ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พาท, -พาท- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ พาท | (n) word, See also: speech, Syn. คำพูด, ถ้อยคำ | พิพาท | (v) dispute, See also: argue, quarrel, discuss, debate, wrangle, Syn. วิวาท, ทะเลาะ, ถกเถียง, ทุ่มเถียง, โต้แย้ง, โต้เถียง, Example: ประเทศไทยกับกัมพูชาพิพาทกันด้วยเรื่องกรรมสิทธิ์เขาพระวิหาร, Thai Definition: โต้เถียงกัน, โต้แย้งกัน, พูดเกี่ยงแย่งกัน | ข้อพิพาท | (n) dispute, See also: argument, controversy, Syn. กรณีพิพาท, ข้อโต้เถียง, ข้อโต้แย้ง, Example: เมื่อเกิดข้อพิพาทขึ้น คู่กรณีควรใช้วิธีแก้ปัญหาโดยสันติวิธี, Thai Definition: เรื่องโต้เถียง หรือโต้แย้งกัน | คู่พิพาท | (n) litigant, See also: claimant, party, plaintiff, Syn. คู่ความ, คู่กรณี, Example: คู่พิพาทได้ประนีประนอมกันแล้ว, Thai Definition: บุคคล 2 ฝ่ายซึ่งมีกรณีโต้แย้งกัน, Notes: (กฎหมาย) | บูรพาทิศ | (n) east, Syn. ทิศตะวันออก, บูรพา, บุรพทิศ, บุริมทิศ, Example: บริเวณเนื้อที่ริมกำแพงเมืองเบื้องบูรพาทิศของกรุงเทพพระมหานครเคยเป็นสวนผลไม้มาก่อน | ปี่พาทย์ | (n) Thai orchestra consisting of five groups of wood and percussion instruments, See also: gamelan, Syn. พิณพาทย์, Example: โรงละครแห่งชาติมักจัดแสดงการบรรเลงเพลงโดยวงปี่พาทย์อยู่เป็นประจำ, Count Unit: วง, Thai Definition: เครื่องประโคมทีมีปี่เป็นหลัก และประกอบด้วยกลองใหญ่ ตะโพน ระนาด ฆ้องวง ฯ | พิณพาทย์ | (n) classical Thai orchestra, Syn. ปี่พาทย์, Example: ขณะที่พระสวดชยันโต พิณพาทย์มโหรีก็เริ่มบรรเลงเพลงมหาฤกษ์, Count Unit: วง, Thai Definition: เครื่องประโคมวงหนึ่ง มีกำหนดตั้งแต่ 5 ขึ้นไป คือ ตะโพน ปี่ ฆ้องวง ระนาด กลอง | กรณีพิพาท | (n) conflict, See also: fight, battle, dispute, collision, Example: มีการปลูกยูคาลิปตัสรุกเข้าไปในที่ที่ชาวบ้านทำกินอยู่มีกรณีพิพาทเกิดขึ้นเป็นประจำ, Count Unit: เรื่อง, เหตุ | ข้อพิพาทแรงงาน | (n) labor dispute, See also: labor controversy, Example: รัฐมนตรีมีอำนาจออกคำสั่งให้ข้อพิพาทแรงงานนำไปสู่การชี้ขาด, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: ข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างหรือสหภาพแรงงาน ที่ทั้งสองฝ่ายไม่สามารถตกลงกันได้ในเรื่องที่เกี่ยวกับสภาพการจ้าง |
|
| ข้อพิพาท | น. ข้อขัดแย้งหรือโต้แย้งระหว่างผู้เป็นคู่กรณี. | ข้อพิพาทแรงงาน | น. ข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับสภาพการจ้าง. | คุกพาทย์ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง ใช้บรรเลงเพื่อแสดงการแผลงฤทธิ์ ในการเทศน์มหาชาติใช้เป็นเพลงประจำกัณฑ์จุลพน. | คู่พิพาท | น. บุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายขึ้นไปซึ่งมีข้อโต้แย้งกัน. | ปี่พาทย์ | น. ชื่อเรียกการผสมวงดนตรีไทย มีขนาดวงอยู่ ๓ ขนาด คือ ปี่พาทย์เครื่องห้า ปี่พาทย์เครื่องคู่ ปี่พาทย์เครื่องใหญ่, เดิมเรียกว่า พิณพาทย์. | ปี่พาทย์เครื่องคู่ | น. วงปี่พาทย์ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด และฉิ่ง (ปัจจุบันนิยมใช้ปี่ในเพียงเลาเดียว). | ปี่พาทย์เครื่องห้า | น. วงปี่พาทย์ประกอบด้วย ปี่ใน ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด และฉิ่ง. | ปี่พาทย์เครื่องใหญ่ | น. วงปี่พาทย์ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก กลองทัด และฉิ่ง, แต่บางทีก็มีฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ กรับ และฆ้องโหม่งผสมด้วย (ปัจจุบันนิยมใช้แต่ปี่ใน). | ปี่พาทย์นางหงส์ | น. วงปี่พาทย์ที่ใช้บรรเลงเฉพาะในงานอวมงคล เรียกชื่อตามเพลงซึ่งใช้เป็นหลักในการบรรเลง คือ เพลงเรื่องนางหงส์ อัตรา ๒ ชั้น การประสมเครื่องดนตรีเหมือนวงปี่พาทย์ธรรมดาประสมกับวงบัวลอย แต่ใช้ปี่ชวาแทนปี่ใน ใช้กลองมลายูแทนตะโพนหรือกลองทัด. | ปี่พาทย์มอญ | น. วงปี่พาทย์ที่นำเพลงและเครื่องดนตรีของมอญ ประกอบด้วย ปี่มอญ ฆ้องมอญ ตะโพนมอญ และเปิงมางคอกมาบรรเลง มีเครื่องกำกับจังหวะ ได้แก่ ฉิ่ง ฉาบ โหม่ง. | พาท | น. คำพูด, ถ้อยคำ. | พาทย์ | น. เครื่องประโคม. | พิณพาทย์ | น. ชื่อเรียกวงดนตรีไทยโบราณ ประกอบด้วยเครื่องดีด คือ พิณ ผสมกับเครื่องตี ได้แก่ ระนาดและฆ้องวงชนิดต่าง ๆ เป็นหลัก และเครื่องกำกับจังหวะ เช่น ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง ตะโพน กลองทัด กลองแขก และกลองสองหน้า ต่อมาเปลี่ยนพิณ เป็น ปี่ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น ปี่พาทย์. | พิณพาทย์เครื่องคู่ | น. ปี่พาทย์เครื่องคู่. | พิณพาทย์เครื่องห้า | น. ปี่พาทย์เครื่องห้า. | พิณพาทย์เครื่องใหญ่ | น. ปี่พาทย์เครื่องใหญ่. | พิพาท | ก. โต้แย้งสิทธิ์ เช่น พิพาทเรื่องที่ดิน พิพาทเรื่องมรดก. | เพลงหน้าพาทย์ | ดู หน้าพาทย์. | วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ | น. ชื่อวงปี่พาทย์ประสมชนิดหนึ่งที่นำเครื่องดนตรีที่มีเสียงแหลมออกไปทำให้เกิดเสียงทุ้มนุ่มนวล เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕. | หน้าพาทย์ | น. เพลงประเภทที่ใช้บรรเลงในการแสดงกิริยาอาการเคลื่อนไหวของตัวโขนละคร หรือสำหรับอัญเชิญเทพเจ้า ฤๅษี หรือบูรพาจารย์ ให้มาร่วมชุมนุมในพิธีไหว้ครูหรือพิธีมงคลต่าง ๆ เช่น เชิด ใช้ในการเดินทางไกล เสมอ ใช้ในการเดินระยะใกล้ เสมอมาร สำหรับยักษ์เดิน เสมอเถร สำหรับฤๅษีเดิน สาธุการใช้ในการแสดงการคารวะสิ่งศักดิ์สิทธิ์และเริ่มพิธีต่าง ๆ ตระเชิญ ใช้อัญเชิญเทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์. | หน้าพาทย์แผลง | (-แผฺลง) น. การเรียกชื่อเพลงหน้าพาทย์ให้แตกต่างไปจากชื่อเดิมตามเจตนาของผู้พากย์ โดยคงความหมายชื่อใหม่ให้สัมพันธ์กับชื่อเดิม เช่น สี่ศอก หมายถึง เพลงวา ไม่ได้ไม่เสีย หมายถึง เพลงเสมอ แม่ลูกอ่อนไปตลาด หมายถึง เพลงเร็ว. | อาศิรพจน์, อาศิรพาท, อาศิรวจนะ, อาศิรวาท, อาเศียรพจน์, อาเศียรพาท, อาเศียรวจนะ, อาเศียรวาท | น. คำอวยพร (เป็นคำที่ผู้น้อยใช้กับผู้ใหญ่). | กรมนา | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง เก็บหางข้าวขึ้นฉางหลวง ทำนุบำรุงอาชีพเกษตรกรรมและเก็บค่าภาษีอากรเกี่ยวกับการนั้น รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับที่นาและโคกระบือเป็นต้น | กระแต ๑ | น. ชื่อฆ้องวงขนาดเล็ก ใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์มอญ ลักษณะร้านฆ้องเป็นรูปเว้าหงายขึ้น คล้ายฆ้องมอญแต่ปลายไม่สูง วงหนึ่งมีลูกฆ้อง ๑๑ ลูก, ฆ้องขนาดเล็กลูกเดียวแขวนกับไม้ ใช้มือหิ้วหรือแขวนไม้กับไม้ขาหยั่ง ใช้ตีเป็นสัญญาณในการอยู่เวรยามหรือแจ้งข่าวสารต่าง ๆ, ทั้ง ๒ ชนิดเรียกว่า ฆ้องกระแต. | กลม ๑ | (กฺลม) น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้ปี่พาทย์ทำตอนตัวละครที่เป็นเทพเจ้าหรือเจ้าเงาะเหาะโดยลำพัง และใช้เป็นเพลงบรรเลงในเวลาเทศน์มหาชาติประจำกัณฑ์สักบรรพ. | กลองชาตรี | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง มี ๒ หน้า รูปร่างลักษณะคล้ายกลองทัดแต่เล็กกว่ามาก ตีด้วยไม้ ๒ อัน เช่นเดียวกับกลองทัด แต่วิธีการตี ลักษณะของไม้ตี และเสียงจะแตกต่างจากกลองทัด ใช้ร่วมในวงปี่พาทย์ในการแสดงละครชาตรีที่เรียกว่า ปี่พาทย์ชาตรี ใช้ในการบรรเลงเพลงชุดออกภาษาหรือสิบสองภาษา และใช้ประกอบการบรรเลงในเพลงทำนองตะลุง กลองชาตรีมักใช้บรรเลงคู่กับโทน เรียกว่า โทนชาตรี มีชื่อเรียกตามเสียงอีกอย่างหนึ่งว่า กลองตุ๊ก. | กลองตะโพน | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง ใช้ตะโพนไทย ๒ ลูก เสียงสูงต่ำต่างกัน ถอดเท้าออกแล้วนำมาตั้งเอาหน้าเท่งขึ้นตีอย่างกลองทัด นิยมใช้ตีแทนกลองทัดในวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ หรือเพื่อให้เกิดเสียงนุ่มนวลเมื่อบรรเลงภายในห้องหรืออาคาร. | กลองติ๋ง | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง รูปร่างและการตีเหมือนกับกลองทัด แต่มีขนาดเล็กกว่าและเสียงสูงกว่า ใช้บรรเลงผสมวงปี่พาทย์รวมกับกลองทัดในการแสดงหนังใหญ่เท่านั้น. | กลองทัด | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง มีรูปทรงกระบอก ตรงกลางป่องออกเล็กน้อย ขึ้นหนัง ๒ หน้า มีหูเรียกว่า หูระวิง สำหรับร้อยไม้ขาหยั่ง ใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์ ชุดหนึ่งอาจมี ๒-๓ ใบ, ถ้าใช้ใบเดียวแขวนที่หอกลองในวัด เรียกว่า กลองเพล. | กลองมลายู | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง รูปร่างลักษณะอย่างเดียวกับกลองแขก แต่ตัวกลองสั้นและอ้วนกว่า สายโยงเร่งเสียงทำด้วยหนัง ขึ้นหนัง ๒ หน้าด้วยหนังวัว ตีด้วยไม้งอน ใช้บรรเลงในวงบัวลอยในงานศพ และใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์นางหงส์. | กลองสองหน้า | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้ายเปิงมาง แต่ขนาดใหญ่และยาวกว่า ใช้ใบเดียวตีกำกับจังหวะในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง เสภา และกำกับการบรรเลงเพลงเดี่ยวเครื่องดนตรีของวงปี่พาทย์. | กล่อม ๓ | (กฺล่อม) น. ชื่อเพลงเครื่องปี่พาทย์ ทำตอนพระเข้าหานาง ซึ่งเรียกว่า โลม หรือตอนขับบำเรอ เรียกว่า กล่อมมโหรี อันใช้เป็นเครื่องสายประสมในภายหลัง และมีชื่อเป็นชนิดต่าง ๆ คือ กล่อมช้าง กล่อมพระยา กล่อมนารี และกล่อมในพิธีพราหมณ์ เรียกว่า ช้าหงส์ หรือ ช้าเจ้าหงส์, ชาวบ้านมักเรียกว่า กล่อมหงส์. | กันชน | น. เครื่องป้องกันการกระทบกระแทกด้านหน้าและด้านหลังรถยนต์, เรียกประเทศหรือรัฐที่กั้นอยู่ระหว่างดินแดนของ ๒ ประเทศ เพื่อมิให้พิพาทกันในเรื่องดินแดนและผลประโยชน์ ว่า ประเทศกันชน หรือ รัฐกันชน. | กัลยาณมิตร | (กันละยานะมิด) น. ชื่อเพลงไทยประเภทโหมโรงเสภา อัตรา ๓ ชั้น แต่งขึ้นจากเพลงหน้าพาทย์ชื่อชำนาญ. | กำนล | (-นน) น. เงินค่าคำนับครู, เงินคำนับบูชาครูปี่พาทย์ คือ พระประคนธรรพ หรือ พระนารท ซึ่งถือว่าเป็นครูเดิมของตน มีเทียนสำหรับจุดที่ตะโพนด้วย. | โกร่ง ๔ | (โกฺร่ง) น. เครื่องตีทำด้วยกระบอกไม้ไผ่ค่อนข้างยาว เจาะรูเป็นช่วง ๆ ใช้ไม้กรับตีให้เกิดเสียง เช่น พิณพาทย์ฆ้องกลองดังทั้งเกราะโกร่ง (อิเหนา). | ขลุ่ยอู้ | น. ชื่อขลุ่ยชนิดหนึ่ง มีขนาดยาวและใหญ่กว่าขลุ่ยเพียงออ มีเสียงต่ำ ใช้เฉพาะในวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์. | ข้อ | เนื้อความตอนหนึ่ง ๆ, ใจความสั้น ๆ ของเรื่อง, ข้อความ ก็ว่า, เรื่อง เช่น ข้อพิพาท ข้อยุติ, หัวข้อ เช่น ข้ออ้าง ข้อข้องใจ | คดีปกครอง | น. คดีที่เป็นข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนหรือระหว่างหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน ซึ่งเป็นข้อพิพาทอันเนื่องมาจากกระทำหรือการละเว้นการกระทำในทางปกครองของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ. | คู่กรณี | น. ผู้ที่เกิดพิพาทกัน. | เครื่องคู่ | น. ลักษณะการผสมของวงดนตรีไทย โดยมีเครื่องดนตรีประเภทเดียวกัน ๒ ชิ้น บรรเลงร่วมอยู่ในวงเดียวกัน เช่น วงปี่พาทย์เครื่องคู่ที่มีปี่ในกับปี่นอกผสมคู่กัน. | เครื่องห้า ๒ | น. ปี่พาทย์ที่ใช้เครื่องดนตรี ๕ อย่าง คือ ปี่ใน ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด และฉิ่ง. | เครื่องใหญ่ | น. ปี่พาทย์เครื่องคู่ที่เพิ่มระนาดเอกเหล็กและระนาดทุ้มเหล็ก. | โคมเวียน | ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์. | ฆ้องโหม่ง | น. ฆ้องขนาดใหญ่รองลงมาจากฆ้องชัย มีเชือกร้อยรูทั้ง ๒ ที่ใบฉัตร แขวนห้อยในแนวดิ่งกับขาหยั่งหรือคานไม้ หัวไม้ที่ใช้ตีพันด้วยผ้าหรือเชือกให้เป็นปุ่มโตอ่อนนุ่ม เวลาตีจะมีเสียงดังโหม่ง ๆ ใช้ตีกำกับจังหวะในวงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี และวงเถิดเทิง, สมัยโบราณใช้ตีในเวลากลางวันเป็นสัญญาณบอกเวลา “โมง” คู่กับกลองที่ตีเป็นสัญญาณในเวลากลางคืนบอกเวลา “ทุ่ม”. | ชาตรี ๒ | ชื่อเพลงที่มีคำนี้อยู่ คือ ชาตรีตะลุง ชาตรีใน โอ้ชาตรี ร่ายชาตรี, ชื่อวงปี่พาทย์ลักษณะหนึ่ง ประกอบด้วยโทน ปี่ตับ ฆ้องคู่ แกระ กลองชาตรี วงปี่พาทย์. | ชำนาญเกลากลอน | ชื่อเพลงปี่พาทย์ทำนองหนึ่ง (ดึกดำบรรพ์). | ชิงทรัพย์ | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ ลักทรัพย์ โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้าย เพื่อ (๑) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรัพย์นั้นไป (๒) ให้ยื่นให้ซึ่งทรัพย์นั้น (๓) ยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้ (๔) ปกปิดการกระทำความผิดนั้น หรือ (๕) ให้พ้นจากการจับกุม. | ชี้สองสถาน | ก. กระบวนการที่ศาลกำหนดประเด็นข้อพิพาทในคดี และระบุให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งนำพยานมาสืบในประเด็นข้อใดก่อนหรือหลัง. | เชิด | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้บรรเลงประกอบกิริยา เช่นการเดินทางระยะไกล ๆ รีบเร่ง สู้รบกัน มีลักษณะ ทำนอง อัตราจังหวะและชื่อเรียกต่าง ๆ ดังนี้ เชิดกลอง เชิดฉิ่ง เชิดฉาน เชิดนอก |
| peaceful settlement; pacific settlement | การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pacific settlement; peaceful settlement | การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | point in dispute | ประเด็นข้อพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lis (L.) | คดีความ, ข้อพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | labour dispute | ข้อพิพาทแรงงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | labour dispute | ข้อพิพาทแรงงาน [ ดู industrial dispute ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | litigant | คู่ความ, คู่พิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | litigious | ที่พิพาทกัน, ที่เป็นความกัน, ที่ชอบค้าความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | settlement, comprehensive | การระงับข้อพิพาทแบบเบ็ดเสร็จ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | settle a dispute | ระงับข้อพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | settlement | ๑. การตั้งถิ่นฐาน, นิคม๒. การระงับข้อพิพาท [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | settlement, pacific; settlement, peaceful | การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | settlement, peaceful; settlement, pacific | การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | ante litem motam (L.) | ก่อนเกิดกรณีพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | adjudicatory process | กระบวนการระงับข้อพิพาททางปกครอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | amount in dispute | จำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | justiciable controversy | คดีที่มีข้อพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | minor dispute | ข้อพิพาทแรงงานในข้อตกลงร่วม (เกี่ยวกับสภาพการจ้าง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | major dispute | ข้อพิพาทแรงงานนอกข้อตกลงร่วม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | matter in dispute | ข้อพิพาท, กรณีพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | matter in issue | ประเด็นข้อพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | contentious case | คดีมีข้อพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | contentieux (Fr.) | กรณีพิพาท, คดีความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | comprehensive settlement | การระงับข้อพิพาทแบบเบ็ดเสร็จ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | conflict | ข้อพิพาท, ข้อขัดแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | conciliation | การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | compromise | ๑. ประนีประนอมยอมความ (ก. แพ่ง)๒. การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | chose in action | ๑. สิทธิเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์๒. ทรัพย์พิพาทในคดี [ ดู thing in action ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | dispute, labour | ข้อพิพาทแรงงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | dispute | ๑. ข้อพิพาท๒. โต้แย้ง, ค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | industrial dispute | ข้อพิพาทแรงงาน [ ดู labour dispute ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | international dispute | ข้อพิพาทระหว่างประเทศ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | interference | ๑. กระบวนพิจารณาข้อพิพาทเกี่ยวกับสิทธิบัตร (ก. สิทธิบัตร)๒. การสอดแทรก (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | value of the property in dispute | มูลค่าของทรัพย์สินที่พิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | trade dispute | ข้อพิพาททางการค้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | thing in action | ๑. สิทธิเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์๒. ทรัพย์พิพาทในคดี [ ดู chose in action ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | non contentious case | คดีที่ไม่มีข้อพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Dispute | ข้อพิพาท [เศรษฐศาสตร์] | Investment dispute | ข้อพิพาทในการลงทุน [เศรษฐศาสตร์] | Conflict | ข้อพิพาท [เศรษฐศาสตร์] | Boundary disputes | ข้อพิพาทเขตแดน [TU Subject Heading] | Cisplatin | ซิสพาทิน [TU Subject Heading] | Dispute resolution (Law) | การระงับข้อพิพาท (กฎหมาย) [TU Subject Heading] | Labor disputes | การพิพาทแรงงาน [TU Subject Heading] | Pacific settlement of international disputes | การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี [TU Subject Heading] | Piphat | วงปี่พาทย์ [TU Subject Heading] | Piphat music | ดนตรีปี่พาทย์ [TU Subject Heading] | award | คำตัดสินอนุญาโตตุลาการ (ใช้ในแง่การระงับกรณีพิพาท) [การทูต] | Convention on Elimination of All Forms of Discrimination Against Women | อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ได้รับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2522 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน 2527 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบและเพื่อความ เสมอภาคระหว่างสตรีและบุรุษในทุกด้าน ขณะนี้มีประเทศต่าง ๆ เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 167 ประเทศ (ข้อมูลถึงกรกฎาคม 2543) ไทยยังคงมีข้อสงวนอีก 2 ข้อ ในอนุสัญญาฯ คือ ข้อ 16 เรื่องความเสมอภาคในด้านครอบครัวและการสมรส และ ข้อ 29 เรื่องการระงับการตีความ การระงับข้อพิพาท โดยรับอนุญาโตตุลาการ [การทูต] | Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] | dispute settlement | การระงับข้อพิพาท [การทูต] | Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | Joint Development Area | พื้นที่พัฒนาร่วม " หมายถึง พื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซีย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการแก้ไขปัญหาเขตแดนทางทะเลระหว่างทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงที่จะแปรปัญหาเขตทับซ้อนในไหล่ทวีป ซึ่งมีพื้นที่ 7,250 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นพื้นที่พัฒนาร่วม โดยการแสวงหาและนำเอาทรัพยากรปิโตรเลียมในพื้นที่ดังกล่าวมาใช้และแบ่งปันผล ประโยชน์ บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันในลักษณะ 50 : 50 ซึ่งนับว่าเป็น ตัวอย่างที่ดีในการแก้ไขกรณีพิพาทเกี่ยวกับเขตทับซ้อนทางทะเลสำหรับประเทศ อื่น ๆ " [การทูต] | Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] | Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] | pacific settlement of disputes | การระงับข้อพิพาทด้วยสันติวิธี [การทูต] | Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] | Shanghai Cooperation Organization | พัฒนามาจากเวทีการประชุม Shanghai Five ซึ่งจีนเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 เดิมมีสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ จีน รัสเซีย คาซัคสถาน สาธารณรัฐคีร์กีซ และทาจิกิสถาน ต่อมาเมื่อเดือนมิถุนายน 2544 อุซเบกิสถาน ได้เข้าเป็นสมาชิกด้วย จึงมีการเปลี่ยนชื่อกลไกความ ร่วมมือนี้เป็น Shanghai Cooperation Organization เดิมมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจและแก้ไขข้อพิพาทเกี่ยวกับพรมแดนของประเทศสมาชิก และต่อมาได้ขยายขอบเขตความร่วมมือให้ครอบคลุม ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจการค้า วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม การศึกษา พลังงาน การคมนาคม [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | Shuttle Diplomacy | การทูตแบบกระสวย หมายถึง การเดินทางไปเจรจาทางการทูตเพื่อคลี่คลายปัญหาหรือกรณีพิพาทโดยผู้ไกล่ เกลี่ยจะต้องเดินทางกลับไป-กลับมาระหว่างประเทศหรือคู่กรณีที่มีความขัดแย้ง กัน เช่น การแก้ปัญหาในตะวันออกกลาง [การทูต] | The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] | unsettled dispute | ข้อพิพาทที่ยังไม่ระงับ [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
| Far out. | นี่ไม่คิดว่าชั้นทำทั้งหมดนี่ก้อเพื่่อพวกนายเหรอ แน่สิ พาทุกคนมาที่นี่เลยนะ ด่วน Hero (1992) | If we tell them, they will come and put Tom into care, | ถ้าเราบอก พวกนั้นจะมาพาทอมไปดูแล The Cement Garden (1993) | And then last year, when we finally decided to get married, we agreed, love, yes, false dependencies, no. | แล้วเมื่อปีที่แล้ว ตอนที่เราตัดสินใจแต่งงานกัน เราตกลงกัน ความรัก... ใช่ การพึ่งพาที่ผิด... The Joy Luck Club (1993) | Let us fight for a world of reason, a world where science and progress will lead to the happiness of all. | เราจะสู้บนเหตุและผล โลกแห่งวิทยาศาสตร์และความก้าวหน้า จะพาทุกคนไปสู่ความสุข The Great Dictator (1940) | -And we are counting on you too, Doctor. | เราก็หวังพื่งพาท่าน Beneath the Planet of the Apes (1970) | We'll be back with the Magic Tones for the Armada Room's... two-hour disco swing party after this short break. | พวกเราจะกลับมาพร้อมกับ เตอะแมจิคโทนส เพื่อแอมอาดะรูม สองชั่วโมงดิสโคซวีงพาที หลังจากหยุดพักช่วงสั้นๆ The Blues Brothers (1980) | We'll take it! | นั่นอพาทเม้นท์ผม Big (1988) | Yes, sir, this is the one. This is my ticket to paradise. | เชื่อซี่ ถูกแน่ๆ นี่แหละตั๋วพาทัวร์สวรรค์ของชั้น Good Will Hunting (1997) | They'll try to get her off the stage. If they do that, he will shoot her in the crowd! | ถ้าเขาพาท่านหลบไปล่ะก็ แจ็คกอลจะยิงกราดไปที่ฝูงชน The Jackal (1997) | If I made it through Chino, this should be a piece of cake. | ถ้าฉันผ่านเรื่องกรณีพิพาทจินไปได้ /นี่ก็เป็นส่วนหนึ่งของเค้ก American History X (1998) | Kind of instant paralysis from the waist down. | เหมือนการเป็นอัมพาท ชั่วคราวตั้งแต่เอวลงไป eXistenZ (1999) | WILLING TO PAY ANY PRICE! | ในที่สุดผมก็ถูกพาที่ตึกนี้ One Piece: Wan pîsu (1999) | ? That's going overboard, you guys. | ผมก็ถูกพาที่ตึกนี้ One Piece: Wan pîsu (1999) | We were all so looped when we left. | ฉันพูดได้เลยว่าต้องมีใครเข้ามาในอะพาทเมนฉันแน่ Valentine (2001) | Take a dozen of your best men, track him down, kill him and bring her back to me. | พาทหารมือดีของเจ้าไป 12 คน ตามหามันให้พบ... ฆ่ามัน... เเละนํานางกลับมาให้ข้า The Scorpion King (2002) | You'II get a life sentence for this. You're a kidnapper and a whore! | เอางั้นเหรอ เป็นโดนโทษตลอดชีวิตแน่ เป็นทั้งพวกลักพาทั้งโสเภณี Bringing Down the House (2003) | Soren will handle it. | โซเรนจะพาทีมไป Underworld (2003) | I'll put Tom Thumb to bed, and I'll show Marie her room. | ฉั้นจะไปพาทอมไปนอน และจะพา Marie ไปดูห้องนอนของเธอ High Tension (2003) | -Would you like a tour? | -พาทัวร์เอามั้ย The Day After Tomorrow (2004) | She trashed an apartment and wouldn't leave. | เธอเข้าไปในอะพาทเมนท์และก็ไม่ได้ออกมาเลย The Forgotten (2004) | -Who? Whose apartment? | -ใคร อะพาทเมนท์ของใคร? The Forgotten (2004) | They don't care about anybody's apartment. | พวกเขาไม่น่าจะมาสนใจเกี่ยวกับอะพาทเมนท์ของใครนี่ The Forgotten (2004) | -Meet me at my apartment. | -ไปเจอผมที่อะพาทเมนท์ The Forgotten (2004) | My job is over when everyone is back on the boat safely. | งานของชั้นจบเมื่อพาทุกคนกลับไปถึงเรือโดยปลอดภัย AVP: Alien vs. Predator (2004) | I went to bed in my shit-hole apartment and woke up in an actual shit-hole. | ฉันกลับไปนอนที่อพาทเม้นท์เน่า ๆ แล้วก็มาตื่นในรูหนูเน่า ๆ เนี่ย Saw (2004) | Paul, please, let us take Tatiana with us. | พอล ได้โปรด พาทาเทียน่าไปกับเราด้วย Hotel Rwanda (2004) | Take everybody with us. | พาทุกคนออกไปหมดแล้วนะ The Great Raid (2005) | - You've gotten us this far. | - นายพาทุกคนไปจากที่นี่ The Cave (2005) | - Got us this far, Tyler? | - พาทุกคนไปจากที่นี่ได้ไหม เทย์เลอร์? The Cave (2005) | Code red! Get him outta here! Come on! | ฉุกเฉิน รีบพาท่านออกมา ไปเร็ว! Red Eye (2005) | The apartment. | ที่อพาทเมนต์ Just Like Heaven (2005) | Get the Generals together, and make them signal to retrieve the soldiers from each garrison. | พาท่านนายพลมา แล้วเรียกกำลังเสริมจากเมืองอื่นมาด้วย Fullmetal Alchemist the Movie: Conqueror of Shamballa (2005) | Bobby! | ฉันเป็นคนเดียวที่หยุดเธอได้ พาทุกคนไปที่ปลอดภัย X-Men: The Last Stand (2006) | Back when I was a young man, my father ran a team of sled dogs up in the Yukon. | ย้อนกลับไปเมื่อสมัยผมยังเด็ก พ่อผมนำสุนัขลากเลื่อน พาทีมสำรวจที่ยูคอน Eight Below (2006) | I take you to hospital, let's go - Jing Sun! | ข้าจะพาท่านไปโรงพยาบาล ไป จิ้งเสิ่น! Fearless (2006) | Maybe your dad will give you a vip tour. | บางที พ่อเธอจะพาทัวร์แบบ วีไอพี ได้น่ะ Night at the Museum (2006) | All the victims have the keys to the same apartment. | เหยื่อยทุกคนมีกุญแจอพาท์เมนท์เหมือนกัน Apt. (2006) | But it was a lot, enough to buy a house. | แต่มันเยอะมาก เยอะพาที่จะซื้อบ้านได้ Arang (2006) | Hmm, that's odd because nick savrinn was found dead in his apartment an hour before that call came in to you. | น่าแปลกเพราะนิค แซฟรินถูกพบเป็นศพ อยู่ในอพาทเมนต์ 1 ชั่วโมง ก่อนจะมีโทรศัพท์มาหาเธอ Otis (2006) | mr. luthor, we need to get you off the street. | มิสเตอร์ลูเธอร์ เราต้องพาท่านออกไปจากตรงนี้ Zod (2006) | I'll be back soon, and I'll walk Dami out. | แล้วฉันจะกลับมาเร็วๆนี้ ฉันจะเป็นคนพาทามิ ออกไป Fly, Daddy, Fly (2006) | We can go back to living in the corporate apartment again. | พวกเราสามารถกลับไปอยู่ที่ อพาทเม้นท์เดิมได้อีกครั้งด้วยนะ Boys Over Flowers (2005) | Ok, got it.Her apartment's off campus. | โอเค ได้ละ อพาทเมนตร์ของเธออยู่นอกมหาวิทยาลัย Compulsion (2005) | Morgan, seal the building get everybody out of there and walk away. | มอร์แกน ปิดตึกนี้ซะ/Nพาทุกคนไปให้ไกลบริเวณตึก Compulsion (2005) | Take our soldiers and get out of here. | พาทหารหนีออกไปจากที่นี่ซะ The Book of the Three Hans (2006) | No, actually, my father did find a cure. | ที่ภัตราคาร? ที่ที่ผมพาทันยาไป, Shopsin's? Chapter Twenty-One 'The Hard Part' (2007) | But you can't afford an apartment. | แต่ลูกจะเอาเงินที่ไหนมาจ่ายค่าอพาทเม้นท์ Distant Past (2007) | To provide insight into the bay harbor butcher - | เพื่อจะพาท่านเข้าสู่จิตใจ ของเบย์ ฮาเบอร์ บุชเชอร์ See-Through (2007) | You guys, why don't you take tamara | พวกนาย ทำไมไม่พาทามาร่ามาด้วย The Magnificent Seven (2007) | He's got people breaking into a woman's apartment. | เค้าสั่งให้คนแอบเข้าไปในอพาทเมนท์ของผู้หญิงคนหนึ่ง The Right Stuff (2007) |
| การชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน | [kān chīkhāt khøphiphāt raēng-ngān] (n, exp) EN: arbitration | กรณีพิพาท | [karanī phiphāt] (n, exp) EN: conflict ; fight ; battle ; dispute ; quarrel ; controversy ; matter of controversy ; subject of litigation ; collision FR: conflit [ m ] | กรณีพิพาทอินโดจีน | [karanī phiphāt Indōjīn] (n, exp) FR: conflit indochinois [ m ] | กรณีพิพาทระหว่างประเทศ | [karanī phiphāt rawāng prathēt] (n, exp) EN: international legal dispute | ข้อพิพาท | [khøphiphāt] (n) EN: dispute ; argument ; controversy ; controversial point ; disputed point ; matter in dispute ; issue FR: dispute [ f ] | ข้อพิพาทแรงงาน | [khøphiphāt raēng-ngān] (n, exp) EN: labor dispute | คู่พิพาท | [khu phiphāt] (n) EN: litigant ; party to the dispute | ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท | [klaiklīa khøphiphāt] (v, exp) EN: settle a dispute ; arrange differences ; reconcile differencies | กระดาษพาทเม้นท์ | [kradāt phātmen] (n, exp) EN: parchment paper | ภาษาพาที | [phāsā phāthī] (n, exp) FR: langue usuelle [ f ] ; langue nationale [ f ] ; langue officielle ]f ] | พาท | [phāt] (n) EN: word ; speech | พาที | [phāthī] (n) EN: word ; speech | พิพาท | [phiphāt] (v) EN: dispute ; have a dispute ; litigate ; quarrel FR: se disputer | ปี่พาทย์ | [pīphāt] (n) EN: orchestra consisting chiefly of the gamelan ; gamelan FR: gamelan [ m ] | เทเลพาที | [thēlēphāthī] (n) EN: telepathy FR: télépathie [ f ] | วงปี่พาทย์ | [wong pīphāt] (n, exp) EN: oboe-based Thai orchestra |
| | antiparticle | (แอน' ทีพาทิเคิล) n. อนุภาคที่ทำลายกันเองเมื่อปะทะกัน เช่น อีเล็คตรอน และโปซิตรอน (as an electron and a positron) | departee | (ดิพาท'ที) n. ผู้จากไป | easternmost | adj. สุดตะวันออก, สุดบูรพาทิศ | good offices | การบริการของผู้ไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทอิทธิพล | orient | (โอ'เรียนทฺ, ออ'เรียนท) n. -Phr. (the Orient ประเทศในแถบบูรพาทิศ, บูรพาทิศ) adj. ทิศตะวันออก -v. ปรับ, ปรับตัว, ทำให้เข้าใจ, กำหนดตำแหน่งของ, หันไปทางทิศตะวันออก, Syn. adapt, adjust | oriental | (โอริเอน'เทิล, ออ'-) adj. เกี่ยวกับประเทศในบูรพาทิศ, (ไข่มุก) แวววาว, ชั้นดีมาก n. ชาวตะวันออก, (โดยเฉพาะคนจีน และญี่ปุ่น) . | pout | (เพาทฺ) vi. ยื่นปาก, บุ้ยปาก, ทำหน้าบึ้ง, ทำหน้าไม่พอใจ, โป่ง, บวม, ยื่น. vt. ยื่นปาก, บุ้ยปาก. n. การยื่นปาก, การบุ้ยปาก, อารมณ์บูดบึ้ง., See also: poutful adj. poutingly adv. | rainspout | (-สเพาทฺ) n.ท่อน้ำฝน, ท่อระบายน้ำ | spout | (สเพาทฺ) n. พวยกา, พวยกาน้ำ, รางน้ำ, รางลาด, ท่อพ่น, หลอดพ่น, โรงรับจำนำ, ลำน้ำ, น้ำที่พุ่งขึ้น, น้ำที่พุ่งไหลvt., vi. พ่น, พุ่ง, ไหลพุ่ง, พูดแบบน้ำไหลไฟดับ, Syn. stream, flow, spew | waterspout | (วอ'เทอะสเพาทฺ) n. ท่อระบายน้ำ, ส่วนของเมฆรูปกรวยที่แตะพื้นผิวน้, มองดูคล้ายลำน้ำ |
| belligerent | (n) คู่พิพาท, คู่ปรปักษ์, คู่สงคราม, คู่กรณี | feud | (n) การพิพาทอย่างรุนแรง, ความพยาบาท, ความอาฆาต, การทะเลาะวิวาท | gamelan | (n) ระนาด, พิณพาทย์, มโหรี | parley | (n) การตกลง, การเจรจาข้อพิพาท, การประชุม | parley | (vi) ตกลง, เจรจาข้อพิพาท, ประชุม, สนทนา | quarrel | (n) ข้อพิพาท, การทะเลาะ, การวิวาท, เรื่องวิวาท | xylophone | (n) ระนาด, พิณพาทย์ |
| NDS | [n-d-s] (n) เป็นคำย่อมาจาก Nintendo Deal Screen ซึ่งเป็นเครื่องเล่นเกมแบบพกพาที่มี 2 หน้าจอ |
| 労働争議 | [ろうどうそうぎ, roudousougi] (n) ข้อพิพาทแรงงาน |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |