83 ผลลัพธ์ สำหรับ แผ่นดิน
ภาษา
หรือค้นหา: -แผ่นดิน-, *แผ่นดิน*NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
แผ่นดิน | (n) reign, See also: dynasty, regime, Syn. รัชกาล, Example: คุณยายอยู่มาหลายแผ่นดินพบเห็นอะไรมามากมายเหลือเกิน, Thai Definition: ช่วงเวลาหรือยุคสมัยหนึ่งๆ |
แผ่นดิน | (n) land, See also: ground, earth, terra firma, Syn. ผืนแผ่นดิน, พสุธา, พื้นพิภพ, ปฐพี, Example: ประเทศที่เป็นเกาะจะมีพื้นที่ที่เป็นแผ่นดินอยู่น้อยมาก, Count Unit: แห่ง, ที่, Thai Definition: พื้นดินของโลก |
แผ่นดิน | (n) land, See also: territory, country, nation, region, kingdom, Syn. ดินแดน, ประเทศ, เขตคาม, Example: คนไทยทุกคนรักและหวงแหนแผ่นดินนี้ยิ่งชีวิต, Count Unit: แห่ง, ที่, Thai Definition: อาณาจักรหรือขอบเขตของแต่ละประเทศ |
แผ่นดินใหญ่ | (n) mainland, Example: นับตั้งแต่รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนมีอำนาจในการปกครองแผ่นดินใหญ่ จีนได้แสดงจุดยืนของตนมาตลอดว่าฮ่องกงทั้งหมดเป็นดินแดนของจีน, Count Unit: ผืน, แผ่น, Thai Definition: บริเวณที่เป็นเขตใหญ่ของประเทศหนึ่งๆ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
แผ่นดิน | น. พื้นดินของโลก |
แผ่นดิน | รัฐ, ประเทศ, เช่น แผ่นดินไทย |
แผ่นดิน | รัชกาล เช่น ผลัดแผ่นดิน. |
แผ่นดินกลบหน้า | ก. ตาย. |
แผ่นดินไหว | น. การสั่นสะเทือนของแผ่นดินที่รู้สึกได้ ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกที่รองรับผิวโลกอยู่ บางครั้งเกิดจากภูเขาไฟระเบิด. |
ดิน ๑ | แผ่นดิน เช่น ตะวันตกดิน. |
พก ๑ | แผ่นดิน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
landslide | แผ่นดินถล่ม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
earthquake | แผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
aftershock | แผ่นดินไหวตาม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
foreshock | แผ่นดินไหวนำ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
deep-focus earthquake; deep earthquake | แผ่นดินไหวระดับลึก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
deep earthquake; deep-focus earthquake | แผ่นดินไหวระดับลึก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
main shock | แผ่นดินไหวหลัก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Landslide | แผ่นดินถล่ม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Subsidence (Earth movements) | แผ่นดินทรุด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Earthquake | แผ่นดินไหว, Example: <p>แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่แผ่นดินเกิดการสั่นสะเทือน โดยเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกชั้นนอกซึ่งเคลื่อนที่ได้ตามกระแสความร้อนของหินละลายหลอมเหลวที่เป็นส่วนประกอบชั้นในของโลก เนื่องจากเปลือกโลกประกอบขึ้นด้วยแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่น ดังนั้นเมื่อความร้อนจากภายในโลกดันตัวออกมาจะทำให้แผ่นเปลือกโลกบางแผ่นเกิดการเคลื่อนที่ จึงทำให้การเกิดแผ่นดินไหวบนพื้นผิวโลกเกิดเฉพาะบางแห่งไม่เกิดขึ้นโดยทั่วไป นอกจากแผ่นดินไหวจะเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังสามารถเกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ การระเบิดเหมืองแร่ <p> <p>การวัดขนาดของแผ่นดินไหวนิยมวัดโดยใช้มาตราริกเตอร์ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0-9<br/> แผ่นดินไหวขนาดน้อยกว่า 3 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็ก<br/> แผ่นดินไหวขนาด 3.5-5 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขนาดกลาง ซึ่งสร้างความเสียหายไม่มาก<br/> แผ่นดินไหวขนาด 6-8 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขั้นรุนแรงสร้างความเสียหายมากแก่ชีวิตผู้คน สิ่งปลูกสร้าง และทรัพย์สิน<br/> แผ่นดินไหวขนาด 9 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากที่สุดสร้างความเสียหายมากและเป็นบริเวณกว้าง หากเกิดขึ้นใต้พื้นท้องทะเล มักจะทำให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่ที่เรียกว่า สึนามิ <p> <p>การตรวจวัดแผ่นดินไหวในประเทศไทย<br/> ประเทศไทยได้มีการติดตั้งเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2506 ณ สถานีตรวจวัดจังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันได้มีการกระจายการติดตั้งไปยังจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ รวมทั้งมีการติดตั้งเพิ่มเติมในบางจุด เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยนำไปติดตั้งบริเวณเขื่อนขนาดใหญ่ <p> <p>การป้องกันและการบรรเทาภัยจากแผ่นดินไหวโดยรัฐ<br/> 1. ออกกฎหมายควบคุมอาคารและสิ่งก่อสร้างให้มีความแข็งแรงพอที่จะต้านแรงแผ่นดินไหว<br/> 2. จัดให้หน่วยกู้ภัยมีอุปกรณ์และเครื่องมือที่พอเพียงกับการปฏิบัติงานและฝึกซ้อมบุคลากรให้พร้อมกับการกู้ภัย<br/> 3. จัดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบที่สามารถควบคุมและประสานงานตามแผนปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br/> 4. ทำการศึกษาวิจัยในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหว<br/> 5. แบ่งเขตพื้นที่ของประเทศตามความเสี่ยงภัยต่อการเกิดแผ่นดินไหว<br/> 6. ให้ความสำคัญกับเหตุการณ์แทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นตามมา เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม ไฟฟ้าดับ โรคระบาด<br/> <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุภาพ ภู่ประเสริฐ. (2550). แผ่นดินไหว. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้. (เล่มที่ 9, หน้า 6-57). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Earthquakes | แผ่นดินไหว [TU Subject Heading] |
Landslides | แผ่นดินเลื่อน [TU Subject Heading] |
Nicobar Islands Earthquake, 2004 | แผ่นดินไหวที่หมู่เกาะนิโคบาร์, ค.ศ. 2004 [TU Subject Heading] |
Subsidences (Earth movements) | แผ่นดินทรุด [TU Subject Heading] |
Sumatra Earthquake, 2004 | แผ่นดินไหวที่เกาะสุมาตรา, ค.ศ. 2004 [TU Subject Heading] |
Landslide | แผ่นดินถล่ม, Example: คำทั่วไปที่ใช้เรียกการเคลื่อนที่ของแผ่นดิน และกระบวนการซึ่งเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของดิน หิน ตามแนวลาดชัน เนื่องจากแรงดึงดูดของโลก การเคลื่อนที่ของมวลเหล่านี้มีความเร็วปานกลางถึงเร็วมาก [สิ่งแวดล้อม] |
landslide | landslide, แผ่นดินถล่ม [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
แผ่นดิน | [phaendin] (n) EN: land ; ground ; earth ; terra firma FR: terre [ f ] ; sol [ m ] |
แผ่นดิน | [phaendin] (n) EN: state ; territory ; country ; nation ; region ; kingdom |
แผ่นดิน | [phaendin] (n) EN: reign ; dynasty ; regime ; government FR: règne [ m ] |
แผ่นดินทอง | [phaendin thøng] (n, exp) FR: eldorado [ m ] |
แผ่นดินใหญ่ | [phaendin yai] (n, exp) EN: mainland |
แผ่นดินไหว | [phaendinwai] (n) EN: earthquake FR: séisme [ m ] ; tremblement de terre [ m ] |
แผ่นดินไหวรุนแรง | [phaendinwai runraēng] (n, exp) FR: violent tremblement de terre [ m ] ; séisme de forte amplitude [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
tsunami | (n) คลื่นขนาดใหญ่และยาว (ระดับน้ำขึ้นสูง เป็นระยะทางยาวๆ ไม่ใช่ขึ้นแล้วลงเร็ว เหมือนคลื่นปกติ) ในทะเล ที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยปกติ แต่เกิดจากการแทนที่น้ำอย่างรุนแรง ทำให้มวลของน้ำเคลื่อนไหวด้วยความเร็วสูง ลักษณะคล้ายๆ กับการปาหินลงในน้ำ แล้วเกิดคลื่นแผ่กระจายออก, มีสาเหตุโดยมากจากแผ่นดินไหวนอกชายฝั่ง, มักเคลื่อนไปได้เป็นระยะทางไกลๆ (มากได้ถึงหลายพัน หรือเป็นหมื่นกิโลเมตร), เมื่อถึงฝั่ง อาจมีความสูงได้เป็นสิบเมตร และทำความเสียหายได้มาก, มาจากภาษาญี่ปุ่น 津波 [ つなみ, tsunami, สึนามิ ] <p> รายละเอียดเพิ่มเติม: <A HREF=http://www.navy.mi.th/dockyard/sara_tsinami.html>http://www.navy.mi.th/dockyard/sara_tsinami.html</A>, Syn. tidal wave |
epicenter | (n, name) จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว |
Richter scale | (n, name) หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว จากพลังงานที่แผ่นดินไหวปล่อยออกมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด (หรือแมกนิจูด) 6.1 ตามมาตราวัดริกเตอร์ หมายเหตุ: แผ่นดินไหวจะรุนแรงไม่รุนแรง ต้องดูขนาดควบคู่ไปกับความลึกของจุดศูนย์กลาง กล่าวคือ ถ้าขนาดใหญ่แต่ถ้าอยู่ลึกมากก็อาจจะไม่แรง แต่ถึงขนาดไม่ใหญ่มาก แต่จุดศูนย์กลางอยู่ตื้นก็อาจสร้างความเสียหายได้มาก, ส่วนสิ่งที่รับรู้ได้บนดินคือ ความสั่นสะเทือน (ความรุนแรง, intensity) ซึ่งแต่ละพื้นที่บนพื้นดินจะมีความสั่นสะเทือนแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าอยู่ใกล้ไกล จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว (epicenter) แค่ไหน <p> <b>เพิ่มเติม:</b>ความสั่นสะเทือน (intensity) ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก ชินโดะ (震度) และมีมาตรวัดของญี่ปุ่นเอง มีระดับตั้งแต่ 1 (เบา) ถึง 7 (รุนแรง) ถ้าพูดถึงขนาดจะใช้ว่า Magnitude |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
aftershock | (n) แผ่นดินไหวเล็กน้อยที่เกิดหลังจากแผ่นดินไหวรุนแรง |
clod | (n) ดิน, See also: แผ่นดิน, Syn. soil, earth |
earthquake | (n) แผ่นดินไหว, Syn. quake, seism, temblor |
foreland | (n) แหลม (ทางภูมิศาสตร์), See also: แผ่นดินที่ยื่นไปในทะเล, Syn. headland, promontory |
land | (n) พื้นดิน, See also: แผ่นดิน, ผืนดิน, Syn. soil, earth |
landslide | (n) แผ่นดินถล่ม, See also: แผ่นดินทลาย, Syn. landslip |
landslip | (n) แผ่นดินถล่ม, Syn. landslide |
main | (n) แผ่นดินใหญ่, Syn. mainland |
mainland | (n) แผ่นดินใหญ่, Syn. land |
quake | (n) แผ่นดินไหว, Syn. earthquake |
Hope Dictionary
budget | (บัด'เจท) budgetted, budgetting, budgets } n. งบประมาณ, งบประมาณแผ่นดิน, ถุงเล็ก. vt. ทำงบประมาณ, See also: budgetary adj. ดูbudget budgeter n. ดูbudget |
chest | (เชสทฺ) n. หีบ, กล่องขนาดใหญ่, ลังขนาดใหญ่, ทรวงอก, หน้าอก, เต้านม, คลัง, เงินทุน, เงินแผ่นดิน, กรมคลัง, กระทรวงการคลัง, สิ่งที่เก็บอยู่ในหีบ |
continent | (คอน'ทะเนินทฺ) n. ทวีป, ผืนแผ่นดินใหญ่ (ซึ่งต่างจากเกาะหรือคาบสมุทร) , ส่วนที่ต่อเนื่องกัน, สิ่งที่เป็นที่บรรจุหรือพรมแดน -Phr. (the Continent ผืนแผ่นดินใหญ่ของยุโรป (ซึ่งต่างจากเกาะอังกฤษ) , adj. ซึ่งควบคุมตัวเอง, Syn. abstinent, Ant. le |
continental | (คอนทิเนน'เทิล) adj. เกี่ยวกับทวีป n. ผู้อาศัยอยู่บนผืนแผ่นดินใหญ่ |
country | (คัน'ทรี) n. ประเทศ, แผ่นดินของประเทศ, รัฐ, ประชากรของท้องถิ่น, รัฐหรือชาติ, ถิ่นบ้านนอก, ชนบท, ถิ่นที่อยู่ adj. ชนบท, บ้านนอก, เกี่ยวกับประเทศ, เกี่ยวกับบ้านเกิดเมืองนอน. --Phr. (across the country ข้ามทุ่งนาทุ่งไร่.) --Phr. (go to the country ยุบรัฐสภาเพื่อเลือกต |
earthquake | (เอิร์ธ'เควค) n. แผ่นดินไหว |
forland | (ฟอร์'แลนดฺ) n. แหลม, ฝั่งข้างหน้า, แผ่นดินที่อยู่ข้างหน้า, ที่ใกล้ฝั่ง, ผืนแผ่นดินข้างหน้า |
hinterland | (ฮิน'เทอะแลนดฺ) n. เขตหัวเมืองที่ส่งเสบียงให้แก่เรือ, ผืนแผ่นดินหลังฝั่งทะเล. |
land | (แลนดฺ) { landed, landing, lands } n. ที่ดิน, พื้นดิน, แผ่นดิน, ประเทศ, เขต, ดินแดนของประเทศ vt. ตั้งรกราก, นำไปสู่, ยึด, จับ, จับจอง, นำขึ้นบก. vi. ขึ้นบก, ขึ้นฝั่ง, สู่ -Phr. (the land ที่ดินเกษตรชนบทอาชีพการเกษตรและการปศุสัตว์), Syn. soil, g |
landfall | (แลนดฺ'ฟอล) n. การเข้าหาแผ่นดินการเห็นแผ่นดิน, แผ่นดินที่ดิน, แผ่นดินถล่ม |
Nontri Dictionary
cataclysm | (n) น้ำท่วม, แผ่นดินไหว, มหาภัยพิบัติ, ความหายนะ, กลียุค |
continent | (n) ทวีป, ผืนแผ่นดินใหญ่, ภาคพื้นทวีป |
earthquake | (n) แผ่นดินไหว |
enthrone | (vt) ยกขึ้นไว้สูงสุด, ตั้งให้เป็นพระเจ้าแผ่นดิน, ถวายราชสมบัติ, มอบอำนาจให้ |
fatherland | (n) ปิตุภูมิ, แผ่นดินเกิด, บ้านเกิดเมืองนอน |
fiscal | (adj) เกี่ยวกับการเงิน, เกี่ยวกับเงินแผ่นดิน, เกี่ยวกับงบประมาณ |
interregnum | (n) เวลาผลัดเปลี่ยนแผ่นดิน, เวลาหัวเลี้ยวหัวต่อ, เวลาว่าง |
king | (n) พระเจ้าแผ่นดิน, กษัตริย์, พระราชา |
kingship | (n) ความเป็นพระเจ้าแผ่นดิน, ความเป็นกษัตริย์, รัชสมัย |
land | (n) พื้นแผ่นดิน, ที่ดิน, ฝั่ง, บก, ภูมิประเทศ, ประเทศ, เมือง |
Longdo Approved JP-TH
余震 | [よしん, yoshin] (n) แผ่นดินไหวขนาดเล็กกว่า ที่เกิดขึ้นตามมาหลังจากที่แผ่นดินไหวใหญ่, See also: S. aftershock |
地震 | [じしん, jishin] (n) แผ่นดินไหว |
Longdo Approved DE-TH
Festland | (n) |das, pl. Festländer| แผ่นดินใหญ่, ส่วนของทวีป เช่น Wie diese Identität sich im Verhältnis zu China entwickeln wird, ist immer noch eine offene Frage, die unbeantwortet über der Meerenge zwischen Insel und Festland hängt. |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 3.501 seconds, cache age: 0.914 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม