ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พยางค์, -พยางค์- |
商量 | [shāng liang, ㄕㄤ ㄌㄧㄤ˙, 商 量] (vi) ปรึกษา หารือ คุย ระวังเสียงคำอ่านที่ถูกต้องของพยางค์หลัง คือ เสียงเบา จะเป็น shang1 liang ไม่ใช่ shang1 liang2 |
| พยางค์ | (n) syllable, Example: คนโบราณมักตั้งชื่อเด็กเพียง 2 พยางค์ เช่น บุญยืน บุญมี บุญมา บุญสี เป็นต้น, Count Unit: พยางค์, Thai Definition: ส่วนของคำพูดที่เปล่งเสียงออกมาแต่ละครั้ง | คำมากพยางค์ | (n) polysyllable, See also: polysyllabic word, Example: ภาษาเม็กซิโกเป็นภาษาคำมากพยางค์, Thai Definition: คำเดียวมีหลายพยางค์ โดยเอาคำหลายๆ คำมาต่อกัน |
|
| พยางค์ | (พะยาง) น. ส่วนของคำที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ เช่น กะ มี ๑ พยางค์ กระเป๋า มี ๒ พยางค์ พยากรณ์ มี ๓ พยางค์. | ภาษาคำควบมากพยางค์ | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการประกอบหน่วยคำหลาย ๆ หน่วยเข้าเป็นคำเดียวกัน ทำให้คำหนึ่ง ๆ มีความยาวหลายพยางค์ เช่น ภาษาเวลส์ ภาษาเอสกิโม ภาษาอินเดียนแดง. | กก ๑ | น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกด ว่า มาตรากกหรือแม่กก. | กง ๑ | น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ง สะกด ว่า มาตรากงหรือแม่กง. | กด ๑ | น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด ว่า มาตรากดหรือแม่กด. | กน ๑ | น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะกด ว่า มาตรากนหรือแม่กน. | กบ ๑ | น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว บ ป พ ฟ ภ สะกด ว่า มาตรากบหรือแม่กบ. | กม ๑ | น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ม สะกด ว่า มาตรากมหรือแม่กม. | กรร- ๓ | (กัน-) ใช้เป็นพยางค์หน้า (ซึ่งโบราณเขียนเป็น กนน หรือ กัน ก็มี) แทน กระ เช่น กรรชิง-กันชิง-กระชิง, กรรเช้า-กรนนเช้า-กระเช้า, กรรเชอ-กนนเชอ- กระเชอ, กรรโชก-กันโชก-กระโชก, กรรพุ่ม-กระพุ่ม, กรรลึง-กระลึง. | กระ ๔ | ใช้เป็นพยางค์หน้า (๑) ซึ่งเดิมเป็น ก กำ กุ ข ต ส เช่น กบิล-กระบิล, กำแพง-กระแพง, กุฎี-กระฎี, ขจัด-กระจัด, ตวัด-กระหวัด, สะท้อน-กระท้อน. (๒) โบราณใช้แทน ตระ เช่น ตระกูล-กระกูล, ตระลาการ-กระลาการ. (อัยการเบ็ดเสร็จ). (๓) เติมหน้าคำโดยไม่มีความหมายก็มี เช่น ซุ้ม-กระซุ้ม, โดด-กระโดด, พุ่ม-กระพุ่ม, ยาจก-กระยาจก, เติมให้มีความหมายแน่นแฟ้นขึ้นก็มี เช่น ทำ-กระทำ, ทุ้ง-กระทุ้ง, เสือกสน-กระเสือกกระสน. (๔) ยํ้าหน้าคำอันขึ้นต้นด้วย ก ในบทกลอน คือ กระกรี๊ด กระกรุ่น กระกลับกลอก กระเกริ่น กระเกรียม กระเกรียว กระเกรี้ยว กระเกริก. (๕) นอกนี้เป็น กระ มาแต่เดิม เช่น กระทรวง กระบือ. | กุมาร-ลฬิตา | (กุมาระละลิตา) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๒ คณะ คือ ช คณะ และ ส คณะ และเติมครุข้างท้ายอีก ๑ คำ หรือ ๑ พยางค์ จึงมีบาทละ ๗ คำ หรือ ๗ พยางค์ (ตามแบบว่า กุมารลฬิตาชฺสฺคา) ตัวอย่างว่า อนึ่งนุชมีจิต สนิทกรุณะเปรมปรี ดิสวามิมะนะภักดี ภิบาลบมิอนาทร (ชุมนุมตำรากลอน). | กุสุมวิจิตร | น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น คณะ ย คณะ น คณะ ย คณะ บาทละ ๑๒ คำ หรือ ๑๒ พยางค์ (ตามแบบว่า นยสหิตานฺยา กุสุมวิจิตฺตา) ตัวอย่างว่า จะรจิตรอรรถา ปิสุณวจีขวน พิปริตญาณยล บรชนทำลาย (ชุมนุมตำรากลอน). | กุสุมิตลดาเวลลิตา | (กุสุมิตะละดาเวนลิตา) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๖ คณะ คือ ม คณะ ต คณะ น คณะ ย คณะ ย คณะ ย คณะ บาทละ ๑๘ คำ หรือ ๑๘ พยางค์ (ตามแบบว่า โม โต โน โย ยา กุสุมิตลตาเวลฺลิตากฺขุตฺวสีหิ) ตัวอย่างว่า มนตรีมาตย์ผู้ฉลาดมละ ทุจริตธรรม์ พึงผดุงสรร- พสิ่งสวัสดิ์ (ชุมนุมตำรากลอน). | เก็บ ๒ | น. วิธีบรรเลงเครื่องดนตรีดำเนินทำนองทั่วไปที่เพิ่มเติมเสียงสอดแทรกให้มีพยางค์ถี่ขึ้นมากกว่าทำนองเนื้อเพลงธรรมดา, ทำนองเก็บ หรือ ลูกเก็บ ก็เรียก. | เกย ๑ | น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ย สะกด ว่า มาตราเกยหรือแม่เกย. | เกอว | น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ว สะกด ว่า มาตราเกอวหรือแม่เกอว. | ขยี้ ๒ | น. วิธีบรรเลงดนตรีโดยเพิ่มพยางค์ในประโยคเพลงให้มากขึ้นกว่าการบรรเลงปรกติ ทำได้ ๒ วิธี คือ เพิ่มโดยเติมพยางค์ก่อนจะถึงลูกตกท้ายประโยค หรือเพิ่มโดยการบรรเลงประโยคนั้นให้เร็วขึ้นเป็นหลายครั้งในเวลาเท่ากับการบรรเลงเดิม. | คระ ๒ | (คฺระ) ใช้แทน กระ ที่เป็นพยางค์หน้า เช่น คระหน คระหาย คระโหย. | ครุ ๒ | (คะรุ) ว. หนัก, ใช้ในตำราฉันทลักษณ์ หมายถึง พยางค์ที่มีเสียงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงยาวและสระเกินทั้ง ๔ คือ สระอำ ใอ ไอ เอา เช่น ตา ดำ (สระอำถือเป็น ครุ ก็ได้ ลหุ ก็ได้) และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่น หัด เรียน ใช้เครื่องหมาย ั แทน, คู่กับ ลหุ ซึ่งใช้เครื่องหมาย ุ แทน. | คำ ๒ | พยางค์ซึ่งเป็นส่วนย่อยของวรรคหรือบาทในฉันท์ แต่ละพยางค์ถือว่าเป็นคำหนึ่ง, ๒ วรรคของคำกลอน | คำกร่อน | น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ. | จัตวาทัณฑี | น. ชื่อโคลง ๔ ชนิดหนึ่ง ซึ่งบาท ๒ ใช้พยางค์ที่ ๔ สัมผัส เช่น <br><center><table><tr><td align = "center"><img src="picture/8599.png"></td></tr><tr><td align = "right">(ชุมนุมตำรากลอน).</td></tr></table></center> | ฉีกคำ | ก. แยกพยางค์ของคำให้อยู่คนละวรรคหรือคนละบรรทัด มักใช้ในคำประพันธ์. | ชร-๓ | (ชะระ-) เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชริน เป็น ชรริน. | ชระ ๒ | (ชะระ) เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน. | ตัวสะกด | น. พยัญชนะท้ายคำหรือพยางค์ที่ทำหน้าที่บังคับเสียงให้เป็นไปตามมาตราต่าง ๆ เช่น น เป็นตัวสะกดในมาตรากน. | โตฎก | (-ดก) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ บทหนึ่งมี ๔ บาท แต่ละบาทมี ๑๒ พยางค์, ประกอบด้วย ส คณะ (ลหุ ลหุ ครุ) ล้วน เช่น รถนั้นนลแท้ นลแน่มนใน นรอื่นบ่มีใคร รถแขงดุจนล (พระนลคำฉันท์). | ทางเก็บ | น. วิธีบรรเลงดนตรีแบบหนึ่ง โดยดำเนินทำนองเป็นพยางค์เสียงช่วงสั้นต่อเนื่องกันไป ส่วนใหญ่นิยมใช้กับเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี เช่น ระนาดเอก ขิม. | โทธก | (-ทก) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ บทหนึ่งมี ๔ บาท แต่ละบาทมี ๑๑ พยางค์ กำหนดด้วย ภะคณะ ภะคณะ ภะคณะ และครุ ๒ พยางค์ ตามลำดับเหมือนกันทุกบาท (ตามแบบว่า โทธกมิจฺฉติ เจ ภภภาคา) ตัวอย่างว่า มิตรคณาทุรพาละทุพลมี นามก็กระลี หินะชาติ ประกาศภิปราย (ชุมนุมตำรากลอน). | นาง ๑ | ใช้แทนคำว่า อี ที่เป็นพยางค์ต้นของบางคำเพื่อความสุภาพ เช่น หอยนางรม นกนางแอ่น ตุ่มนางเลิ้ง <i>(ดู อี)</i> | นุ ๒ | ใช้เสริมแทรกระหว่างพยางค์ เช่น พฤกษในนุพงไพร (สมุทรโฆษ). | บทบูรณ์ | (บดทะ-) น. พยางค์ที่ทำให้บทประพันธ์ครบคำตามฉันทลักษณ์ ไม่สู้มีความหมาย เช่น แต่งอเนกนุประการ คำ “นุ” เป็นบทบูรณ์, บาทบูรณ์ ก็เรียก. | บวรโตฎก | (บอวอระโตดก) น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดให้ ๓ พยางค์ต้นวรรคแต่ละวรรคเป็นสะคณะคือพยางค์เบา ๒ พยางค์ พยางค์หนัก ๑ พยางค์ เช่น ชลเนตรไหลนองร้องร่ำรัก ชลไนยไหลหนักอาวรณ์หวาม ชนนีห้ามบุตรสุดไม่ตาม ชลนานองน้ำพระเนตรนอง (สารานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย ภาคฉันทลักษณ์). | บังคับครุ | น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์ที่มีเสียงหนัก คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงยาวทั้งที่มีตัวสะกดและไม่มีตัวสะกด เช่น มา ดี ขาว สาย พยางค์ที่ประกอบด้วยสระสั้นที่ออกเสียงอย่างมีตัวสะกดทั้ง ๔ คือ อำ ใอ ไอ เอา เช่น รำ ใจ และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่น จัด เรียน. | บังคับโท | น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์โท. | บังคับลหุ | น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์ที่มีเสียงเบา คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงสั้นที่ไม่มีตัวสะกด เช่น ละ ติ ลุ. | บังคับเอก | น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคำตายทั้งสิ้นในโคลงและร่ายใช้แทนเอกได้. | ผันวรรณยุกต์ | ก. เปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์, โบราณใช้ว่า ผันอักษร. | ผันอักษร | ก. เปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์, ผันวรรณยุกต์ ก็ว่า. | ภาษาคำโดด | น. ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่องกับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำสองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม. | มาลินี | น. ชื่อฉันท์ชนิดหนึ่ง บาทหนึ่งมี ๑๕ พยางค์ | แม่ | คำหรือพยางค์ที่มีแต่สระ ไม่มีตัวสะกด เรียกว่า แม่ ก กา หรือมาตรา ก กา, คำหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกด เรียกว่า แม่กกหรือมาตรากก, คำหรือพยางค์ที่มีตัว ง สะกด เรียกว่า แม่กงหรือมาตรากง, คำหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด เรียกว่า แม่กดหรือมาตรากด, คำหรือพยางค์ที่มีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะกด เรียกว่า แม่กนหรือมาตรากน, คำหรือพยางค์ที่มีตัว บ ป พ ฟ ภ สะกด เรียกว่า แม่กบหรือมาตรากบ, คำหรือพยางค์ที่มีตัว ม สะกด เรียกว่า แม่กมหรือมาตรากม, คำหรือพยางค์ที่มีตัว ย สะกด เรียกว่า แม่เกยหรือมาตราเกย แต่ในมูลบทบรรพกิจมี ย ว อ สะกด, คำหรือพยางค์ที่มีตัว ว สะกด เรียกว่า แม่เกอวหรือมาตราเกอว. | ยติภังค์ | เครื่องหมายขีดสั้น - ใช้เป็นเครื่องหมายให้รู้ว่าพยางค์หน้ากับพยางค์หลังนั้นติดกันหรือเป็นคำเดียวกัน ตัวที่เขียนแยกนั้นจะอยู่ในบรรทัดเดียวกันหรือคนละบรรทัดก็ได้, เขียนเป็น ยัติภังค์ ก็มี. | ร | (รอ) พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เรียกว่า รอ เรือ เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากนหรือแม่กน เช่น การ วาร, เมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีพยางค์อื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียงประสมสระ ออ และตัว ร ออกเสียง ระ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี). | ลหุ | ใช้ในตำราฉันทลักษณ์ หมายถึง พยางค์ที่มีเสียงเบา ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงสั้นที่ไม่มีตัวสะกด เช่น จะ มิ ดุ, ใช้เครื่องหมาย <sub>ุ</sub> แทน, คู่กับ ครุ ซึ่งใช้เครื่องหมาย <sup>ั</sup> แทน. | ลูก | เรียกสิ่งที่จะสืบเป็นพันธุ์ไม้มีลักษณะกลม ๆ ว่า ลูกไม้, ผลไม้ ก็เรียก, เมื่อกล่าวถึงผลไม้ชนิดใดโดยเฉพาะ ซึ่งโดยมากเป็นคำพยางค์เดียวอันอาจทำให้เข้าใจผิดเป็นอย่างอื่นได้ ตามปรกติมักมีคำ ลูก ประกอบข้างหน้า เช่น ลูกเกด ลูกชิด | ลูกขัด ๑ | น. วิธีบรรเลงทำนองอย่างหนึ่ง แบ่งเครื่องดนตรีเป็น ๒ พวก โดยผลัดกันบรรเลงคนละที เมื่อพวกหน้าบรรเลงเป็นทำนองอย่างหนึ่งแล้ว พวกหลังก็จะบรรเลงทำนองให้ผิดแผกแตกต่างไปอีกอย่างหนึ่ง และทำนองที่ผลัดกันบรรเลงนี้ไม่บังคับว่าจะสั้นยาวเท่าใดหรือจะมีเพียงพยางค์เดียวก็ได้. | ลูกล้อ ๒ | น. วิธีบรรเลงทำนองอย่างหนึ่ง แบ่งเครื่องดนตรีเป็น ๒ พวก โดยผลัดกันบรรเลงคนละที เมื่อพวกหน้าบรรเลงเป็นทำนองอย่างใด พวกหลังก็จะบรรเลงเป็นทำนองซํ้าอย่างเดียวกัน และทำนองที่ผลัดกันบรรเลงนี้ไม่บังคับว่าจะสั้นยาวเท่าใดหรือจะมีเพียงพยางค์เดียวก็ได้. | โศลก | (สะโหฺลก) น. คำประพันธ์ในวรรณคดีสันสกฤต ๔ บาท เป็น ๑ บท ตามปรกติมีบาทละ ๘ พยางค์ เรียกว่า โศลกหนึ่ง เช่น กามโกฺรธวิยุกฺตานามฺ ยตีนำ ยตเจตสามฺ อภิโต พฺรหฺมนิรฺวาณมฺ วรฺตเต วิทิตาตฺม-นามฺ ผู้บำเพ็ญพรต พรากจากกามและโกรธ ข่มใจได้ รู้แจ้งอาตมัน ย่อมมีนิพพาน คือพรหมโดยทั่วไป (ศรีมัทภควัทคีตา), บทสรรเสริญยกย่อง |
| | Number of words in the title. | ชื่อมีกี่พยางค์ The Dreamers (2003) | And particularly enjoy the incredible crassness of the moment we try to squeeze an extra syllable into the fourth line. | แล้วก็เพลิดเพลินไปกับมัน ยิ่งด้วยพยางค์พิเศษๆ Love Actually (2003) | It only said: "Lately, George Wickham, Esq. to Miss Lydia Bennet", without a syllable said about who her father was, or where she lived! | โดยไม่มีซักพยางค์เดียวที่เอ่ยถึงพ่อของหล่อน หรือบ้านที่หล่อนอาศัย Episode #1.6 (1995) | (Word game involving the last syllables) Yuji, don't forget to take your umbrella | (เกมต่อคำ ตามเสียงพยางค์ท้าย) ยูจิคุง, อย่าลืม เอาร่มกลับมาด้วยนะ Be with You (2004) | "Passion." Got more than one syllable, too much talkin'. | "หลงไหล" มีมากกว่า 1 พยางค์ ยืดเยื้อเำกินไป ไม่แมนเลย Pilot (2005) | One-syllable Sucre. | ฉันจะพูดแต่คำ 1 พยางค์เท่านั้น Pilot (2005) | How many syllables? | มีกี่พยางค์? The Game (2007) | "Hang 'em high" has three syllables. | "Hang 'em high" มีสามพยางค์ The Game (2007) | - To the last syllable of recorded time. - Edgar Allen Shakespeare. | เพื่อพยางค์สุดท้ายของเวลาที่บันทึก เอ็ดการ์อัลเลนเช็คสเปียร์ Sex Trek: Charly XXX (2007) | The few syllables you got out were absolutely devastating. | คำพูดไม่กี่พยางค์ของคุณที่ออกมาหนักหน่วงมาก Music and Lyrics (2007) | "Lame" is a seven-letter word. | ทั้งหมดมี 7 พยางค์ Epic Movie (2007) | I've got just six words for you, bree hodge... | ฉันมีคำพูดให้เธอ 6 พยางค์ บรี ฮอดจ์ There's Always a Woman (2008) | Eight letters. Three syllables. | แค่ 8 ตัวอักษร 3 พยางค์ Chuck in Real Life (2008) | - Almost the same number of syllables. | - เกือบมีจำนวนพยางค์เท่ากัน Pineapple Express (2008) | I always imagined he'd have a single syllable name like Matt or John... or Dave. | ฉันมักจะจินตนาการว่าเขาจะมีชื่อ ที่ออกเสียงพยางค์เดียว เช่น แมท หรือ จอห์น... หรือ เดฟ Up in the Air (2009) | Take the syllables and compensate for age... | เอา... ...ทีละพยางค์... ...แล้วชดเชยด้วยอายุ... Episode #1.5 (2009) | It has six letters. | แค่ไม่กี่พยางค์เอง How About a Friendly Shrink? (2010) | I'm sorry. I was just focusing on the first syllable. | หนูขอโทษค่ะ หนูแค่สนใจกับพยางค์แรงของคำมากไป Hell-O (2010) | A simple one, actually. | คำง่ายๆหนึ่งพยางค์? Batman: Under the Red Hood (2010) | Thanks to three letters - D M H | ต้องขอบคุณคำ 3 พยางค์ ตู้ หมิง ฮั่น Love in Disguise (2010) | Tae, Jeong, Tae, Se, Moon, Dan, Sae...* | แท, จอง, แท, เซ, มุน, ดัน, แซ *ท่องพยางค์แรกของชื่อราชาแห่งโจซอนตามลำดับ Oh! My Lady (2010) | - You like the three-syllable ones, right? | ชอบคำที่มี สามพยางค์ใช่ไหม Super Sunday (2011) | - Not just because it's three syllables. - Hmm. | ไม่ใช่เพราะสามพยางค์ Super Sunday (2011) | A name like Victoria is so beautiful... | ข้าไม่กล้าแม้จะตัดพยางค์ออกสักตัว Dark Shadows (2012) | They shorten every word to one syllable. | พวกเขาย่อทุก คำเหลือแค่พยางค์เดียว The Story of the 50 (2012) | Every word, every image, every syllable of my investigation. | ทุกคำพูด ทุกรูปภาพ ทุกพยางค์ของการลงทุนของฉัน Penance (2012) | One syllable... | หนึ่งพยางค์.. Toy Story of Terror (2013) | The first syllable you spoke as a baby, the name of your latest crush, your entire life story from beginning to end. | ไม่ว่าจะเป็นพยางค์แรกนับตั้งแต่เกิด หรือชื่อคนล่าสุดที่เธอชอบ ชีวิตทั้งชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย 2 Pi R (2013) | I mean every word of it. | ผมหมายความตามที่บอกทุกพยางค์ Fire and Brimstone (2013) | I ain't gonna spill the beans. Not a single, solitary syllable. | ถั่ว ไม่พยางค์โดดเดี่ยวเดียว Tom Sawyer & Huckleberry Finn (2014) | "Meat"? | ใช่ เนื้อ พยางค์เดียว Gone Girl (2014) | I like that you always keep it under 15 syllables. | ผมชอบที่คุณพูดไม่เกิน 15 พยางค์ Pilot (2015) | I'll try to use one-syllable words from now on. | ฉันจะพยายามที่จะใช้คำพูดหนึ่ง พยางค์จากนี้ The Magnificent Seven (2016) | What... What's a syllable? | อะไรอะไรพยางค์? The Magnificent Seven (2016) | - I got one word for you, man. - Mmm-hmm? - Indonesia. | จะบอกให้สี่พยางค์... "อินโดนีเซีย" La La Land (2016) | Relax, it's got two syllables... | สองพยางค์ หายใจ... The Six Thatchers (2017) | - One word, two syllables. | - คำเดียว สองพยางค์ Remedial Chaos Theory (2011) |
| คำมูลมากพยางค์ | [khammūn māk phayāng] (n, exp) FR: mot polysyllabique [ m ] ; polysyllabe [ m ] | คำมูลพยางค์เดียว | [khammūn phayāng dīo] (n, exp) FR: mot monosyllabique [ m ] ; monosyllabe [ m ] | คำพยางค์เดียว | [kham phayāng dīo] (n, exp) EN: monosyllabic word FR: monosyllabe [ f ] | โคลงสิบสองพยางค์ | [khlōng sip-søng phayāng] (n, exp) FR: alexandrin [ m ] | พยางค์ | [phayāng] (n) EN: syllable FR: syllabe [ f ] | ซึ่งมีพยางค์เดียว | [seung mī phayāng dīo] (adj) EN: monosyllabic FR: monosyllabique |
| rizz | (n, colloq) ความมีสไตล์ เสน่ห์ หรือสิ่งดึงดูด, ความสามารถในการดึงดูดเพศตรงข้าม, มักใช้กันในสื่อสังคมออนไลน์ โดยแผลงมาจากพยางค์กลางของคำว่า charisma ตัวอย่างการใช้ เช่น Taylor has rizz. เทเลอร์เป็นคนมีเสน่ด์ดึงดูด คำว่า rizz เป็นคำศัพท์แห่งปี 2023 ของ Oxford University Press (Oxford Word of the Year 2023) |
| alexandrine | (n) โคลงกลอนที่มี 6 พยางค์ | anapaest | (n) การออกเสียงในภาษาอังกฤษที่สองพยางค์แรกเน้นเสียงเบาตามด้วยหนึ่งพยางค์ที่เน้นเสียงหนัก | antepenult | (n) พยางค์ที่สามจากท้ายสุดของคำ | apheresis | (n) การงดออกเสียงในพยางค์แรกของคำ | dash | (n) เครื่องหมายขีดคั่นระหว่างพยางค์ คำ วลี หรือประโยค (ทางไวยากรณ์), See also: เครื่องหมายขีด, เครื่องหมาย - หน้าหรือหลังพยางค์, เครื่องหมายวรรคตอน, Syn. stroke, line | elision | (n) การละสระ พยัญชนะหรือพยางค์ในการออกเสียงหรือเขียน (ทางภาษาศาสตร์) | haiku | (n) บทกวีแบบหนึ่งของญี่ปุ่นเป็นแบบ 17 พยางค์, Syn. hokku | monosyllabic | (adj) ซึ่งมีพยางค์เดียว (ทางภาษาศาสตร์) | monosyllabically | (adv) อย่างมีเพียงพยางค์เดียว | monosyllable | (n) คำพยางค์เดียว | multisyllabic | (adj) ซึ่งหลากหลายพยางค์ | penult | (n) พยางค์ที่อยู่ถัดจากพยางค์ท้ายสุด, Syn. penaltima | polysyllabic | (adj) หลายพยางค์, See also: เกี่ยวกับคำที่มีหลายพยางค์, Syn. sesquipedalian, lengthy, Ant. short | polysyllable | (n) คำหลายพยางค์ | secondary accent | (n) พยางค์ที่ลงน้ำหนักเสียงเบากว่า, See also: เครื่องหมายแสดงเสียงที่เบากว่า, Syn. secondary stress | syllabary | (n) ตารางแสดงพยางค์ | syllabic | (adj) เกี่ยวกับพยางค์ | syllable | (n) พยางค์, Syn. speech sound | syllable | (vt) ออกเสียงทีละพยางค์, See also: ออกเสียงอย่างชัดเจน, Syn. pronounce in syllables | syncopate | (vt) ย่อคำโดยตัดอักษรหรือเสียงตรงกลาง, See also: ย่อคำโดยตัดพยางค์ตรงกลาง, Syn. shorten by syncope | tonic | (n) พยางค์ที่ลงน้ำหนัก | tonic | (adj) เกี่ยวกับพยางค์ที่ลงน้ำหนัก | trochee | (n) จังหวะซึ่งประกอบด้วยสองพยางค์ | ultima | (n) พยางค์สุดท้ายของคำ |
| accent | (n. แอค' เซินทฺ, v. แอค' เซินทฺ, แอค' เซนทฺ') n. เสียงหนัก, เสียงเน้น, เครื่องหมายเสียงหนัก, การเน้นเสียงหนักตรงพยางค์หนึ่งพยางค์ใด, สำเนียงเปล่ง, ลักษณะจำพวก, ความเน้นหนัก. | alexandrine | (แอลลิคซาน' ดริน) n. โคลงกลอนที่มี 12 พยางค์ -adj. เกี่ยวกับเมือง Alexandria | alliterate | (อะลิท' เทอเรท) vt., vi. สัมผัสอักษรพยางค์, ทำให้คำแรกสัมผัสอักษรกัน | alliteration | (อะลิทเทอเร' เชิน) n. การสัมผัสอักษร, วิธีสัมผัสอักษรพยางค์ (of a word group) | ambisyllabic | (แอมบิซิล' ละบิค) adj. เกี่ยวกับพยางค์ซึ่งสัมพันธ์กับตัวสระทั้งหน้าและหลัง | anacrusis | (แอนนะครู' ซิส) n., (pl. cruses) พยางค์หรือบทที่ไม่ได้ออกเสียงหนัก ในบทแรกของโคลง. -anacrustic adj. | anap | (a) est (แอน' นะเพสทฺ) n. ท่วงทำนองที่มีหนึ่งพยางค์ที่หนักและมีสองพยางค์ที่ไม่หนัก | aphesis | (แอฟ' ฟีซิส) n. สระหรือพยางค์แรกขาดหายไป. - aphetic adj. | apocopate | (อะพอด'คะเพท) vt. ทำให้สั้นโดยการขาดอักษรหรือพยางค์ท้ายของคำ (shorten) | apocope | (อะพอค'โคพี) n. อักษรหรือพยางค์ตัวสุดท้ายขาดหายไป. -apocopic adj. | arsis | (อาร์'ซิส) n., (pl. -ses) จังหวะขึ้น, จังหวะเมา, พยางค์เสียงหนัก (ในโคลงกลอนภาษาอังกฤษ | charades | (ช?ะเรซ') n. การเล่นทายคำปริศนาที่มีเงื่อนไขให้ไว้ทุกพยางค์ | disyllabic | (ไดซิแลบ'บิด) adj. ซึ่งประกอบด้วย2พยางค์. | ecstasis | n. การขยายพยางค์, See also: ecstatic adj. ดูecstasis -pl. ecruses | haplology | n. การตัดพยางค์ของคำออกหนึ่งพยางค์ | ibid. | (อิบ'บิด) abbr. Ibidem พยางค์ (บทกวี) | monosyllabic | (มอนนะซิแลบ'บิค) adj. ซึ่งมีหนึ่งพยางค์, ซึ่งมีศัพท์ที่มีพยางค์เดียว | paeon | (พี'อัน) n. การสัมผัสเสียงของพยางค์ 4 เสียง | sonant | (โซ'เนินทฺ) n., adj. (ออก) เสียงรัว, เสียงสั่น, เสียงพยางค์, พยัญชนะที่ออกเสียงได้โดยไม่มีสระ, See also: sonantal, sonantic adj. | stanza | (สแทน'ซะ) n. พยางค์โคลง, พยางค์บทกวี, บทหนึ่งของกวี (โคลงกลอนฉันท์กาพย์) ซึ่งโดยมากมีอย่างน้อย4บรรทัด., See also: stanzaed adj. stanzaic, stanzaical adj. | syllable | (ซิล'ละเบิล) n. พยางค์ | tone | (โทน) n. เสียงสูงต่ำ, คุณภาพของเสียง, น้ำเสียง, เสียงร้อง, การเน้นเสียงที่พยางค์หนึ่งของคำ, ระบบสี, สีที่ให้, การให้สี, การปรับสี, อิทธิพลของสี, ความตึงตัวของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อของร่างกาย. vt., vi. ทำเสียงเฉพาะ, ปรับเสียง, ปรับสี, ฟื้นฟูสภาพกายหรือจิต -Phr. tone dow | trochee | (โทร'คี) n. จังหวะที่มีสองพยางค์ (พยางค์เสียงยาวและเสียงสั้น), See also: trochaic adj. | ultima | (อัล'ทะมะ) n. พยางค์สุดท้ายของคำ. adj. สุดท้าย, ในที่สุด, Syn. final |
| | Silbe | (n) |die, pl. Silben| พยางค์ |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |