟิสิกส์มูลฐาน และการผลิตสารไอโซโทปรังสี ผู้ประดิษฐ์ คือ เออร์เนสต์ โอ. ลอว์เรนซ์ (Earnest O. Lawrence) ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี พ.ศ. 2482 [นิวเคลียร์] | Decontamination | การขจัดการเปื้อนสารกัมมันตรังสี, การใช้กระบวนการทางเคมี ฟิสิกส์ หรือชีวภาพ เพื่อให้สารกัมมันตรังสีทั้งหมดหรือบางส่วน หลุดออกจากสิ่งที่เปื้อน [นิวเคลียร์] | Electron linear accelerator | เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เครื่องเร่งอิเล็กตรอน ที่อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงด้วยสนามไฟฟ้า มีสองแบบคือ แบบที่อิเล็กตรอนถูกควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าสถิต และแบบที่ควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ แบบแรกให้พลังงานของอิเล็กตรอนต่ำกว่าแบบหลัง เครื่องเร่งชนิดนี้เหมาะสำหรับงานวิจัยทางฟิสิกส์ และการปรับปรุงคุณภาพวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ เช่น งานเคลือบผิววัตถุและงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ, Example: [นิวเคลียร์] | Waves (Physics) | คลื่น (ฟิสิกส์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radioactive decontamination | การขจัดการเปื้อนสารกัมมันตรังสี, การใช้กระบวนการทางเคมี ฟิสิกส์ หรือชีวภาพ เพื่อให้สารกัมมันตรังสีทั้งหมดหรือบางส่วน หลุดออกจากสิ่งที่เปื้อน [นิวเคลียร์] | Astrophysics | ดาราฟิสิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Geophysics | ธรณีฟิสิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Physicist | นักฟิสิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nuclear physic | นิวเคลียร์ฟิสิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Isotope | ไอโซโทป, อะตอมของธาตุเดียวกัน ซึ่งในนิวเคลียสมีจำนวนโปรตอนเท่ากัน แต่จำนวนนิวตรอนต่างกัน เช่น ธาตุไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป ได้แก่ $ ^{ 1 }_{ 1 } H $ , $ ^{ 2 }_{ 1 } H $ , $ ^{ 3 }_{ 1 } H $ ไอโซโทปของธาตุเดียวกัน จะมีสมบัติทางเคมีเหมือนกัน แต่สมบัติทางฟิสิกส์ต่างกัน [นิวเคลียร์] | ฟิสิกส์ | วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งซึ่งกล่าวถึงสมบัติทางกายภาพของสารต่างๆ และพลังงาน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ ฟิสิก [คำที่มักเขียนผิด] | Acoustics and physics | วิทยาศาสตร์เสียงและฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Astrophysics | ดาราศาสตร์ฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Biophysics | ชีวฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Communication in physics | การสื่อสารทางฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Film coefficients (Physics) | การดูดซับของฟิลม์ (ฟิสิกส์) [TU Subject Heading] | General relativity physics | ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (ฟิสิกส์) [TU Subject Heading] | Geophysics | ธรณีฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Health physics | ฟิสิกส์สุขภาพ [TU Subject Heading] | International Physics Olympaid | การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระหว่างประเทศ [TU Subject Heading] | Mass (Physics) | มวลสาร (ฟิสิกส์) [TU Subject Heading] | Mathematical physics | คณิตศาสตร์ฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Nuclear physicists | นักนิวเคลียร์ฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Nuclear physics | นิวเคลียร์ฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Phase transformations (Statistical physics) | การแปลงสถานะ (ฟิสิกส์เชิงสถิติ) [TU Subject Heading] | Physical instruments | เครื่องมือทางฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Physical laboratories | ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Physical optics | ทัศนศาสตร์เชิงฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Physicists | นักฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Physics | ฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Relativity (Physics) | ทฤษฎีสัมพัทธภาพ (ฟิสิกส์) [TU Subject Heading] | Scattering (Physics) | การกระเจิง (ฟิสิกส์) [TU Subject Heading] | Soil physics | ฟิสิกส์ของดิน [TU Subject Heading] | Solid state physics | ฟิสิกส์สถานะของแข็ง [TU Subject Heading] | Sound | เสียง (ฟิสิกส์) [TU Subject Heading] | Special relativity (Physics) | ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ (ฟิสิกส์) [TU Subject Heading] | Symmetry (Physics) | สมมาตร (ฟิสิกส์) [TU Subject Heading] | Weight (Physics) | น้ำหนัก (ฟิสิกส์) [TU Subject Heading] | ASEAN Committee on Science and Technology | คณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี " มีหน้าที่ดูแลความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างประเทศสมาชิกอา เซียนและกับประเทศคู่เจรจาและองค์กรอื่น ๆ ประชุมปีละ 2 ครั้ง โดยแยกเป็นอนุกรรมการ 9 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร (2) ด้านอุตุนิยมวิทยาและธรณีฟิสิกส์ (3) ด้านไมโครอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) ด้านวัสดุศาสตร์และเทคโนโลยี (5) ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ (6) ด้านการวิจัยพลังงานนอกแบบ (7) ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล (8) ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากรด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (9) ด้านเทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ " [การทูต] | cyclotron | เครื่องไซโคลตรอน , เป็นเครื่องสำหรับเร่งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ผู้ประดิษฐ์คือ Earnest O. Lawrence ชาวอเมริกัน ซึ่งได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2482 ในเครื่องเร่งอนุภาคชนิดนี้ อนุภาคถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้า ในขณะเดียวกันก็ถูกควบคุมด้วยสนามแม่เหล็ก ให้วิ่งวนเป็นวงออกไป เมื่อได้ความเร็วที่เหมาะสม ก็จะถูกปล่อยให้ไปชนกับเป้าที่ต้องการ เครื่องเร่งนี้ใช้ในการวิจัยทางฟิสิกส์พื้นฐาน และการผลิตสารไอโซโทปรังสี [พลังงาน] | linear electron accelerator | เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เป็นเครื่องเร่งอนุภาคแบบหนึ่ง ใช้เร่งอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนจะถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงภายใต้สนามไฟฟ้าสถิตย์(electrostatic field) หรือสนามไฟฟ้าสลับย่านความถี่คลื่นวิทยุ (Radio frequency field) เครื่องเร่งอนุภาคทั้งสองแบบ ให้อิเล็กตรอนที่มีช่วงพลังงานแตกต่างกัน ในเครื่องเร่งแบบไฟฟ้าสถิตย์ (electrostatic accelerator)หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องเร่งแบบกระแสตรง (DC-accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรง ภายใต้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้า 2 ขั้ว เครื่องเร่งชนิดนี้สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-0.5 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ นิยมใช้ในงานเคลือบผิววัตถุ การปรับปรุงคุณภาพวัสดุ เช่น ฉนวนหุ้มสายไฟ การวัลคาไนซ์ของน้ำยาง ในเครื่องเร่งแบบใช้สนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ (high frequency accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งผ่านท่อทรงกระบอกซึ่งเรียงกันเป็นเส้นตรง และต่อกับแหล่งกำเนิดศักดาไฟฟ้าซึ่งสลับขั้วด้วยความถี่ในย่านของคลื่นวิทยุ เครื่องเร่งนี้สามารถเร่งลำอิเลคตรอนให้มีพลังงานสูงในช่วง 5-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ เหมาะสำหรับงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ และงานวิจัยทางฟิสิกส์ [พลังงาน] | Optimum cure | สภาวะของยางที่เกิดปฏิกิริยาวัลคาไนเซชันแล้วมีสมบัติตามต้องการ ซึ่งปกติมักจะใช้เวลาที่ 90% ของการเกิดปฏิกิริยาวัลคาไนเซชันเต็มที่ เนื่องจากการรอให้เกิดปฏิกิริยาวัลคาไนเซชั่นเต็มที่ (100%) ใช้เวลานานเกินไป และอาจจะทำให้สมบัติทางฟิสิกส์ด้านอื่นของยางด้อยลง [เทคโนโลยียาง] | Overcure | สภาวะของยางที่เกิดปฏิกิริยาวัลคาไนเซชันมากกว่าสภาวะที่เหมาะสม (ยางสุก) อาจเกิดจาการใช้เวลาที่นานเกินไปและ/หรืออุณหภูมิสูงเกินไปในการวัลคาไนซ์ และ/หรือมีสารทำให้ยางคงรูปมากเกินไป ซึ่งยางที่ได้มักจะมีสมบัติทางฟิสิกส์ที่ไม่ดี [เทคโนโลยียาง] | Undercure | สภาวะของยางที่เกิดปฏิกิริยาวัลคาไนเซชันต่ำกว่าสภาวะที่เหมาะสม (ยางไม่สุก) อาจเกิดจาการใช้เวลาที่สั้นเกินไปและ/หรืออุณหภูมิที่ต่ำเกินไปในการวัลคาไน ซ์ และ/หรือสารทำให้ยางคงรูปมีไม่เพียงพอ ซึ่งยางที่ได้มักจะมีสมบัติทางฟิสิกส์ที่ไม่ดี [เทคโนโลยียาง] | Biophysical Method | วิธีการทางชีวฟิสิกส์ [การแพทย์] | Biophysics | ชีวฟิสิกส์ [การแพทย์] |
| ดาราศาสตร์ฟิสิกส์ | [dārāsātfisik] (n) EN: astrophysics FR: astrophysique [ f ] | ฟิสิกส์ | [fisik] (n) EN: physics FR: physique [ f ] | ฟิสิกส์เชิงปฏิบัติการ | [fisik choēng patibatkān] (n, exp) EN: experimental physics FR: physique expérimentale [ f ] | ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี | [fisik choēng thritsadī] (n, exp) EN: theoretical physics FR: physique théorique [ f ] | ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ | [fisik dārāsāt] (n, exp) EN: astrophysics FR: astrophysique [ f ] | ฟิสิกส์ทางการแพทย์ | [fisik thāng kān phaēt] (n, exp) EN: medical physics | ฟิสิกส์ทฤษฎี | [fisik thritsadī] (n, exp) EN: theoretical physics FR: physique théorique [ f ] | คณิตศาสตร์ฟิสิกส์ | [khanittasāt fisik] (n, exp) EN: mathematical physics FR: physique mathématique [ f ] | นิวเคลียร์ฟิสิกส์ | [niukhlīa fisik] (n, exp) EN: nuclear physics FR: physique nucléaire [ f ] | นิวตรอนฟิสิกส์ | [niūtrøn fisik] (n, exp) EN: neutronics FR: physique neutronique [ f ] | รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ | [Rāngwan Nōbēn Sākhā Fisik] (n, prop) FR: prix Nobel de physique [ m ] |
| | biophysics | (n) ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการใช้วิธีการทางฟิสิกส์ศึกษาชีววิทยา | decay | (n) การสลายกัมมันตรังสี (ทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์), See also: การสลายอนุภาคหรือรังสี, Syn. disintegration, degeneration, radioactive decay | decibel | (n) หน่วยวัดระดับความดังของเสียง (ย่อ dB) (ทางฟิสิกส์), See also: เดซิเบล | degree | (n) องศา (หน่วยวัดอุณหภูมิ) (ทางฟิสิกส์) | electrodynamics | (n) การศึกษาว่าปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและพลังแม่เหล็กไฟฟ้า (ทางฟิสิกส์), See also: อิเล็กโทรไดนามิกส์, พลศาสตร์ไฟฟ้า | entrain | (vt) นำพา (อนุภาคของแข็ง, ฟองอากาศ, หยดน้ำ) ให้ไหลไปตามกระแสของของเหลว (ทางเคมีฟิสิกส์) | evacuate | (vt) ถ่าย (อากาศ) ออก, See also: ทำให้เป็นสุญญากาศ ทางฟิสิกส์, Syn. clear, empty, void | fission | (n) การแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอม (ทางฟิสิกส์), Syn. nuclear fission | geophysical | (adj) เกี่ยวกับวิชาธรณีฟิสิกส์ | geophysics | (n) ธรณีฟิสิกส์, See also: ภูมิศาสตร์กายภาพ, วิชาฟิสิกส์ที่ว่าด้วยพื้นดินและโลก | implode | (vt) ทำให้ระเบิดอยู่ภายใน (ทางฟิสิกส์) | implode | (vi) ระเบิดอยู่ภายใน (ทางฟิสิกส์) | joule | (n) หน่วยวัดพลังงานทางฟิสิกส์ (อักษรย่อคือ J) | meson | (n) อนุภาคทางฟิสิกส์ | neutral | (adj) ซึ่งไม่นำไฟฟ้า (ทางฟิสิกส์), See also: ซึ่งเป็นฉนวน | nuclear physics | (n) สาขาฟิสิกส์นิวเคลียร์ | nucleus | (n) ส่วนที่อยู่ตรงกลางของอะตอม (ทางฟิสิกส์), See also: นิวเคลียส | physical | (adj) เกี่ยวกับฟิสิกส์, See also: เชิงฟิสิกส์ | physical chemistry | (n) เคมีศึกษาคุณสมบัติสัมพันธ์ระหว่างทางฟิสิกส์และทางเคมีของสาร, See also: วิชาเคมีกายภาพ | physicist | (n) นักฟิสิกส์, See also: ผู้ชำนาญวิชาฟิสิกส์ | physics | (n) วิชาฟิสิกส์, See also: ฟิสิกส์ | radiant | (adj) ซึ่งปล่อยความร้อนหรือแสงออกมาในรูปของรังสีหรือพลังงาน (ทางฟิสิกส์), See also: ซึ่งแผ่รังสีจากจุดศูนย์กลาง | radiate | (vi) แผ่รังสี (ทางฟิสิกส์), See also: ปล่อยพลังงาน ความร้อน / แสง ออกมาในรูปรังสีหรือคลื่น | radiate | (vt) แผ่รังสี (ทางฟิสิกส์), See also: ปล่อยพลังงาน ความร้อน / แสง ออกมาในรูปรังสีหรือคลื่น, Syn. emit | repulsion | (n) แรงผลัก (ทางฟิสิกส์), See also: แรงดัน, Syn. repelling force | subtractive | (adj) ซึ่งเป็นสีที่เหลืออยู่หลังจากที่สีอื่นถูกดูดกลืนไปหมด (ทางฟิสิกส์) | wavelength | (n) ช่วงความยาวคลื่น (ทางฟิสิกส์), See also: ความยาวคลื่น |
| absolute temperature | (ฟิสิกส์) n. เกณฑ์องศาอุณหภูมิระบบ absolute scale | archimedes | (อาร์คิมี'ดี') n. ชื่อนักคณิตศาสตร์ นักประดิษฐ์และนักฟิสิกส์ของกรีก ผู้ค้นพบกฎแห่งความถ่วงและคาน. -Archimedean adj. | coeffecient | n. เลขคูณ, ค่าคงที่หรือค่าสัมประสิทธิ์ (ในวิชาฟิสิกส์) adj. ร่วม | galileo | (แกลลิลี'โอ) n. นักฟิสิกส์และนักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี | geophysics | n. ธรณีฟิสิกส์ | homeostasis | n. ภาวะสมดุลของสิ่งแวดล้อมภายใน, ภาวะสมดุลทางคุณสมบัติเคมีและฟิสิกส์ของเหลวในร่างกาย, See also: homeostatic adj. | magnetology | (แมกนิทอล'โลจี) n. สาขาฟิสิกส์ที่เกี่ยวกับแม่เหล็ก | nuclear physics | n. นิวเคลียร์ฟิสิกส์, See also: nuclear physicist n. | physicist | (ฟิซ'ซิซิสทฺ) n. นักฟิสิกส์ | physio- | Pref. =ฟิสิกส์, ธรรมชาติ | relativity | (เรลละทิฟ'วิที) n. ความสัมพันธ์, ความสัมพันธ์, (ฟิสิกส์) ทฤษฎีความสัมพันธ์ของไอน์สไตน์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ | resultant | (รีซัล'เทินทฺ) adj. ซึ่งเป็นผล, ซึ่งบังเกิดผล, เป็นผลมาจาก, รวมกัน, เป็นผลลัพธ์ n. (คณิตศาสตร์, ฟิสิกส์) vector (ดู) ที่แสดงผลลัพธ์, ผลลัพธ์ | specific | (สพิซิฟ'ฟิค) adj. โดยเฉพาะ, เจาะจง, พิเศษ, จำเพาะ, ตามชนิด, ระบุ, กำหนด, (ฟิสิกส์) เปรียบเทียบ. n. สิ่งที่เจาะจง, ยาสำหรับโรคเฉพาะ, น้ำหนักพิกัด, เกณฑ์., See also: specifically adv. specificity n., Syn. definite, particular |
| | | 物理学 | [ぶつりがく, butsurigaku] (n) ฟิสิกส์ |
| 比熱 | [ひねつ, hinetsu] ความร้อนจำเพาะ (ฟิสิกส์) | 反物質 | [はんぶっしつ, hanbusshitsu] (n) ปฏิสสาร(ฟิสิกส์), See also: R. antimatter | 潜熱 (物理) | [せんねつ, sennetsu] (n) ความร้อนแฝง (ฟิสิกส์), See also: R. latent heat | 潜熱 | [せんねつ, sennetsu] (n) ความร้อนแฝง (ฟิสิกส์), See also: R. latent heat | 比熱 | [ひねつ, hinetsu] (n) ความร้อนจำเพาะ (ฟิสิกส์), See also: R. specific heat | 質量中心 | [しつりょうちゅうしん, shitsuryouchuushin] (n) จุดศูนย์กลางมวล (ฟิสิกส์), See also: R. center of mass CM | 生物物理学 | [せいぶつぶつりがく, seibutsubutsurigaku] (n) ชีวฟิสิกส์, See also: R. biophysics |
| Einheit | (n) |die, pl. Einheiten| หน่วยทางฟิสิกส์หรือวิทยาศาสตร์ เช่น Die Krafteinheit ist in Newton ( N ) angegeben. = หน่วยของแรง(ทางฟิสิกส์)ถูกกำหนดให้เป็นหน่วยนิวตัน | Energieerhaltungssatz | (n) |der, pl. Energieerhaltungssätze| กฏความสมดุลของพลังงาน (ฟิสิกส์) | Impulserhaltungssatz | (n) |der, pl. Impulserhaltungssätze| กฏความสมดุลของโมเมนตัม (ฟิสิกส์) | Widerstand | (n) |der, pl. Widerstände| ตัวต้านทานไฟฟ้า (ฟิสิกส์), See also: A. der Leiter | Reibung | (n) |die, pl. Reibungen| แรงเสียดทาน (ฟิสิกส์) | Federkraft | (n) |die, pl. Federkräfte| แรงดึงหรือผลัก ในสปริง (ฟิสิกส์) | Massenträgheit | (n) |die, nur Sg.| ความเฉื่อยของมวล (ฟิสิกส์) |
| physique | (n) |f| สาขาฟิสิกส์, วิชาฟิสิกส์ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |