มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ข้น | ว. ลักษณะของเหลวที่มีการรวมตัวกันแน่นเข้า, ไม่ใส | ชอล์ก ๑ | น. ชื่อแร่ชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต มีซิลิกาปนอยู่เล็กน้อย เกิดขึ้นตามธรรมชาติโดยการรวมตัวของหินปูนจากซากสัตว์ พืช และเปลือกหอยในทะเล, หินดินสอพอง ก็เรียก. | โลกายัต | น. ชื่อหนึ่งของลัทธิปรัชญาฝ่ายวัตถุนิยมของอินเดีย ถือว่าโลกนี้เกิดจากการรวมตัวกันเองของวัตถุธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม ชีพหรือชีวิตเป็นเพียงผลิตผลของวัตถุธาตุที่รวมตัวกันนั้น คนเราเกิดครั้งเดียว ตายแล้วขาดสูญ ไม่มีโลกหน้า จึงควรแสวงหากามสุขเสียแต่วันนี้ พรุ่งนี้เราอาจตาย, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นอุจเฉททิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าตายแล้วสูญ, จารวาก ก็เรียก. | สหภาพ | น. การรวมตัวขององค์การตั้งแต่ ๒ องค์การขึ้นไป เพื่อทำกิจการทั่วไปหรือกิจการเฉพาะอย่างตามวัตถุประสงค์ขององค์การที่เข้าร่วมกันนั้น เช่น สหภาพศุลกากร สหภาพรัฐสภา | สหภาพ | ชื่อรูปแบบหนึ่งของการรวมตัวของรัฐตั้งแต่ ๒ รัฐขึ้นไป เช่น สหภาพพม่า | สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ | ก. สืบพันธุ์โดยไม่ต้องมีการรวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์ เช่น การแบ่งตัวของแบคทีเรีย. |
|
| association | การรวมกลุ่ม, การรวมตัว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | fusion | ๑. การหลอม๒. การรวมตัว, การเชื่อม, การประสาน๓. (ออร์โท.) การผ่าตัดเชื่อมข้อ๔. (จักษุ.) การรวมภาพเห็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | fusion | ๑. การรวมตัว๒. การหลอมรวม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Economic concentration | การรวมตัวทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] | Annihilation | ประลัย, ปฏิกิริยาระหว่างอนุภาคกับปฏิยานุภาคของอนุภาคนั้นๆ แล้วอนุภาคทั้งสองหายไปกลายเป็นรังสีแกมมาพลังงานเท่ากันเคลื่อนที่ออกไปในทิศทางตรงข้ามกัน เช่นการรวมตัวของอิเล็กตรอนกับโพซิตรอน ได้รังสีแกมมาพลังงานรวม 1.02 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (ดู Antimatter ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] | ชอล์ก | 1. ชื่อแร่ชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต มีซิลิกาปนอยู่เล็กน้อย เกิดขึ้นตามธรรมชาติโดยการรวมตัวของหินปูนจากซากสัตว์ พืช และเปลือกหอยในทะเล 2. เครื่องเขียนกระดานดำชนิดหนึ่งที่เป็นสีขาวทำจากแคลเซียมซัลเฟต ซึ่งได้จากเกลือจืดหรือยิปซัมผสมน้ำ, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ ชอคล์ [คำที่มักเขียนผิด] | Coalitions | การรวมตัวเป็นพันธมิตร [TU Subject Heading] | Convention Concerning Freedom of Association and Protection of the Right to Organise (1948) | อนุสัญญาว่าด้วยเรื่องเสรีภาพในการรวมตัวเป็นสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการจัดตั้ง (ค.ศ. 1948) [TU Subject Heading] | Freedom of association | เสรีภาพในการรวมตัวเป็นสมาคม [TU Subject Heading] | Vertical integration | การรวมตัวของกิจการในแนวดิ่ง [TU Subject Heading] | Vertical Integration | การรวมตัวของธุรกิจในแนวตั้ง, Example: การขยายตัวของอุตสาหกรรมหนึ่ง หรือธุรกิจหนึ่ง ด้วยการเข้าไปดำเนินการในธุรกิจอื่น ที่ผลิตสินค้าในขั้นตอนก่อนหรือหลังการผลิตสินค้าของอุตสาหกรรมนี้ เช่น ผู้ผลิตในอุสาหกรรมรถยนต์ อาจเข้าไปดำเนินกิจการโรงงานถลุงเหล็ก และต่อมาก็เข้าไปทำเหมืองแร่เหล็กเอง ซึ่งเรียกว่าการรวมตัวในแนวตั้งที่มีผลไปข้างหลัง (backward) แต่หากอุตสาหกรรมรถยนต์ที่เริ่มขยายตัวโดยการขายรถยนต์โดยตรงแก่ผู้บริโภค แทนที่จะขายผ่านตัวแทนหรือผู้จัดจำหน่าย กรณีนี้เรียกว่าการรวมตัวในแนวตั้งที่มีผลไปข้างหน้า (forward) [สิ่งแวดล้อม] | ASEAN Vision 2020 | วิสัยทัศน์อาเซียน พ.ศ. 2563 เป็นเอกสารซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ได้ให้ความเห็นชอบ เพื่อแสดงถึงความมุ่งมั่นและพันธกรณีของอาเซียนที่จะนำประชาชนในภูมิภาคนี้ ไปสู่ (1) การเป็นภูมิภาคที่มีสันติภาพและเสถียรภาพ (2) ความเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งด้วยการรวมตัวทางเศรษฐกิจ อย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น (3) การเป็นสังคมที่เปิดกว้าง มีความเป็นปึกแผ่นและเอื้ออาทรต่อกัน และ (4) การกระชับความสัมพันธ์กับคู่เจรจาและโลกภายนอก บนพื้นฐานของความเป็นหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกันและมีความเคารพซึ่งกันและกัน [การทูต] | Commonwealth of Independent States | เครือรัฐเอกราช " กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราชเกิดจากการรวมตัวกันของบรรดาประเทศเกิดใหม่ภาย หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต (ยกเว้นประเทศ กลุ่มทะเลบอลติก 3 ประเทศ ได้แก่ ลิธัวเนีย แลตเวีย และเอสโตเนีย) ซึ่งได้ร่วมลงนามในปฏิญญา Alma-Ata ก่อตั้งเครือรัฐเอกราชเมื่อปี พ.ศ. 2534 ประกอบด้วยสมาชิก 12 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน เบลารุส มอลโดวา คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน และจอร์เจีย " [การทูต] | civil society | ประชาสังคม หมายถึง สังคมที่ประชาชนในระดับต่าง ๆ มีการรวมตัวกันอย่างแข็งแกร่ง เพื่อที่จะเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินทางเลือกสาธารณะ ที่มีผลกระทบต่อพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ของท้องถิ่นและประเทศโดยรวม [การทูต] | Commonwealth of Nations | การรวมตัวของชาติต่าง ๆ เข้าเป็นสมาคมทางการเมือง ประกอบด้วยประเทศสหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย แคนาดา ลังกา ไซปรัส แกมเบีย กาน่า อินเดีย จาไมก้า คีเนีย มาเลเซีย มาลาวี มอลต้า นิวซีเแลนด์ ไนจีเรีย ปากีสถาน ซิเอร่าเลโอน แทนเซียเนีย ทรินิแดด-โทเบโก ยูแกนดา และแซมเบียตามทรรศนะของ Oppenheim ศาสตราจารย์นักกฎหมายระหว่างประเทศในระดับโลก สมาคมทางการเมืองแห่งนี้ก็คือกลุ่มของรัฐที่รวมกันโดยไม่มีพื้นฐานการรวมตัว ทางกฎหมายที่เคร่งครัดแต่อย่างใด หากแต่มีความผูกพันร่วมกันในด้านประวัติศาสตร์ จารีตประเพณี กฎหมาย และมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างแน่นแฟ้นมากกว่า [การทูต] | concert of nations | ความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Initiatives for ASEAN Integration | ความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน [การทูต] | Roadmap for Integration of ASEAN | แผนการรวมตัวของอาเซียน [การทูต] | security community | ประชาคมความมั่นคง เป็นการรวมตัวกันของบรรดาประเทศในภูมิภาคเพื่อศึกษาและเสริมสร้างความมั่นคง ของภูมิภาค โดยเน้นการส่งเสริมความร่วมมือบนพื้นฐานของแนวความคิดของความมั่นคงร่วมกัน [การทูต] | Agglomerate | 1.วัสดุคอมพาวด์: กลุ่มอนุภาคของวัสดุหนึ่งหรือหลายกลุ่มที่อยู่ด้วยกันอย่างหลวมๆ 2.น้ำยาง: กลุ่มของอนุภาคยางในสารละลายแขวนลอยน้ำยาง 3.เขม่าดำ: การรวมตัวเป็นกลุ่มก้อนของเขม่าดำที่ยึดกันด้วยแรงแวนเดอวาล์ว (van der waal) เนื่องจากปกติอนุภาคของเขม่าดำจะไม่อยู่แยกกันเป็นอนุภาคเดี่ยวๆ แต่จะรวมตัวกันเป็นกลุ่มของอนุภาคและกลุ่มของอนุภาคจะรวมตัวกันเป็นกลุ่ม ก้อนอย่างถาวร [เทคโนโลยียาง] | Aggregate | เขม่าดำ: การรวมตัวอนุภาคปฐมภูมิของเขม่าดำเป็นกลุ่มของอนุภาค โดยแต่ละอนุภาคยึดติดด้วยพันธะโควาเลนต์ (covalent bond) [เทคโนโลยียาง] | Coagulation | กระบวนการที่ทำให้อนุภาคขนาดเล็กที่แขวนลอยอยู่ในตัวกลางเกิดการรวมตัว กันเป็นก้อนใหญ่และตกตะกอน [เทคโนโลยียาง] | Stabiliser or Stabilizer | 1. (ยาง) สเตบิไลเซอร์ คือ สารที่มีอยู่หรือเติมลงไปในยางดิบ เพื่อรักษาสมบัติให้ดีเท่าหรือใกล้เคียงค่าเดิมระหว่างการทำให้แห้ง กระบวนการผลิตและการเก็บรักษา 2.(น้ำยาง)สเตบิไลเซอร์ คือ สารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือเติมลงไปในน้ำยางเพื่อป้องกันการรวมตัวหรือ จับตัวเป็นก้อนของอนุภาคยางระหว่างกระบวนการผลิตและ/หรือการผสมสารเคมี [เทคโนโลยียาง] | Accumulation | การสะสม, การรวมตัว [การแพทย์] | Addition | ปฏิกิริยาการรวมตัว, การเพิ่มขึ้น, การเติมเข้าไป, แอดดิชัน [การแพทย์] | Adduct | หุบปลายแขน, มองเข้าด้านใน, ผลผลิตจากการรวมตัว, แอดดักต์ [การแพทย์] | Agglomeration | การรวมตัว [การแพทย์] | Agglutination | แอ็กกลูติเนชัน; แอกกลูติเนชัน, ปรากฎการณ์; การเกาะกัน; ปฏิกิริยาการจับกลุ่ม; การจับกลุ่ม; จับตัวกันเป็นกลุ่ม; การรวมกันเข้าเป็นกลุ่มก้อน; จับกลุ่มตกตะกอน; การเกาะกลุ่มของเม็ดเลือดแดง; การรวมกลุ่ม; ปฏิกิริยาแบบเกาะกลุ่ม; การตกตะกอน; ปฎิกิริยาการรวมกลุ่ม; การรวมตัว; ปฏิกิริยาการจับกลุ่ม; รวมเป็นกลุ่ม; การจับกลุ่มกัน; การเกาะกลุ่มของเม็ดโลหิตแดง [การแพทย์] | Anticaking | กันการรวมตัวเป็นก้อน [การแพทย์] | Anticaking Agents | สารที่ป้องกันการรวมตัวเป็นก้อนของอาหาร [การแพทย์] | Calcium-Binding Proteins | การรวมตัวของแคลเซียมกับโปรตีน, โปรตีนที่จับกับแคลเซียม, แคลเซียมบายดิ้งโปรตีน [การแพทย์] | Cell Fusion | การรวมตัวของเซลล์ [การแพทย์] | Coagulation | การรวมกลุ่ม, การแข็งตัว, ตะกอนรวมตัวกัน, การรวมตัวกัน, จับเป็นก้อน, การแข็งเป็นลิ่ม, การจับกลุ่ม, โคแอคกูเลชัน [การแพทย์] | Coalescence | การรวมตัวกัน, รวมตัวกัน, การเกิดโคอะเลสเซนส์, จับกันเป็นก้อน [การแพทย์] | Coalescence of Droplets | การรวมตัวของส่วนที่แขวนลอยที่จะให้เป็นเนื้อเดีย [การแพทย์] | Cointegration | การรวมตัว [การแพทย์] | Cold Incorporation | การรวมตัวยาเข้ากัน [การแพทย์] | Combination | การรวมกัน, ร่วมหลายชนิด, การรวมตัวทางเคมี, ผสมผสาน [การแพทย์] | Combining Capacity | อำนาจการรวมตัว [การแพทย์] | Conjugation | การรวมตัว, คอนจูเกชัน, กระบวนการคอนจูเกชั่น, การพบกัน, การควบคู่, คอนจูเกชั่น [การแพทย์] | Dimerization | ค่าคงที่ของการเกิดการรวมตัว [การแพทย์] | Dye-Binding Method | หลักการรวมตัวกับสี [การแพทย์] | Electrophilic Addition | ปฏิกิริยาการรวมตัวชนิดที่ชอบอิเลคตรอน [การแพทย์] | glycogen | ไกลโคเจน, คาร์โบไฮเดรตที่เกิดจากการรวมตัวของน้ำตาลกลูโคสหลายโมเลกุลที่ร่างกายของสัตว์สะสมไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ จะถูกนำออกมาใช้เมื่อร่างกายต้องการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | fusion reaction | ปฏิกิริยาฟิวชัน, ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดจากการรวมตัวเข้าด้วยกันของนิวเคลียสของธาตุเบา แล้วทำให้เกิดนิวเคลียสใหม่ของธาตุใหม่ที่หนักกว่า พร้อมกับปลดปล่อยพลังงานออกมาจำนวนหนึ่ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | binding energy | พลังงานยึดเหนี่ยว, การรวมตัวของโปรตอนและนิวตรอนเป็นนิวเคลียส จะปล่อยพลังงานออกมา เรียกพลังงานนี้ว่า พลังงานยึดเหนี่ยว พลังงานยึดเหนี่ยวนี้เทียบเท่ากับมวลพร่อง มวลพร่อง = มวลโปรตอน + มวลนิวตรอน - มวลนิวเคลียส ตัวอย่าง โปรตอน 1 ตัวรวมกับนิวตรอน 1 ตัว เป็นดิวเทอรอน จะปล่อยพลัง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Gene Addition | การรวมตัวของยีน [การแพทย์] | Genetic Reassortment | การรวมตัวของยีนส์ [การแพทย์] | Integrate | ผสมผสาน, เข้าไปรวม, รวมตัว, สอดแทรก, การรวมตัว [การแพทย์] | Ionic Mechanism | ปฏิกิริยาการรวมตัวแบบอิออนนิก [การแพทย์] | Kinetics, Coalescence | จลนศาสตร์ของการรวมตัวของหยดของเหลว [การแพทย์] | Localization | การบอกตำแหน่ง, การบอกที่, การรวมตัว, [การแพทย์] |
| การรวมตัว | [kān rūamtūa] (n) EN: integration | การรวมตัวกัน | [kān rūamtūa kan] (n, exp) EN: unification ; composition ; unification ; merger | การรวมตัวกันใหม่ | [kān rūamtūa kan mai] (n, exp) EN: reunification FR: réunification [ f ] | การรวมตัวของกิจการ | [kān rūamtūa khøng kitjakān] (n, exp) EN: integrative growth | การรวมตัวทางเศรษฐกิจ | [kān rūamtūa thāng sētthakit] (n, exp) EN: economic union ; economic integration | การรวมตัวทางธุรกิจ | [kān rūamtūa thāng thurakit] (n, exp) EN: cartel |
| accumulation | (n) การเก็บสะสม, See also: การพอกพูน, การรวมตัวกันมากขึ้น, การเพิ่มจำนวนมากขึ้น, Syn. collection | agglomerate | (n) การรวมตัวเป็นกลุ่มก้อน | bee | (n) การรวมตัวเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน, See also: งานสังสรรค์ | blend | (n) การผสม, See also: การรวมตัว, Syn. mixture | coalescence | (n) การรวมตัว | collection | (n) การรวมตัวกันเป็นกลุ่มเป็นกอง, See also: การรวมกัน, Syn. accumulation, consolidation, agglomeration, amassment, gathering, assembling, amassing, accumulating, convening | confederacy | (n) การรวมตัวเพื่อจุดประสงค์บางอย่าง, Syn. federation, confederation | consolidation | (n) การรวมตัวเป็นหนึ่ง, Syn. merger, union | gathering | (n) การจับกลุ่ม, See also: การรวบรวม, การรวมตัว, การผนวก, Syn. company, collection, conference, Ant. individual | get-together | (n) การเลี้ยงสังสรรค์กันอย่างไม่เป็นทางการ (คำไม่เป็นทางการ), See also: การรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการ, การพบปะกัน, Syn. informal gathering | manifestation | (n) การชุมนุม, See also: การเดินขบวน, การรวมตัวกัน, การประชุม | meld | (n) การรวมตัว, See also: การผสม | musicale | (n) การชุมนุมเพื่อฟังดนตรี, See also: การรวมตัวเพื่อฟังดนตรี, Syn. concert, recital, solo performance | nuclear fusion | (n) การรวมตัวกันของnucleiของอะตอมเพื่อสร้างnucleusที่หนักกว่า | oxidation | (n) ปฎิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของออกซิเจนกับสารอื่น, See also: ออกซิเดชัน | oxidisation | (n) ปฎิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของออกซิเจนกับสารอื่น | oxidization | (n) ปฎิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของออกซิเจนกับสารอื่น, Syn. combustion | reunification | (n) การรวมตัวกันใหม่ (หลังจากแบ่งแยก) | trust | (n) ระบบผูกขาดทางการค้า, See also: สหกรณ์บริษัท, การรวมตัวกันของบริษัท | unification | (n) การรวมตัวกัน, See also: กระบวนการรวมตัว, Syn. integration, solidarity | union | (n) การรวมตัวกัน, See also: การรวมกัน, Syn. blend |
| amphimixis | (แอมฟิมิค' ซิส) n., (pl. -mixes) n. การรวมตัวกันของเซลล์เพศ (ในขบวนการผสมพันธุ์กันแบบใช้เพศ) , การร่วมกันของเซลล์เพศพ่อและเซลล์เพศแม่ | anisogamous | (แอนนิซอก' กะมัส) adj. เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์เพศ (gametes) ที่ไม่เหมือนกันและมักมีขนาดต่างกัน -anisogamy n. | condensate | (คันเดน'เซท) n. สิ่งที่เกิดจากการรวมตัวกันแน่น | condensation | (คอนเดนเซ'เชิน) n. การรวมตัวกันแน่น, See also: condensative adj. ดูcondensation | ifips | (ไอฟิปส์) ย่อมาจาก International Federation of Information Processing Societies แปลว่า สหพันธ์สมาคมระหว่างประเทศเพื่อการประมวลผลสารสนเทศ เป็นองค์กรหนึ่งที่เกิดจากการรวมตัวกัน ในอันที่จะพัฒนาวิทยาการสารสนเทศ (information science) และการประมวลผลข้อมูลให้ก้าวหน้า | incorporation | (อินคอร์พะเร' เชิน) n. การรวมเข้าเป็นบริษัท, การรวมตัวกัน | merger | (เมอ'เจอะ) n. การรวมตัวของหน่วยงานธุรกิจการค้าเป็นหน่วยเดียวกับ, Syn. combine | precipitation | (พรีซิพ'พิเท'เชิน) n. การเร่งให้เกิดขึ้น, การตกตะกอน, การถลำเข้าสู่, การพุ่ง, การถลำ, ความใจร้อน, ความเร่งรีบ, ความหุนหันพลันแล่น, ตะกอน, ผลิตผลการรวมตัวกันของไอน้ำในอากาศ (ฝน, หิมะ, ลูกเห็บ, น้ำค้าง) , ปริมาณที่รวมตัวกันดังกล่าว | reunion | (รียู'เนียน) n. การรวมตัวกันใหม่, การชุมนุมกันใหม่, การทำให้สามัคคีกันใหม่, การพบกันใหม่, Syn. remeeting | unification | (ยูนิฟิเค'เชิน) n. การรวมตัวกัน, ความสอดคล้องกัน |
| agglomeration | (n) การรวมตัวกัน, การเกาะกัน | aggregation | (n) การรวบรวม, การรวมตัว, การรวมกลุ่ม | condensation | (n) การกลั่น, การรวมตัว, การควบแน่น, การสังเขป | embodiment | (n) การรวมตัว, การรวบรวม, การแปลงรูป | incorporation | (n) บรรษัท, บริษัท, ห้างร้าน, การรวมตัวกัน | integration | (n) การรวบรวม, การรวมตัวกัน | merger | (n) การรวมกันเข้า, การรวมตัว, การผสม | reunion | (n) การพบกันอีก, การรวมตัวกันใหม่ | syndicate | (n) องค์การ, คณะกรรมการ, สมาคม, กงสี, การรวมตัวของห้างร้าน |
| agglomerate | [อั๊คโกลเมอเรท, [ คำนี้เป็นคำที่ใช้เป็นทางการ นำไปใส่ใน paper งานวิจัยได้ ]] (n) กลุ่มก้อนใหญ่ๆที่เกิดจาการรวมตัวกันของสิ่งต่างๆกัน | Sphalerite | [สฟาเลอไรต์] (n) แร่สฟาเลอไรต์ (สูตรเคมีซิงค์ซัลไฟด์ เกิดจากการรวมตัวของสังกะสีและซัลเฟอร์เป็นแร่) |
| 一部事業組合 | [いちぶじぎょうくみあい, ichibujigyoukumiai] (n, name) สหการ (เป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ที่เกิดจากการรวมตัวกันขององค์กรปกครองท้องถิ่นมากกว่าหนึ่งแห่งในการทำกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น สหการแข่งม้า ก็เป็นการรวมตัวขององค์กรปกครองท้องถิ่นเพื่อจัดการแข่งม้าและหารายได้เข้าสหการ จากนั้นสหการก็จะนำรายได้ที่เข้าสหการ นำไปแบ่งให้แก่เทศบาลหรือองค์กรปกครองท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกของสหการ | 酸化 | [さんか, sanka] (n) ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของออกซิเจนกับสารอื่น, See also: R. oxidation |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |