ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: บางที, -บางที- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| จากวาก | (name) น. นกพวกเป็ดน้ำ ทางนิยายว่านกชนิดนี้ตัวผู้ต้องพรากตัวเมียในเวลาค่ำ จึงบินร้องหากัน, บางทีเรียก จากพราก หรือ จากวาก (เหมือน จักรพาก). |
| บางที | (adv) sometimes, See also: occasionally, Syn. บางครั้ง, บางคราว, ลางที, บางหน, บางเวลา, Example: เขาไม่ค่อยมีเวลาส่วนตัวเท่าไร กว่าจะได้นอนบางทีก็ตีหนึ่ง ตีสอง, Thai Definition: ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งที่ไม่ใช่ทั้งหมด | บางที | (adv) perhaps, See also: maybe, Syn. ไม่แน่, Example: ถ้าเหตุการณ์เป็นอย่างนี้ บางทีผมอาจจะล้มเลิกโครงการทั้งหมด, Thai Definition: อย่างไม่แน่ใจว่าจะเป็นไปได้หรือไม่ | แต่บางที | (adv) at other times, Syn. บางที, บางคราว, บางครั้ง, Ant. เสมอ, สม่ำเสมอ, Example: ชาวไร่ควรจะแบ่งชนิดของฝ้ายตั้งแต่ตอนเก็บจากไร่ แต่บางทีชาวไร่อาจเก็บรวมกันก่อนที่จะแบ่งก็ได้ |
| บางที | ว. บางเวลา, บางคราว, บางครั้ง, บางหน, ลางที ก็ใช้. | กง ๒ | น. วง, ส่วนรอบของล้อเกวียนหรือล้อรถม้าเป็นต้น, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ขนมกง, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ วง ว่า เป็นวงเป็นกง | กฐิน, กฐิน- | คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน). | กดขี่ | ก. ข่มให้อยู่ในอำนาจตน, ใช้บังคับเอา, ทำอำนาจเอา, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ข่มเหง เป็น กดขี่ข่มเหง. | กบิล ๒ | บรรดา เช่น กบิลว่าน, คำนี้บางทีเขียนเป็น กะบิล กระบิล ระบิล. | กบูร | (กะบูน) ว. งาม เช่น ก็ใช้สาวสนมอนนกบูร (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), คำนี้บางทีเขียนเป็น กระบูร กระบวร ขบูร ขบวร. | กมล | ใจ เช่น ดวงกมล, บางทีใช้ว่า กระมล. | กมล | (กะมน) ว. เหมือนบัว เช่น เต้าสุวรรณกมลคนที (ม. คำหลวง หิมพานต์), บางทีใช้ว่า กระมล. | กรมธรรม์ | (กฺรมมะทัน) น. เอกสารสัญญาซึ่งทำขึ้นตามที่กฎหมายกำหนด เช่น เอกสารที่ทาสลูกหนี้ยินยอมให้กรมการอำเภอทำให้ไว้แก่เจ้าหนี้นายเงิน สัญญาขายฝากที่ไร่ที่สวน, คำนี้เรียกเต็มว่า สารกรมธรรม์ หรือย่อว่า สารกรม, บางทีเรียกเพียงคำเดียวว่า กรม ก็มี เช่น กู้หนี้ถือสีนกันเข้าชื่อในกรมหลายคน (สามดวง). | กรรตุสัญญา | (กัดตุ-, กันตุ-) คำนำหน้านามหรือสรรพนามเป็นเครื่องหมายแสดงว่าคำนามหรือสรรพนามนั้นเป็นอาลปนะ เช่น ดูก่อนอานนท์ ข้าแต่พระคุณเจ้าทั้งหลาย, บางทีอาจเป็นคำร้องเรียกลอย ๆ โดยละเครื่องหมายนั้นไว้ก็ได้ เช่น อานนท์ ท่านผู้ฟังทั้งหลาย. | กรรมวาจก | (กำมะ-) น. ระเบียบของกริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคกรรมต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ, บางทีก็มีกริยานุเคราะห์ “ถูก” นำ และใช้หมายไปในทางไม่ดี เช่น เด็กถูกตี ถูกตี เป็นกริยา กรรมวาจก เด็กเป็นกรรมการก แต่บางทีก็ไม่ปรากฏกริยานุเคราะห์ “ถูก” เช่น หนังสือเล่มนี้แต่งดีมาก. | กรอ ๒ | ก. แสดงกิริยาเลียบเคียงกันในเชิงชู้สาว มักเป็นอาการที่ผู้ชายหนุ่ม ๆ แต่งตัวแล้วชวนเพื่อนกันเที่ยวเกี้ยวผู้หญิง เช่น นักเลงหนุ่มหนุ่มนั้น เที่ยวกรอ (พิธีทวาทศมาส), บางทีก็ใช้ว่า กรอผู้หญิง. | กระเจิดกระเจิง | ก. แตกหนีไปคนละทิศละทาง เช่น กองทัพข้าศึกถูกตีแตกกระเจิดกระเจิงไป, แตกหมู่เพ่นพ่านไป เช่น ฝูงวัววิ่งหนีกระเจิดกระเจิงไป, บางทีใช้ว่า กระเจอะกระเจิง. | กระเชา | น. ชื่อไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ชนิด Holoptelea integrifolia (Roxb.) Planch. ในวงศ์ Ulmaceae ขึ้นอยู่ทั่วไป ผลแบนบางเป็นปีกโดยรอบ เนื้อไม้สดสีเหลืองมะนาว เมื่อแห้งเป็นสีนวล แข็งพอประมาณ ใช้ในการก่อสร้างที่ไม่ต้องรับนํ้าหนักมากนัก ทำเครื่องเรือน แกนร่ม ก้านและกล่องไม้ขีดไฟ, บางทีเรียก กระเจา หรือ กระจาว, พายัพและปักษ์ใต้เรียก กระเจ้า ขจาว หรือ ขเจา. | กระด้าง ๑ | น. ชื่อถั่วชนิด Vigna unguiculata (L.) Walp. subsp. cylindrica (L.) Verdc. ในวงศ์ Leguminosae เมล็ดคล้ายถั่วดำ แต่สีค่อนข้างแดง ใช้เป็นอาหารได้อย่างถั่วดำ, บางทีเรียก ถั่วนา. | กระตั้วแทงเสือ | น. ชื่อการเล่นชนิดหนึ่งของชาวบ้าน ประกอบขบวนแห่ทั่วไป, บางทีเรียก บ้องตันแทงเสือ. | กระทุ | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Rhodomyrtus tomentosa (Aiton) Hassk. ในวงศ์ Myrtaceae ขึ้นชุมตามป่าโปร่งทางปักษ์ใต้ ใบหนา สีเขียวแก่ ออกเป็นคู่ ๆ ตามกิ่ง บางทีออกเป็น ๓ ใบจากข้อเดียวกัน ด้านล่างของใบมีขนทึบสั้น ๆ ดอกสีชมพู สัณฐานคล้ายกุหลาบลาขนาดเล็ก ๆ ออกตามง่ามใบ ดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อ ๒-๓ ดอกก็มี ผลกลม เมื่อสุกสีม่วงดำ กินได้ มีรสหอมหวาน, ทุ พรวด พรวดใหญ่ หรือ พรวดกินลูก ก็เรียก. | กระเทือน | ก. มีอาการสั่นไหวเพราะถูกกระทบ เช่น นั่งรถที่แล่นไปตามทางขรุขระก็รู้สึกกระเทือน เสียงระเบิดทำให้บ้านกระเทือน, โดยปริยายหมายความว่า เป็นทุกข์กังวล เช่น เขาว่าลูกก็กระเทือนไปถึงแม่ ใครจะว่าอย่างไร ๆ ก็ไม่กระเทือน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ กระทบ เป็น กระทบกระเทือน, สะเทือน ก็ว่า. | กระสุนปืน | น. ลูกปืน, บางทีก็เรียก กระสุน หรือ ลูกกระสุน. | กระหมิบ | ว. บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ กระหมุบ เป็น กระหมุบกระหมิบ. | กระอั้วแทงควาย | น. ชื่อการเล่นชนิดหนึ่งในการสมโภชของหลวง, บางทีเรียก กระอั้ว ว่า นางอั้ว เช่น นางอั้วเพ่งผัวเอน ควายเสี่ยว (สาส์นสมเด็จ). | กร่ำกรุ่น | (กฺรํ่ากฺรุ่น) ว. สีมัว ๆ ไม่ชัด, บางทีเขียนเป็น กร้ำกรุ่น ก็มี เช่น ลางพวกก็นุ่งห่มเปนแต่ศรีกร้ำกรุ่นอำปลัง (สามดวง). | กรีธาพล | ก. เคลื่อนพล, ยกพล, บางทีเขียนเป็น กรีพล ก็มี เช่น ให้เรานี้กรีพลออกเดินไพร (อิเหนา). | กลิ่น ๑ | (กฺลิ่น) น. สิ่งที่รู้ได้ด้วยจมูก คือ เหม็น หอม และอื่น ๆ, บางทีใช้หมายความว่า เหม็น เช่น แกงหม้อนี้เริ่มมีกลิ่น, โดยปริยายหมายความว่า ลักษณะไม่น่าไว้วางใจ เช่น เรื่องนี้ชักมีกลิ่น การประมูลครั้งนี้เริ่มส่งกลิ่น. | กเลวระ | (กะเลวะระ) น. ซากศพ เช่น ถึงกระนั้นก็จะพบพานซึ่งกเลวระร่าง มิเลือดก็เนื้อจะเหลืออยู่บ้างสักสิ่งอัน (ม. ร่ายยาว มัทรี), บางทีใช้ว่า กเฬวราก หรือ กเฬวรากซากศพ ก็มี. | กเฬวราก | (กะเลวะราก) น. ซากศพ, บางทีใช้เข้าคู่กันเป็น กเฬวรากซากศพ, เขียนเป็น กเฬวราก์ ก็มี เช่น เผากเฬวราก์ผู้อนาถ (มาลัยคำหลวง). | กะแท้ | น. ชื่อแมลงพวกมวนหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Cydnidae ลำตัวยาว ๔-๑๒ มิลลิเมตร รูปร่างรูปไข่ ส่วนใหญ่มีสีนํ้าตาลแก่อมดำหรือดำ มักบินเข้าหาแสงไฟ เมื่อจับต้องตัวจะปล่อยกลิ่นฉุนเหม็นติดมือ บางทีคล้ายกลิ่นอุจจาระของคน ที่พบบ่อย ได้แก่ ชนิด Geotomus pygmaeus (Dallas). | กะหลาป๋า ๑ | บางทีเขียนเป็น กาหลาป๋า เช่น มีพระคลังพิมานอากาษไว้กระจกเทศพรมเทศ เครื่องแก้วมาแต่เทศกาหลาป๋า ๑ (คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม) | กัป | (กับ) น. อายุของโลกตั้งแต่เมื่อพระพรหมสร้างเสร็จจนถึงเวลาที่ไฟประลัยกัลป์ มาล้างโลก, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ กัลป์ เช่น ชั่วกัปชั่วกัลป์ นานนับกัปกัลป์พุทธันดร. (ป. กปฺป; ส. กลฺป). (ดู กัลป-, กัลป์). | กัลป-, กัลป์ | (กันละปะ-, กัน) น. กัป, อายุของโลกตั้งแต่เมื่อพระพรหมสร้างเสร็จจนถึงเวลาที่ไฟประลัยกัลป์มาล้างโลก ซึ่งได้แก่ช่วงเวลากลางวัน วันหนึ่งของพระพรหม คือ ๑, ๐๐๐ มหายุค (เท่ากับ ๔, ๓๒๐, ๐๐๐, ๐๐๐ ปีมนุษย์) เมื่อสิ้นกัลป์ พระอิศวรจะล้างโลกด้วยไฟประลัยกัลป์ โลกจะไร้สิ่งมีชีวิตและอยู่ในความมืดมนจนถึงรุ่งเช้าของวันใหม่ แล้วพระพรหมก็จะสร้างโลกเป็นการขึ้นต้นกัลป์ใหม่ โลกจะถูกสร้างและถูกทำลายเช่นนี้สลับกันตลอดอายุของพระพรหม ทั้งนี้ตามคติของพราหมณ์, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ กัป เช่น ชั่วกัปชั่วกัลป์ นานนับกัปกัลป์พุทธันดร. | ก่าย | ก. พาด, พาดไขว้กัน, เช่น เอาฟืนก่ายกัน, พาดเกยอยู่หรือค้างอยู่ เช่น เอามือก่ายหน้าผาก นอนเอาขาก่ายกัน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ เกย เป็น ก่ายเกย หรือ เกยก่าย. | การ์ตูน ๑ | น. ภาพล้อ, ภาพตลก, บางทีเขียนเป็นภาพบุคคล บางทีเขียนเป็นภาพแสดงเหตุการณ์ที่ผู้เขียนตั้งใจล้อเลียนจะให้ดูรู้สึกขบขัน, หนังสือเล่าเรื่องด้วยภาพเขียน ซึ่งแบ่งหน้ากระดาษเป็นช่อง ๆ มีคำบรรยายสั้น ๆ อ่านง่าย เนื้อเรื่องมักเป็นนิทานหรือนวนิยาย. | กิดาการ | น. อาการเล่าลือ, เสียงสรรเสริญ, ข่าวเลื่องลือ, บางทีเขียนเป็น กิฎาการ ก็มี เช่น แห่งเออกอึงกิฎาการ (ตะเลงพ่าย). | กิ๋ว ๑, กิ๋ว ๆ | ว. เสียงร้องเยาะเย้ย, บางทีทำอาการกระดิกนิ้วชี้ตรงไปที่หน้าผู้ที่ถูกเย้ย, กุ๋ย หรือ กุ๋ย ๆ ก็ว่า. | กุ๋ย, กุ๋ย ๆ | ว. เสียงร้องเยาะเย้ย, บางทีทำอาการกระดิกนิ้วชี้ตรงไปที่หน้าผู้ที่ถูกเย้ย, กิ๋ว หรือ กิ๋ว ๆ ก็ว่า. | กุหร่า | (-หฺร่า) น. สีเทาเจือแดง บางทีกระเดียดเหลืองเล็กน้อย เป็นสีชนิดสักหลาด. | เกลียด | (เกฺลียด) ก. ชัง, รังเกียจมาก, ไม่ชอบจนรู้สึกไม่อยากพบอยากเห็นเป็นต้น, บางทีใช้คู่กับคำ ชัง เป็น เกลียดชัง. | เกลือก ๒ | (เกฺลือก) สัน. หาก, ถ้า, แม้, บางที, เผื่อว่า, มักใช้ว่า เกลือกว่า เช่น แม่อย่าสามานย์ด้วยวาจา มันจะตามถ้อยคำเข้ามาประสมประสาน เกลือกว่าเหยื่อมันสาธารณ์แม่จะอดสู (ม. ร่ายยาว ชูชก). | เกี้ยว ๑ | ผ้าคาดเอวสำหรับขุนนาง เรียกว่า ผ้าเกี้ยว เช่น เกี้ยวลาย คือผ้าคาดเอวที่มีลาย (บางทีเข้าใจกันว่าเป็นผ้านุ่งอย่างหนึ่ง). | แก้วมรกต | น. ชื่อโรคซางละอองเป็นฝ้าบาง ๆ ที่ขึ้นตามลิ้นและในปาก มีสีเขียวดังสีใบไม้ กระทำให้หน้าเขียว บางทีก็เหลืองหรือดำ ลิ้นกระด้าง คางแข็ง มือกำ เท้างอ. | ขง | น. กรุง, บางทีเขียนเป็น โขง. | ข้าวจี่ ๑ | น. ข้าวเหนียวนึ่งนวดกับเกลือปั้นเป็นก้อน เสียบไม้ปิ้งไฟ บางทีใส่น้ำอ้อยงบข้างใน ทาไข่แล้วปิ้งไฟ. | ข้าวต้มมัดไต้ | น. ข้าวเหนียวผัดใส่ไส้ถั่วทองโขลกละเอียด ผัดกับพริกไทย เกลือ บางทีใส่มันหมู ห่อด้วยใบตองเป็นรูปยาว ๆ แล้วมัดด้วยตอกเป็นเปลาะ ๆ คล้ายไต้ ต้มให้สุก. | ข้าวราดหน้าไก่ | น. ข้าวสุกราดหน้าด้วยผัดน้ำข้น ใส่ไก่ เห็ด หน่อไม้ บางทีโรยด้วยกุนเชียงหั่นทอดกรอบ. | ขี้คร้าน | ก. เชื่อว่าเป็นเช่นนั้น (ใช้ในความประชดประชัน) เช่น พอให้เงินเข้าหน่อย ขี้คร้านรีบทำเสียอีก, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ จะ เป็น ขี้คร้านจะ เช่น พอยอเข้าหน่อย ขี้คร้านจะทำให้ทุกอย่าง, ขี้เกียจจะ ก็ว่า. | ขี้ริ้ว | ว. ไม่สวย, ไม่งาม, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ขี้เหร่ เป็น ขี้ริ้วขี้เหร่. | ขี้เหร่ | ว. ไม่สวย, ไม่งาม, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ขี้ริ้ว เป็น ขี้ริ้วขี้เหร่. | ขี้กาแดง | น. ชื่อไม้เถาเนื้ออ่อนชนิด Trichosanthes tricuspidata Lour. ในวงศ์ Cucurbitaceae เถาเป็นเหลี่ยม มีมือเกาะแยกเป็น ๓ แฉก ใบใหญ่มน บางทีเป็น ๕ เหลี่ยม กลีบเลี้ยงสีแดง กลีบดอกสีขาวหรือขาวอมชมพู ผลกลมใหญ่ขนาดผลส้ม สุกสีแดง เมล็ดเป็นพิษเบื่อเมา, กระดึงช้างเผือก ก็เรียก. | ขี้เหล็ก | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Senna siamea (Lam.) Irwin et Barneby ในวงศ์ Leguminosae มักขึ้นตามริมนํ้าหรือป่าชื้น ดอกสีเหลืองดกเป็นช่อใหญ่ เนื้อไม้สีนํ้าตาลแก่หรือบางทีเกือบดำ มีลายเป็นเส้นสีแก่หรือสีอ่อนกว่าพื้น แข็ง เหนียว และหนักมาก ใช้ทำเครื่องเรือนและเครื่องใช้ต่าง ๆ ใบอ่อนและดอกกินได้. | เข็นครกขึ้นเขา, เข็นครกขึ้นภูเขา | ก. ทำงานที่ยากลำบากอย่างยิ่งโดยต้องใช้ความเพียรพยายามและอดทนอย่างมาก หรือบางทีก็เกินกำลังความสามารถหรือสติปัญญาของตน. |
| | สักการะ | บูชาด้วยสิ่งหรือเครื่องอันพึงบูชา เช่น ดอกไม้ ธูป เทียน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ บูชา เป็น สักการบูชา. (ป.; ส. สตฺการ) [ศัพท์พระราชพิธี] | Accession | การภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก [การทูต] | Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] | International Conferences | คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต] | Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] | amplitude modulation (AM) | ระบบเอเอ็ม, ในที่นี้ให้แปลว่า ระบบเอเอ็ม ตามคำศัพท์ในหนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ มัธยมศึกษาตอนปลาย คำศัพท์นี้ในหนังสือเรียนเล่มอื่นบางทีแปลว่า การผสมคลื่นทางแอมพลิจูด ในพจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน คำว่า modulation แปลว่า การกล้ำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | convex lens | เลนส์นูน, เลนส์ที่ทำให้ลำแสงขนานลู่เข้า มีลักษณะหนาตรงกลางและบางที่ขอบ แว่นตาที่เป็นเลนส์นูนจะช่วยคนสายตายาวมองเห็นวัตถุชัดเจนขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | composed fertillizer | ปุ๋ยหมัก, ปุ๋ยคอก, ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Membranes, Serosa | แผ่นเยื่อบางที่หุ้มอวัยวะ [การแพทย์] | Mucous-Secreting Membrane | แผ่นเนื้อเยื่อบางที่ทำหน้าที่หลั่งน้ำเมือก [การแพทย์] |
| Maybe. | บางที The Godfather (1972) | Perhaps. | บางที Le Morte d'Arthur (2008) | Maybe. | บางที Frost/Nixon (2008) | Perhaps. | บางที We All Fall Down (2012) | Perhaps. | บางที IV. (2014) | Maybe. | บางที Pilot (2015) | But sometimes they are. | แต่บางทีก็เป็น . The Young Indiana Jones Chronicles (1992) | Perhaps you would like to hear the tale? | บางที คุณคงจะชอบหากได้ฟังเรื่องเล่านี้ Aladdin (1992) | Then maybe I don't want to be a princess anymore! | ถ้าเช่นนั้น บางทีลูกก็ไม่อยากจะเป็นเจ้าหญิงหรอก! Aladdin (1992) | Now then, perhaps I can divine a solution to this thorny problem. | เอาละ บางทีข้าอาจมีทางแก้อุปสรรคเหล่านี้ Aladdin (1992) | But together, perhaps we can be more. | บางที เราคงเป็นได้มากกว่านี้ ข้ากำัลังฟังอยู่ Aladdin (1992) | Hey, wait a minute.Don't go. | เฮ้ รอซักครู่ อย่าเพิ่งไป บางทีเจ้าอาจช่วยเราได้ Aladdin (1992) | I'm sorry, Abu--I made a mess of everything...somehow. I gotta go back and set things right. | ฉันเสียใจ อาบู ฉันทำทุกอย่างพังหมด บางที่ ฉันคงต้องกลับไปและทำให้ทุกอย่างถูกต้อง Aladdin (1992) | Perhaps you'd like to see how snake-like I can be! | บางที เจ้าควรเห็นว่า ข้าเป็นงู ได้แค่ไหน Aladdin (1992) | Maybe Dr. Glass is right and we should be alone for this. | บางที ดร. กลาส พูดถูก เราน่าจะอยู่ลำพังสำหรับเรื่องนี้ Basic Instinct (1992) | Maybe I like to just sit back and get other people to reveal themselves. | บางทีฉันอาจจะชอบนั่งดู คนอื่นเปิดเผยตัวตนออกมา Basic Instinct (1992) | Maybe one of these days we can discuss it. | บางทีซักวันนึง เราคงได้หารือกันเรื่องนี้ Basic Instinct (1992) | I don't know. More fun maybe. | ไม่รู้สิ บางทีอาจจะสนุกกว่า Basic Instinct (1992) | Perhaps that's why she has eight arms to fend them off. | บางที นั่นคือเหตุผลที่เธอมี 8 แขน เพื่อปัดเป่าพวกเขา Basic Instinct (1992) | Maybe I'm acting out your unconscious impulses. | บางที ฉันกำลังแกล้งทำเป็นโง่อยู่ก็ได้ Basic Instinct (1992) | But then again, maybe I killed him. | แต่กระนั้น บางทีผมได้ฆ่าเขา Basic Instinct (1992) | Maybe we can bail him out with a check. | บางทีเราอาจประกันตัวเขาออกมาก็ได้นะ Jumanji (1995) | It's just a story, doctor. Or maybe I really am omnipotent. | มันเป็นแค่นิยาย คุณหมอ หรือ บางที ฉันเป็นผู้มีอำนาจจริงๆ Basic Instinct (1992) | Perhaps I could get a guide from amongst your lads. | บางทีกระผมอาจ ต้องขอคนนำทางจากบรรดาคนของคุณ Wuthering Heights (1992) | Perhaps she should stay here for awhile. | บางทีหล่อนควรอยู่ ที่นี้สักพัก Wuthering Heights (1992) | Perhaps you came into your inheritance? | บางทีคุณอาจ ได้รับมรดกแล้วกระมัง Wuthering Heights (1992) | Perhaps Uncle Edgar has forbidden you to visit Wuthering Heights. | บางทีท่านลุงเอ็ดการ์ คงได้ห้ามไม่ให้เธอ มาเยี่ยมเวธเตอริง ไฮตส์ Wuthering Heights (1992) | Then maybe it shouldn't. | บางทีมันอาจไม่ควรเริ่ม The Lawnmower Man (1992) | Sometimes Curley's in here. | บางทีเคอร์ลีย์ก็อยู่ในนี้นะ Of Mice and Men (1992) | Maybe everybody in the whole damn world's scared of each other. | บางทีคนทุกคนในโลกบูดเบี้ยวใบนี้ ต่างหวาดระแวงซึ่งกันและกัน Of Mice and Men (1992) | Maybe George come back already. Maybe I better go see. | บางทีจอร์จอาจจะกลับมาแล้ว บางทีฉันควรไปดู Of Mice and Men (1992) | And maybe I oughtn't to. | บางทีฉันไม่ควรจะเล่าเลย Of Mice and Men (1992) | Maybe if you took this pup and you throwed him away, then George would never know and I'd get to tend them rabbits with no trouble. | บางทีถ้าเธอเอาลูกหมาตัวนี้ไป เธอโยนมันทิ้ง จอร์จก็จะไม่มีทางรู้ และฉันก็จะเลี้ยง พวกกระต่ายได้ โดยไม่มีปัญหาอะไร Of Mice and Men (1992) | Curley, maybe you'd better stay here with your wife. | เคอร์ลีย์ บางทีคุณน่าจะอยู่กับเมียนะ Of Mice and Men (1992) | When is "sometimes"? | บางที ตอนไหนเหรอ? The Cement Garden (1993) | Now maybe you haven't noticed, but we aren't exactly winning any popularity contests here. | บางทีพวกนายคงลืมไปนะ เรายังไม่ได้ชนะอะไรเลย Cool Runnings (1993) | And perhaps there's gold in two generations of this family. | และบางที อาจจะเป็นเหรียญทองที่ 2 ของครอบครัวนี้ Cool Runnings (1993) | Maybe you could learn to breathe through your nose. | บางทีฉันอาจจะสอนนาย ให้หายใจก็ได้ Hocus Pocus (1993) | - Perhaps it is not too deep. | - บางทีมันอาจจะไม่ลึกมาก. Hocus Pocus (1993) | Maybe there's a way in here to take it off. | บางทีในนั้น. อาจจะมีวิธีแก้ Hocus Pocus (1993) | - Maybe we should go now. | - บางทีพวกเราต้องไปแล้วล่ะ. Hocus Pocus (1993) | Maybe they didn't notice. | บางที... พวกเขาอาจจะสังเกตไม่เห็นก็ได้ The Joy Luck Club (1993) | Maybe I don't go. | บางทีแม่ไม่ไปดีกว่า The Joy Luck Club (1993) | - Maybe I don't go to your wedding. | - บางทีแม่ไม่ไปงานแต่งของลูกจะดีกว่า The Joy Luck Club (1993) | - Oh, don't be ridiculous. - Maybe already ridiculous. | - อย่าทำตัวน่าหัวเราะสิคะ + บางทีมันอาจจะน่าหัวเราะอยู่แล้วก็ได้ The Joy Luck Club (1993) | Maybe it is because she was born to me and she was born a girl. | บางทีมันอาจจะเป็นเพราะเธอเกิดมาจากแม่ แล้วก็เกิดมาเป็นเด็กผู้หญิงก็เป็นได้ The Joy Luck Club (1993) | Maybe when they see picture of Mom so young, so beautiful, they can still remember her. | บางทีตอนที่พวกเขาได้เห็นรูปของแม่... ตอนยังสาว ยังสวย พวกเขาอาจจะยังจำเธอได้ The Joy Luck Club (1993) | 'Twas a long time ago, longer now than it seems... in a place that perhaps you've seen in your dreams. | นานมาแล้ว ... นานมากกว่าที่เคยเป็น ในที่ที่หนึ่ง ซึ่งบางทีคุณอาจจะพบได้แค่ในฝัน The Nightmare Before Christmas (1993) | Perhaps it's the head that I found in the lake | บางทีอาจจะเป็นหัวที่ฉันเจอที่ทะเลสาบก็ได้นะ The Nightmare Before Christmas (1993) | Or sometimes it's filled with small toys - Small toys | หรือบางทีก็จะมีของเล่นชิ้นเล็กๆ / ของเล่นชิ้นเล็กๆ The Nightmare Before Christmas (1993) |
| บางที | [bāngthī] (adv) EN: sometimes FR: quelquefois ; parfois | บางที | [bāngthī] (adv) EN: perhaps ; maybe ; probably FR: peut-être |
| newbie | ผู้ไร้ประสบการณ์, มือใหม่, ในแวดวงคนเล่นเกมคอมพิวเตอร์บางทีแผลงเป็น n00b | glory lily | ดองดึง หรือบางที่เรียกว่า ดอกก้ามปูนา มีชื่อวิยาศาสตร์ว่า Gloriosa superba (ชื่อวิทยาศาตร์ต้องเขียนด้วยตัวเอียงหรือขีดเส้นใต้เท่านั้น) Image: |
| belike | (adv) บางที, See also: อาจจะ, มีท่าทางว่า, Syn. probably, perhaps | daresay | (vi) เดาว่า, See also: บางที | hairsbreadth | (adj) แคบที่สุด, See also: บางที่สุด, น้อยที่สุด | hair's-breadth | (adj) แคบที่สุด, See also: บางที่สุด, น้อยที่สุด | haply | (adv) บางที (คำโบราณ), See also: อาจจะ, Syn. maybe, perhaps | maybe | (adv) บางที, See also: อาจจะ, เป็นไปได้, Syn. perhaps, possibly, Ant. definitely | occasionally | (adv) บางครั้งบางคราว, See also: บางที, บางครั้ง, บางโอกาส, Syn. now and then, at times, Ant. frequently, often | pan | (n) แผ่นน้ำแข็งแบนและบางที่ลอยอยู่ | peradventure | (adv) อย่างไม่แน่นอน, See also: อาจเป็นไปได้, บางที, อาจจะ, Syn. haply, mayhap | perchance | (adv) อาจจะ, See also: บางที, โดยบังเอิญ, Syn. perhaps, maybe, Ant. definitly | perhaps | (adv) บางที, See also: อาจเป็นได้, อย่างเป็นไปได้, Syn. maybe, possibly | possibly | (adv) อาจจะ, See also: บางที, โดยบังเอิญ, อาจเป็นไปได้, Syn. perhaps, by chance, maybe | remand to | (phrv) ส่งไป (บางที่) เพื่อคอยการพิจารณาคดี) | sleet | (n) แผ่นน้ำแข็งบางที่ปกคลุมตามพื้นหรือต้นไม้ | sometimes | (adv) บางครั้ง, See also: บางคราว, บางครั้งบางคราว, บางที, บางโอกาส | spangle | (n) แผ่นโลหะเล็กบางที่แวววาว, See also: เครื่องประดับแววววว, Syn. glitter, jewel | tissue | (n) กระดาษบางที่ใช้ห่อหุ้ม |
| ablins | (เอ' บลินซ) adv. บางที., Syn. ablings, aiblins perhaps | access time | ช่วงเวลาเข้าถึง (ข้อมูล) หมายถึง เวลาที่ใช้ในการที่หัวอ่าน (บางทีเรียกหัวเข็ม) ของหน่วยบันทึกจะสามารถอ่านแฟ้มข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล เช่น จากจานบันทึก หรือฮาร์ดดิสก์ หากใช้เวลาเข้าถึงข้อมูลน้อย ก็หมายความว่า อ่านได้เร็ว ดู direct access, indirect access, random access, sequential access, immediate access ประกอบ | adapter | (อะแดพ' เทอะ) n. บุคคลหรือสิ่งที่ปรับตัว, เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่เชื่อมส่วนที่มีขนาด่หรือแบบแตกต่างกันให้เข้ากันได้, อุปกรณ์. ตัวปรับต่อตัวปรับแผงวงจร (card) ที่มีสายไฟเชื่อมระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อให้ใช้ด้วยกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ ถ้าผิดขนาด ผิดรุ่นกัน จะต้องมี "ตัวปรับต่อ" เพื่อให้ใช้ด้วยกันได้ บางทีอาจเสียบไว้ในช่องเสียบ (expansion slot) เลยก็ได้ | archived file | (อา-ไคว์ไฟล์) แฟ้มเก็บถาวร หมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ เป็นลักษณะของแฟ้มข้อมูลชนิดแฟ้มข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ read only, system archive และ hidden (บางทีใช้ archive เฉย ๆ ก็ได้) | ascii file | แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล | automated office | สำนักงานอัตโนมัติหมายถึงสำนักงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน เช่น การเก็บข้อมูล การพิมพ์เอกสาร ฯ บางทีใช้ office automation | backspace key | ปุ่มย้อนถอยหลัง <คำแปล>เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ บางทีมีขนาดยาวกว่าแป้นพิมพ์อื่น บางทีมีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรหันหัวลูกศรไปทางซ้าย (บางทีมีคำ BS) โปรแกรมสำเร็จหลายโปรแกรมกำหนดไว้ว่า การกดแป้นนี้ทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ถอยไปทางซ้าย 1 ตัวอักษร และลบตัวอักษรทางซ้ายนั้นออกให้ด้วย | belike | (บิไลคฺ') adj. บางที, อาจจะ | bytes per inch | ไบต์ต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า BPI เป็นหน่วยวัดความจุของตัวอักขระในเทปหรือแถบบันทึก (tape) หมายความว่า ขนาดความยาวของแถบบันทึก 1 นิ้ว จะบรรจุตัวอักขระได้เท่าใดอาจต่างกันได้ตั้งแต่ 200 ถึง 1600 ไบต์ต่อนิ้ว และอาจมีการปรับให้มากหรือน้อยกว่านั้นก็ได้ (บางทีใช้กับความยาวของแทร็กของพื้นผิวของจานบันทึก (disk) ด้วย | cache | (แค?) { cached, caching, caches } n. ที่ซ่อน, ที่เก็บ, สิ่งที่ซ่อนไว้ vt. ซ่อน, เก็บ หน่วยความจำแคชหมายถึง ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก ในการโฆษณาขายเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ มักจะมีบ่งบอกไว้ด้วยเสมอว่า หน่วยความจำแคชนี้มีขนาดความจุเท่าใด เช่น 256 K cache เป็นต้น เพราะเป็นการแสดงถึงประสิทธิภาพของเครื่องอย่างหนึ่ง บางทีเรียก cache memory | card code | รหัสบัตรหมายถึง รหัสที่ใช้กับบัตร มีลักษณะเป็นรูสี่เหลี่ยมที่เจาะในแต่ละคอลัมน์ของบัตร เช่น ถ้าเจาะตำแหน่งคอลัมน์ที่ 12 และ 1 หมายถึงอักษร A ถ้าเจาะที่ตำแหน่งคอลัมน์ที่ 0 และ 9 หมายถึงอักษร Z เป็นต้น รหัสนี้บางทีเรียกรหัสฮอลเลอริท (Hollerith code) เพราะดร. เฮอร์แมน ฮอลเลอริท (Dr. Hermann Hollerith) เป็นผู้กำหนดไว้ ดู card ประกอบ | card hopper | ที่พักบัตรหมายถึง ส่วนหนึ่งของเครื่องอ่านบัตรหรือเครื่องเจาะบัตร (keypunch) เป็นที่ซึ่งบัตรที่เจาะข้อมูลไว้เรียบร้อยแล้ว มาหยุดรอให้คอมพิวเตอร์เรียกไปอ่าน หรือบัตรที่ยังไม่ได้เจาะ มารอเรียกไปเจาะบางทีใช้ hopper คำเดียวสั้น ๆ ก็ได้ ดู card reader และ keypunch ประกอบ | cartridge | (คาร์'ทริจฺ) 1. n. กระสุนปืน, ลูกกระสุน, ลำกล้องดินระเบิด, ภาชนะใส่ของเหลวหรือแก๊ส, ที่ม้วนเทป 2. อาจเป็นได้ทั้งตลับเทปหรือกล่อง ใช้เก็บข้อมูล ปัจจุบัน ไม่ค่อยนิยมใช้ บางทีใช้เป็นที่บรรจุเกมส์ต่าง ๆ เรียกว่า game cartridge ส่วน font cartridge หมายถึง ตลับที่ใช้เก็บแบบตัวอักษรสำหรับใส่ในเครื่องพิมพ์บางชนิด ถ้าใช้กับเครื่องพิมพ์หมายถึงที่ใส่หมึกสำหรับพิมพ์ เรียกว่า toner cartridge | chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | color palette | บัญชรสีหมายถึง วินโดว์ที่มีสีต่าง ๆ ให้เลือกกด บางทีก็มีแต่ชื่อสี บางทีก็มีตัวอย่างสีให้เห็น หรือบางทีก็มีให้ทั้งสองอย่าง | compile time | เวลาแปลโปรแกรมบางทีใช้ compilation time หมายถึงระยะเวลาที่เครื่องใช้ในการแปลโปรแกรมแต่ละโปรแกรมก่อนที่จะลงมือทำตามคำสั่งในโปรแกรมนั้นดู compile ประกอบ | computer hacker | นักเลงคอมพิวเตอร์เซียนคอมพิวเตอร์หมายถึง ผู้ที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์จนเชี่ยวชาญ บางทีเรียกว่า เซียนคอมพิวเตอร์ หรือนักเลงคอมพิวเตอร์ | computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล | computer personnel | บุคลากรคอมพิวเตอร์หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ หรือทำงานในศูนย์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ผู้จัดการ นักวิเคราะห์ระบบ วิศวกรคอมพิวเตอร์ นักเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ผู้ควบคุมเครื่อง พนักงานเตรียมข้อมูล ๆ บางทีเรียกรวม ๆ ว่า นักคอมพิวเตอร์ (computerese) หรือ peoplewareมีความหมายเหมือน liveware | computer security | ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้สามารถดึงข้อมูล ซึ่งบางทีเป็นความลับออกมาดู หรือแอบนำไปเผยแพร่ได้ ฉะนั้น จึงต้องมีการจัดระบบความปลอดภัย ส่วนใหญ่ใช้รหัส ซึ่งจะทำให้ทุกคนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งหมดได้ เราอาจอนุญาตเฉพาะคนบางคน หรือกลุ่มคนบางคน ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยต้องรู้รหัส ฉะนั้นในขณะที่มีการสร้างฐานข้อมูล ก็ควรคำนึงถึงเรื่องนี้ไว้ด้วย | computer user group | กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง กลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ บุคคลเหล่านี้มักจะรวมตัวกันเพื่อช่วยกันศึกษาวิธีการใช้ซอฟต์แวร์และเครี่องคอมพิวเตอร์ให้ได้ประโยชน์สูงสุด บางทีก็จะแบ่งย่อยลงไปเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เฉพาะผู้ที่มีความสนใจใกล้เคียงกันจริง ๆ เช่นแบ่งไปตามชนิดของเครื่องที่ใช้ (พีซี/แมคอินทอช) หรือตามประเภทของโปรแกรมที่ใช้ เช่น ประมวลผลคำ (word processing) , ตารางจัดการ (spreadsheet) บางที ใช้เรียกเพื่อให้ดูต่างจากกลุ่มผู้ที่ขายคอมพิวเตอร์ดู computer vendor group เปรียบเทียบ | confectioner | (คันเฟค'เชินเนอะ) n. คนทำหรือขายลูกกวาด (บางทีรวมทั้งไอศกรีม/ขนมเค็กและอื่น ๆ) | consomme | (คอนซะเม') n. ซุปเนื้อน้ำใสที่ประกอบด้วยเนื้อ/กระดูก (บางทีก็มีผัก) , น้ำซุป | control card | บัตรควบคุมหมายถึง บัตรซึ่งบรรจุข้อความที่เป็นภาษาควบคุมงานซึ่งได้มีการกำหนดไว้เป็นรหัสเป็นการเฉพาะ เพื่อใช้ในโอกาสต่าง ๆ กัน หรือใช้กับงานชนิดต่าง ๆ เช่น บัตรควบคุม อาจจะเป็นตัวบอกว่า โปรแกรมหรือชุดคำสั่งชุดต่อไปจะเป็นภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล หรือภาษาอื่น ๅ บัตรควบคุมอาจทำให้รู้ได้ว่างานนี้เป็นงานของนิสิต หรือเป็นงานของนักวิจัยทั่วไป เพราะบางทีอาจมีการกำหนดข้อห้ามบางอย่างสำหรับงานของนิสิตไว้ในระบบ ปัจจุบัน ไม่ค่อยมีการใช้บัตรแล้ว คำนี้จึงไม่มีที่ใช้ไปด้วยดู card (บัตร) | cursor | ตัวชี้ตำแหน่งในระบบดอส หมายถึง สัญลักษณ์บนจอภาพที่มักจะมีแสงวาบ ๆ บางทีเรียกว่า "ตัวกระพริบ" เพื่อชี้ให้รู้ว่า ตำแหน่งของการพิมพ์อักขระตัวต่อไปจะอยู่ที่ใด ในระบบ วินโดว์ตัวชี้ตำแหน่งจะมีลักษณะเป็นรูปลูกศร แต่ในโปรแกรมบางโปรแกรม อาจมีรูปลักษณ์เป็นอย่างอื่น เช่น กากบาท มือ ฯ | cursor key | แป้นควบคุมตัวชี้ตำแหน่งหมายถึง แป้นพิมพ์ที่สามารถเคลื่อนย้ายตัวชี้ตำแหน่งไปในทิศทางที่ต้องการ เช่นแป้นลูกศร, แป้น PageUp, PageDn เป็นต้น บางทีเรียก arrow keys หรือ cursor movement keys | data base | ฐานข้อมูลหมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนเป็นคำเดียวกันว่า database | data packet | กลุ่มข้อมูลกลุ่มหมายถึง ข้อมูลจำนวนหนึ่งหรือหน่วยหนึ่งที่มีความสัมพันธ์เป็นเรื่องราวเดียวกัน ใช้ในเรื่องของการสื่อสารข้อมูล (data communication) เช่น packet switching บางทีใช้ packet เฉย ๆ ก็ได้ | data set | ชุดข้อมูลหมายถึง การนำข้อมูลมาจัดเป็นชุด ให้ถูกต้องตามลักษณะโครงสร้างข้อมูล พอเพียงที่จะนำไปใช้ประมวลผลได้ บางทีใช้มีความหมายเหมือนแฟ้มข้อมูล (file) | data transfer | การถ่ายโอนข้อมูลหมายถึง การเคลื่อนย้ายข้อมูลจากที่เก็บในตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง หรืออาจหมายถึงการย้ายที่เก็บจากสื่อเก็บหนึ่งไปอีกสื่อหนึ่งก็ได้ หรือบางทีอาจหมายถึง การย้ายข้อมูลจากโปรแกรมหลัก (master program) ไปทำงานยังโปรแกรมย่อย (subprogram) | database | หมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนแยกกัน เป็น data base ก็มี | delicacy | (เดล'ละคะซี) n. ความละเอียดอ่อน, ความประณีต, ความอ่อนช้อย, คุณสมบัติที่แตกง่าย, ความบอบบางที่ต้องใช้ความระมัดระวัง, ความอ่อนแอ, ความแคล่วคล่อง, ความยากที่จะจัดการ, ความลำบาก., Syn. modesty | diskette | แผ่นบันทึกหมายถึง จานบันทึกขนาดเล็ก เฉพาะที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ มีลักษณะอ่อน จึงเรียกว่า แผ่นบันทึก บรรจุไว้ในซองกระดาษ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูล เช่นเดียวกับจานบันทึกแม่เหล็ก ที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน มีขนาด 5.25x5.25 นิ้ว มีความจุประมาณ 360 เคไบต์ (K byte) หรือ 360, 000 ตัวอักษร และ 1.2 เมกะไบต์ หรือ หนึ่งล้านสองแสนตัวอักษร บางทีเรียกกันว่า floppy disk นอกจากนั้น มีขนาด 3.5x3.5 นิ้ว บรรจุอยู่ในซองที่แข็งกว่า มีความจุประมาณ 720 เคไบต์ และ 1.44 เมกะไบต์ หรือ หนึ่งล้านสี่แสนตัวอักษร ในปัจจุบัน อาจใช้เก็บข้อมูลได้ทั้งสองหน้า ทำให้บรรจุข้อมูลได้มาก (เดิมบรรจุข้อมูลได้หน้าเดียว) หรือบางทีอาจทำให้ข้อมูลเบียดอัดมากขึ้น เรียกว่า double density (DD) ชนิดธรรมดาเรียกว่า single density (เดี๋ยวนี้ไม่มีแล้ว) และหากเก็บข้อมูลได้หน้าเดียว เรียกว่า single sided (SS) ซึ่งเดี๋ยวนี้ไม่มีแล้ว หากเก็บข้อมูลได้ทั้งสองหน้า เรียกว่า double sided (DS) แผ่นบันทึกชนิดที่มีความจุพิเศษ คือจุได้ถึง 1.2 ล้านตัวอักษรสำหรับแผ่น 5.25 นิ้ว และจุได้ 1.44ล้านตัวอักษรสำหรับแผ่น 3.5 นิ้ว เรียกว่า high density (HD) ดู disk ประกอบ | drag | (แดรก) { dragged, dragging, drags } vt. ลาก, ดึง, กวาด, คราด, เลื่อน, ลอก, นำเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามา, เอ้อระเหย, เฉื่อยชา vi. ถูกลากหรือดึงไปตาม, เลื่อนบนพื้นดิน, เคลื่อนอย่างอืดอาด, ล้าหลัง, ขุดลอก. n. เครื่องมือลาก, การลากอวน, คนที่น่าเบื่อที่สุด, สิ่งที่เบื่อที่สุด หมายถึง การใช้เมาส์ลากเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งบนจอภาพจากตำแหน่งเดิมไปยังตำแหน่งใหม่ บางทีใช้หมายถึงการ "ลากดำ" หรือ "ทำแถบสี" บนข้อความบางตอนเพื่อเป็นการบอกคอมพิวเตอร์ว่าได้เลือกข้อความนี้ไว้ แล้วจะใช้คำสั่ง cut หรือ copy ต่อไป | eighty column card | บัตร 80 คอลัมน์บัตรทำด้วยกระดาษ มีไว้ใช้สำหรับบรรจุข้อมูล โดยปกติจะต้องมีรูปร่างและขนาดตามมาตรฐานที่กำหนด (71/8 นิ้ว +31/4 นิ้ว) จะต้องทำด้วยกระดาษชนิดพิเศษที่มีความต้านทานความชื้นสูง และมีความต้านทานสูงต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในอากาศ ในการบรรจุข้อมูลนั้น ใช้วิธีเจาะรูตามคอลัมน์ของบัตรซึ่งจะมี 80 คอลัมน์ (จึงเรียกกันว่า บัตร 80 คอลัมน์) แต่ละคอลัมน์มี 12 แถว ในการเจาะนั้นรูหนึ่งรูในแต่ละคอลัมน์เป็นรหัสใช้แทนตัวเลข (0-9) และรูสองรูหรือมากกว่าในแต่ละคอลัมน์เป็นรหัสใช้แทนตัวอักษร (A-Z) หรือ อักขรพิเศษอื่น ๆ เมื่อใส่บัตรเข้าเครื่อง รูเหล่านี้จะถูกแปรงไฟฟ้าปัดผ่าน ทำให้เครื่อง สามารถอ่านข้อมูลเข้าไปได้ บัตรคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้กันมากคือ บัตรที่ ดร. เฮอร์แมน ฮอลเลอริท (Hermann Hollerith) แห่งบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) เป็นผู้คิดขึ้น บางทีจึงนิยมเรียกกันว่า บัตรไอบีเอ็ม (IBM card) หรือ บัตรฮอลเลอริท (Hollerith card) ดู card ประกอบ | electronically erasable p | electronically erasable programmable read only memory หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมและลบได้ด้วยกระแสไฟฟ้าใช้ตัวย่อว่า EEPROM (อ่านว่าอีอีพร็อม หรือบางทีอ่านว่า อีพร็อมก็ได้) เป็นชิป (chip) ชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติตามชื่อ ใช้เป็นหน่วยความจำ หากต้องการแก้ไข จะต้องใช้สัญญาณไฟฟ้าลบ แล้วบันทึกของใหม่ลงไป หน่วยความจำชนิดนี้จะเก็บข้อมูลไว้ได้แม้ว่าจะไม่ใช้ไฟฟ้า | elite | (อีลีท', เอลีท') n. ชั้นยอด, หัวกะทิ, บุคคลที่ยอดเยี่ยม, สิ่งที่ได้เลือกสรรแล้ว, กลุ่มอิทธิพล adj. ชั้นยอด, หัวกะทิ, เป็นส่วนที่ดีที่สุด, Syn. gentry อีลีต <คำอ่าน>เป็นศัพท์ที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ดีดมาก่อน หมายถึงขนาดความกว้างของตัวอักษรที่พิมพ์ได้ 12 ตัว ต่อ 1 นิ้ว บางทียังนำมาใช้เป็นคำสั่งให้เลือกบนเครื่องพิมพ์ว่าต้องการ ให้เป็นอีลีตหรือไพกา pica ซึ่งหมายถึงอักษรขนาด 10 ตัวต่อนิ้ว ดู pica ประกอบ | fetch | (เฟทชฺ) { fetched, fetching, fetches } vt. ไปเอามา, ไปหยิบมา, เอามา, นำมา, ทำให้มา, ขายได้, ได้, (สูดลมหายใจ) , ถอนใจ, ทำให้ (ตกลงมา) , นำกลับ, ทำให้เกิดขึ้น. vi. ไปเอามา, เคลื่อน, แล่นเรือ, เอากลับ. -n. การไปเอามา, อุบาย, แผนการ, เขตลมคลื่น., ผี, See also: fetch a breat ไปนำมาหมายถึงนำข้อมูลหรือคำสั่งจากหน่วยความจำเข้าไปใส่ไว้ในหน่วยประมวลผลกลาง CPU เพื่อทำการประมวลผล บางทีใช้หมายถึงการโอนย้ายข้อมูลจากสื่อ medium เข้าไปเก็บในหน่วยความจำ | fibonacci numbers | เลขไฟโบนาชชี่หมายถึง แบบแผนทางคณิตศาสตร์แบบหนึ่งที่กำหนดให้ จำนวนเลขลำดับที่สาม เป็นผลบวกของเลขสองตัวที่อยู่ลำดับ ก่อนหน้า เช่น 4, 8, 12, 20, 32..... (12 เป็นผลบวกของ 4 กับ 8 และ 20 เป็นผลบวกของ 8 กับ 12 เป็นดังนี้ไปเรื่อย ๆ) ใช้ได้ดีในการเขียนโปรแกรมบางโปรแกรม เพราะทำให้สามารถเข้าสู่จุดตำแหน่งที่ต้องการได้รวดเร็วขึ้น (บางทีเรียก fibonacci series หรืออนุกรมไฟโบนาชชี) | fifo | (ฟีโฟ, ไฟโฟ) ย่อมาจาก first in, first out แปลว่า "เข้าก่อนออกก่อน" ผู้เขียนโปรแกรมนำศัพท์คำนี้มาใช้ในเรื่องของ การส่งข้อมูล เข้าไปเก็บ บางทีเราต้องการให้เก็บแบบที่เข้าไปก่อน ก็ให้เรียกออกมาได้ก่อน บางที เราอาจต้องการให้เป็นแบบ "เข้าทีหลัง ออกก่อน" เพราะข้อมูลที่เข้าไปก่อนอยู่ลึกเข้าไป กว่าจะเรียกออกมาได้ ต้องรอจนข้อมูลที่เข้าไปทีหลังออกมา จนหมดเสียก่อน แบบหลังนี้เรียกว่า last in, first out ดู LIFO ประกอบ | find | (ไฟดฺ) { found, found, finding, finds } vt. พบ, ประสบ, หา, ได้รับ, จัดหา, ไปถึง, ตัดสิน, ชี้ขาด, บรรลุ, ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก, เห็นว่า, ตัดสิน, ชี้ขาด, ลงความเห็น., See also: find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ word processing เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล database management เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน record บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ directory ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย อยู่ใต้เมนู File มีความหมายเหมือน search | first in, first out | เข้าก่อนออกก่อนใช้ตัวย่อว่า FIFO อ่านว่า ฟีโฟ หรือไฟโฟ ผู้เขียนโปรแกรมนำศัพท์คำนี้มาใช้ในเรื่องของ การส่งข้อมูล เข้าไปเก็บ บางทีเราต้องการให้เก็บแบบที่เข้าไปก่อน ก็ให้เรียกออกมาได้ก่อน บางที เราอาจต้องการให้เป็นแบบ "เข้าทีหลัง ออกก่อน" เพราะข้อมูลที่เข้าไปก่อนอยู่ลึกเข้าไป กว่าจะเรียกออกมาได้ ต้องรอจนข้อมูลที่เข้าไปทีหลังออกมา จนหมดเสียก่อน แบบหลังนี้เรียกว่า last in, first out ดู last in, first out ประกอบ | fixed pitch | ช่องไฟเท่ากันหมายถึง การพิมพ์ตัวอักษรแต่ละตัวโดยกำหนดให้มีช่องไฟ กว้างเท่า ๆ กัน บางทีใช้คำว่า monospaced โดยปกติ จอภาพคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ดีด และเครื่องพิมพ์แบบจุด (dot matrix) ชนิดราคาถูก ๆ จะพิมพ์หรือให้ภาพตัวอักษรที่มี ความกว้างเท่ากันหมด ตรงข้ามกับคำ fixed pitch นี้ เราจะใช้คำว่า proportional pitch เครื่องพิมพ์ดี ๆ จะต้องปรับ ขนาดของตัวอักษรไม่ให้เท่ากัน เช่น ตัว I, L, T ไม่ควร จะกว้างเท่ากับ O, W, M ILT OWM | fixed storage | หน่วยเก็บข้อมูลที่เปลี่ยนไม่ได้หมายถึงสื่อที่เก็บข้อมูลครั้งหนึ่งแล้ว นำมาแก้ไขเปลี่ยนแปลงไม่ได้ หมายความว่า จะนำมาลบแล้วบันทึกใหม่อย่างจานบันทึกหรือแถบบันทึกไม่ได้ เมื่อนำมาบันทึกใหม่ไม่ได้ ส่วนมากจึงมักใช้บันทึกแฟ้มข้อมูลที่อ่านได้อย่างเดียว (read only) บางทีหมายถึงรอม (ROM) | flatbed scanner | เครื่องกราดภาพแบบระนาบหมายถึง เครื่องจับภาพ หรือบางทีก็นิยมเรียกทับศัพท์ว่า "เครื่องสแกนเนอร์ "เครื่องจับภาพแบบระนาบนี้ใช้ได้กับ กระดาษ ขนาดที่ไม่โตกว่า 8.5 x 11 นิ้ว โดยจับคว่ำหน้า ให้ด้านที่มีข้อความ หรือภาพที่ต้องการลงบนแผ่นกระจก ใช้คำสั่งจากคอมพิวเตอร์สั่งให้มีลำแสงผ่าน ก็จะมองเห็นภาพที่เหมือนกับภาพหรือข้อความที่เป็นต้นแบบบนจอภาพ ลักษณะการทำงานจะคล้ายกับเครื่องถ่ายเอกสาร ภาพที่ได้ มานี้ สามารถนำมาตบแต่งแก้ไขได้ จะเก็บลงจานบันทึก ในลักษณะ ของแฟ้มข้อมูล ก็ได้ จะสั่งพิมพ์ออกทางเครื่อง พิมพ์ หรือจะโอนไปแฟ้มข้อมูลอื่นก็ได้ | floppy disk | จานบันทึกอ่อนหมายถึง จานแบน ๆ ที่เคลือบสารแม่เหล็กไว้บนผิวหน้า ใช้สำหรับบันทึกข้อมูล ที่นิยมใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันนี้ มีอยู่สองขนาด คือขนาด 5.25 นิ้ว ซึ่งจะมีปลอก กระดาษหุ้ม กับขนาด 3.5 นิ้วซึ่งจะอยู่ในปลอกพลาสติก ทำให้แข็งและทนกว่า มีความจุในการบันทึกต่าง ๆ กัน ชนิดที่มีความหนาแน่นสองเท่า (double density) จะจุ 360 - 720 K (ประมาณ 360, 000 - 720, 000 ตัว อักขระ) ชนิดความหนาแน่นสูง (high density) จะจุ 1.2 - 1.44 เมกะไบต์ (ประมาณ 1.2 ล้าน - 1.4 ล้านตัวอักขระ) บางทีเรียก diskette เพื่อให้แตกต่างกับจานบันทึกที่ใช้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่เรียกว่า disk มีความหมายเหมือน diskette | fourth generation compute | คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่คอมพิวเตอร์ในยุคที่สี่นี้มีขนาดของหน่วยความจำเล็กกว่ายุคที่สามลงไปอีก มีการนำไอซี (IC หรือ integrated circuit) หรือวงจรเบ็ดเสร็จมารวมกันเป็นแผงใหญ่ ๆ เรียกว่าแผงวงจรรวมความจุสูง (large scale integrated circuit) หรือบางทีเรียกกันว่าชิป (chip) ทำให้สร้างคอมพิวเตอร์ได้เล็กลงมาก จึงทำให้เกิดมีไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) หรือพีซีขึ้น ราคาขายในท้องตลาดก็ลดลงได้มาก ทำให้เป็นที่นิยมอย่างรวดเร็วในหมู่คนทั่วไป ไม่เฉพาะแต่นักคอมพิวเตอร์ ต่อมาปลายยุคที่สี่นี้ มีการนำพีซีหลาย ๆ เครื่องมาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย (network) ทำให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นไปอีกดู generation ประกอบ | fragmentation | การแยกส่วนหมายถึง อาการอย่างหนึ่งที่มักจะเกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสก์ที่ ใช้มาเป็นเวลานานแล้ว ในฮาร์ดดิสก์นั้น เมื่อมีการสั่งบันทึก ข้อมูลลงไป แล้วมาสั่งลบภายหลัง ก็จะทำให้มีที่ว่างเกิดขึ้นเป็นหย่อม ๆ ฉะนั้น เมื่อมีการนำแฟ้มข้อมูลใหม่ บันทึกลงไป คอมพิวเตอร์ก็จะจัดการ แบ่งแฟ้มใหม่นี้ให้ได้ สัดส่วนพอดีกับช่องที่ว่างอยู่ก่อน บางที แฟ้มเดียวกันจึงต้อง ถูกเก็บเป็นหย่อม ๆ การเก็บแฟ้มข้อมูลในลักษณะนี้ เรียกว่า เป็นการเก็บแยกส่วน ในโปรแกรมระบบดอสรุ่น 6.0 จะมีคำสั่ง "DE FRAG" ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหา ในเรื่องนี้ได้ | function keys | แป้นกำหนดหน้าที่หมายถึง แป้นพิเศษกลุ่ม หนึ่งที่มักจะถูกจัดไว้ให้อยู่แถวบน สุดของแป้นพิมพ์ (บางทีก็อยู่ ด้านซ้ายมือ) ปกติจะมีอยู่ราว ๆ 10-15 แป้น บนแป้นจะมีตัวอักษร F ตามด้วยเลขตั้งแต่ 1-15 (แล้วแต่ว่ามีกี่แป้น) แป้นเหล่านี้จะถูกกำหนด หน้าที่ เฉพาะ ให้ใช้แทนคำสั่งบางคำสั่งได้เลย เช่น ในระบบดอส แป้น F3 จะใช้แทนคำสั่ง copy ได้ เป็นต้น |
| belike | (adv) อาจจะ, บางที, น่าเป็นไปได้ | haply | (adv) บางที, บังเอิญ | may | (va) ขออนุญาต, อาจจะ, สามารถจะ, น่าจะ, บางที | maybe | (adv) อาจเป็นได้, บางที, อาจจะ | peradventure | (adv) บางที, บังเอิญ | perchance | (adv) อาจจะ, บังเอิญ, บางที | perhaps | (adv) บางที, กระมัง | possible | (adj) เป็นไปได้, บางที, อาจจะ | possibly | (adv) น่าจะเป็นไปได้, บางที, อาจจะ | probably | (adv) บางที, น่า, คง, เป็นไปได้มาก | sometime | (adv) บางเวลา, บางที, บางครั้ง, บางโอกาส, บางคราว | sometimes | (adv) บางเวลา, บางที, บางครั้ง, บางโอกาส, บางคราว | somewhat | (n) บางตอน, บางที, บางส่วน | somewhere | (adv) บางแห่ง, บางที่ |
| ducking stool | เก้าอี้สำหรับมัดนักโทษประจานในสมัยโบราณ บางทีจะนำนักโทษประจานลงไปแช่น้ำด้วย | ducking stool, cucking stool | เก้าอี้สำหรับมัดนักโทษประจานในสมัยโบราณ บางทีจะนำนักโทษประจานลงไปแช่น้ำด้วย | ducking stool, cucking stool | เก้าอี้สำหรับมัดนักโทษประจานในสมัยโบราณ บางทีจะนำนักโทษประจานลงไปแช่น้ำด้วย | leaseback | [ลิซแบ็ค] (n) นิติกรรมซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งขายทรัพย์สินแก่ผู้ซื้อ และผู้ซื้อได้นำทรัพย์สินออกให้ผู้ขายเช่าทันที นิติกรรมเช่นนี้ทำให้ผู้ซื้อมีกรรมสิทธิ์เต็มที่ในทรัพย์สิน แต่ไม่ต้องมีภาระทางการเงิน ส่วนใหญ่มักทำนิติกรรมนี้กันเพื่อผลประโยชน์ทางภาษี บางทีก็เรียกว่า sale and leaseback | saber-toothed tiger | เสือที่มีเขี้ยวบนยาวออกมามาก (บางทีเลยขากรรไกรล่าง) | skibidi | (n, slang) ห่วย, ไม่ดี, เด๋อๆ, หรือบางทีใช้ในความหมายตรงกันข้ามว่า เจ๋ง, เป็นศัพท์ของชาว generation alpha, มาจาก Skibidi Toilet ซึ่งเป็นวิดิโอซีรีย์ที่จัดทำโดย Alexey Gerasimov และเผยแพร่ในช่อง DaFuq!?Boom! ใน YouTube |
| コンソメ | [こんそめ, konsome] (n) consomme ซุปเนื้อน้ำใสที่ประกอบด้วยเนื้อ/กระดูก (บางทีก็มีผัก) , น้ำซุป |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |