373 ผลลัพธ์ สำหรับ *library*
ภาษา
หรือค้นหา: library, -library-NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
library | (n) การเก็บต้นฉบับ สิ่งพิมพ์ เทป หรือวัสดุในการค้นคว้าวิจัย |
library | (n) การเก็บรวมโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ |
library | (n) ห้องสมุด, See also: หอสมุด, หอเก็บหนังสือ |
mobile library | (n) ห้องสมุดเคลื่อนที่ |
library science | (n) บรรณารักษ์ศาสตร์, Syn. library science |
Library of Congress | (n) ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในรัฐวอชิงตัน |
Hope Dictionary
library | (ไล'บรารี) n. ห้องสมุด, หอเก็บหนังสือ, การเก็บรวมโปรแกรมมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ |
library card | n. บัตรยืมหนังสือจากห้องสมุด |
library of congress | n. ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน |
private library | คลังชุดคำสั่งส่วนตัวหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน program library |
program library | คลังโปรแกรมหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน private library |
Nontri Dictionary
library | (n) หอสมุด, ห้องสมุด |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
private library | คลัง(โปรแกรม)ส่วนตัว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
program library; library | คลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
program library; library | คลัง(โปรแกรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
library; program library | คลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
library; program library | คลัง(โปรแกรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
library routine | รูทีนจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
library subroutine | ซับรูทีนจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
library tape | แถบบันทึกจากคลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
system library | คลังโปรแกรมระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
subroutine library | คลังซับรูทีน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
object library | คลังจุดหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
macrolibrary | คลังแมโคร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
depository library | ห้องสมุดรับฝาก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
tape library | คลังแถบบันทึก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
test library | คลังโปรแกรมทดสอบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Integrated Library Systems | ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ, Example: ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ เป็นระบบที่ทำงานร่วมกันระหว่างชุดโปรแกรมที่ประกอบด้วยโมดูลต่างๆ หรือระบบย่อยตามลักษณะงานพื้นฐานของห้องสมุด ได้แก่ งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisition module) งานควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serial control) งานทำรายการทรัพทยากรสารสนเทศ (Cataloging module) การสืบค้นทางออนไลน์ (Online Public Access Catalog-OPAC) และงานบริการยืม-คืน (Circulation module) <p> <p>การทำงานที่สัมพันธ์ (โดยย่อ) เริ่มจาก <p> <p>1. การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ เช่น การจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ นำรายการของทรัพยากรสารสนเทศ ข้อมูลของร้านค้าหนังสือ ข้อมูลของราคา (อัตราแลกเปลี่ยน) ข้อมูลของงบประมาณที่ได้รับสำหรับการจัดหา งานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศสามารถควบคุมงบประมาณที่ได้รับจากการที่ระบบสามารถตัดยอดงบประมาณที่ได้ดำเนินการไปแล้ว สามารถติดต่อร้านค้าตามข้อมูลที่ลงไว้ในระบบ และลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม (ตั้งต้น) ของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมสถานะของรายการนั้นๆ ว่าอยู่ในระหว่างการจัดซื้อ การส่งไปยังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ รายการต่างๆ แม้ว่าจะลงรายการทางบรรณานุกรม ยังไม่ครบถ้วน แต่ผู้ใช้สามารถสืบค้นและเห็นรายการดังกล่าว ผ่านโมดูล OPAC แต่สถานะจะเป็นตัวบ่งบอกว่าอยู่ในกระบวนการใด <p> <p>2. งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ดึงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ทางงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ บันทึกไว้ในระบบ เพื่อลงรายการทางบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ (MARC) อย่างครบถ้วน ถูกต้อง พร้อมเปลี่ยนสถานะของรายการนั้นๆ เป็นให้บริการที่ชั้นหนังสือ (Check shelf available) และส่งทรัพยากรสารสนเทศที่ลงรายการทางบรรณานุกรมในระบบผ่านโมดูล Cataloging เรียบร้อยไปยังงานบริการเพื่อขึ้นชั้นให้บริการ รายการทางบรรณานุกรมที่ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะสามารถสืบค้นผ่านโมดูล OPAC <p> <p>3. ผู้ใช้สามารถสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการใช้ผ่านโมดูล OPAC และนำมายืมผ่านโมดูล Circulation <p> <p>4. โมดูล Circulation อำนวยความสะดวกในการให้ยืม คืน จอง ต่ออายุ ทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมทั้งคำนวณการปรับค่าหนังสือที่ค้างการคืน และพิมพ์ใบเสร็จรับเงินค่าปรับ <p> <p>5. ในส่วนของวารสาร ซึี่่งเป็นงานที่มีความซับซ้อนมาก จะมีโมดูล Serial control ในการบันทึกรายการวารสารที่เข้ามาแล้ว ต้องติดตามทวงถาม การเย็มเล่ม <p> <p>เริ่มมีการนำระบบห้องสมุดแบบบูรณาการมาใช้ให้ห้องสมุดตั้งแต่ ค.ศ. 1981 เมื่อ University of Florida ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปโนทิส (NOTIS-Northwestern Online Total Integrated System) เป็นครั้งแรก และหลังจากนั้นก็มีระบบห้องสมุดแบบบูรณาการเกิดขึ้นอีกมากมายและจำนวนห้องสมุดที่หันมาใช้ระบบดังกล่าวก็เพิ่มขึ้นทั่วโลก นับเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมากสำหรับห้องสมุดในการเปลี่ยนจากระบบห้องสมุดแบบเดิม มาเป็นระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ <p> <p>ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการในปัจจุบัน มีทั้งเชิงพาณิชย์ และที่เป็นโปรแกรมโอเพนซอร์ส สำหรับโปรแกรมเชิงพาณิชย์ ได้แก่ อินโนแพค (INNOPAC) วีทีแอลเอส (VTLS) เป็นต้น แล้วแต่ความละเอียดของแต่ละโมดูลที่มีให้ และมีทั้งที่พัฒนาจากต่างประเทศและในประเทศไทย ส่วนโปรแกรมที่เป็นโอเพนซอร์ส ได้แก่ Koha, OpenBiblio เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Academic library | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Agricultural library | ห้องสมุดการเกษตร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
American Library Association | สมาคมห้องสมุดอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Art library | ห้องสมุดศิลปะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Economics library | ห้องสมุดเศรษฐศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Fishery library | ห้องสมุดประมง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Hospital library | ห้องสมุดโรงพยาบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Scientific library | ห้องสมุดวิทยาศาสตร์, Example: <p>หากจัดแบ่งตามประเภทห้องสมุด ซึ่งมี 5 ประเภท คือ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดเฉพาะ <p>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในประเภทห้องสมุดเฉพาะ ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือบางกลุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย เป็นต้น ทำหน้าที่จัดหาหนังสือ และให้บริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสาร เฉพาะเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ <P>ที่ตั้งและสถานภาพของห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา หรือ หน่วยงาน องค์กรวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <P>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เช่น ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book mobile library | ห้องสมุดเคลื่อนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Branch library | ห้องสมุดสาขา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library classification | การจัดหมู่หนังสือ, Example: เดิมห้องสมุดส่วนใหญ่จัดเก็บหนังสือ ตามขนาดของหนังสือ ตามสีของปก หรือตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ ต่อมา ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือขึ้น โดยแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ โดยมีพัฒนาการ ดังนี้ <p> <p>1. สมัยโบราณ <p><p> 1.1 ชาวอัสซีเรียน เชื่อกันว่า ชาวอัสซีเรียนเป็นพวกที่เริ่มวิธีการจัดหมู่อย่างเป็นแบบแผน ในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล มีการจัดกลุ่มแท่งดินเหนียวในห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ออกเป็น 2 หมวดใหญ่แบ่งตามเนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวทางโลก และ เรื่องราวทางสวรรค์ <p><p> 1.2 ชาวโรมัน ห้องสมุดในสมัยโรมัน มีการแบ่งแยกหนังสือตามประเภทของผู้เขียน เป็น 2 หมวด คือ หนังสือของพวกนักเขียนนอกศาสนา และหนังสือของพวกนักเขียนที่นับถือศาสนาคริสต์หรือนักบวช <p><p> 1.3 ชาวอียิปต์ คัลลิมาคัส ซึ่งเป็นบรรณารักษ์ของห้องสมุดอเล็กซานเดรีย จัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่ คือ กวีนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา วาทศิลป์ และเบ็ดเตล็ด <p> 2 สมัยกลาง อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก คิดระบบการจัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 3 ภาคได้แก่ <p><p> - ความรู้ภาคปฏิบัติ (Practical หรือ Ethical) ประกอบด้วย วิชาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์ <p><p> - ความรู้ในทางสร้างสรรค์ (Productive หรือ Creative) ประกอบด้วย วิชากวีนิพนธ์ และศิลปะ <p><p> - ความรู้ภาคทฤษฎี (Theoretical) ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และเทววิทยา <p> 3. สมัยศตวรรษที่ 16 คอนราด เกสเนอร์ (Conrad Gesner) เขียนหนังสือชื่อ Bibliotheca Universalis ซึ่งเป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือภาษาลาติน กรีก และฮินดู จัดเรียงตามรายชื่อหนังสือตามลำดับหัวข้อวิชา โดยแบ่งออกเป็น 21 หัวข้อ <p> 4. สมัยศตวรรษที่ 17 เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Advancement of Learning ขึ้นในปี ค.ศ. 1605 โดยเบคอนมีความคิดว่า มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดเป็น 3 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีผลทำให้เกิดความรู้ขึ้น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความจำ (Memory) ทำให้เกิดวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 จินตนาการ (Imagination) ทำให้เกิดวิชาร้อยกรอง และ ส่วนที่ 3 เหตุผล (Reason) ทำให้เกิดวิชาปรัชญา <p> จากแนวความคิดนี้เอง ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอสัน (Thomas Jefferson) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้นำมาจัดทำเป็นระบบจัดหมู่หนังสือในห้องสมุดส่วนตัว ซึ่งต่อมาก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นระบบจัดหมู่หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันในยุคแรก <p> 5. สมัยศตวรรษที่ 18 กุสตาฟ บูรเนต์ (Gustave Brunet) ชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสือคู่มือการจัดหมู่หนังสือและห้องสมุดชื่อ Manuel du Libraire et d l' Amateur de Livres โดยแบ่งความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ เทววิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี <p> 6. สมัยศตวรรษที่ 19-20 ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือเพื่อใช้ในห้องสมุดอย่างจริงจังหลายระบบ ได้แก่ <p><p> ค.ศ. 1876 ระบบทศนิยมดิวอี้ <p><p>ค.ศ. 1891 ระบบเอ็กแพนซีฟ <p><p>ค.ศ. 1901 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><p>ค.ศ. 1905 ระบบทศนิยมสากล <p><p> ค.ศ. 1906 ระบบซับเจ็ค <p><p> ค.ศ. 1933 ระบบโคลอน <p><p> ค.ศ. 1935 ระบบบิบลิโอกราฟิค <p> ระบบการจัดหมู่ในระยะแรกมีแนวคิดในการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่อย่างมีเหตุผลตามแนวทฤษฎี จึงเรียกว่า ระบบทฤษฎี (Theoretical system) ต่อมาในศตวรรษที่ 20 แนวความคิดเปลี่ยนเป็นการคำนึงถึงหนังสือที่มีอยู่จริงในห้องสมุด จึงเรียกว่า ระบบปฏิบัติ (Practical system) <p> บรรณานุกรม <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์. 2520. ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เล่ม 19. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p> Wynar, Bohdan S. 1985. Introduction to Cataloging and Classification. 7th ed. Littletob, Colo. : Libraries Unlimited. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Demographic library | ห้องสมุดประชากรศาสตร์, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dental library | ห้องสมุดทันตแพทย์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Interlibrary loan | การยืมระหว่างห้องสมุด, Example: การยืมระหว่างห้องสมุด คือ เป็นบริการที่ห้องสมุดจัดให้เพื่อให้มีการยืม ทำสำเนาเอกสาร จากห้องสมุดแห่งอื่น เป็นการขยายการให้บริการเพื่อให้ผู้ใช้สามารถได้รับเอกสาร หนังสือ หรือทรัพยากรสารสนเทศรูปแบบอื่นๆ ที่ต้องการใช้ได้ แม้ว่าจะไม่มีรายการนั้นๆ อยู่ในห้องสมุดที่ผู้ใช้นั้นสังกัดอยู่ โดยต้องมีการกรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืมลงในแบบฟอร์ม การใ้ห้บริการยืมระหว่างห้องสมุดส่วนใหญ่มีในห้องสมุดมหาวิทยาลัย <p> <p>การใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุด อาจทำได้ 2 วิธี คือ <p>1. ผู้ใช้บริการไปติดต่อขอยืมด้วยตนเอง <p> ผู้ใช้กรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืม ผ่านให้บรรณารักษ์ของห้องสมุดที่ผู้ใช้สังกัดอยู่ และนำไปแบบฟอร์มนี้ไปติดต่อยืมด้วยตนเอง <p>2. ให้ห้องสมุดดำเนินการให้ <p>ผู้ใช้กรอกรายละเอียดลงในแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้องสมุด ส่งให้บรรณารักษ์ที่รับผิดชอบดำเนินการให้ ขอใช้บริการไปยังห้องสมุดที่มีข้อมูล/ เอกสารสิ่งพิมพ์ที่ต้องการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
International Federation of Library Asso | สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด, Example: <p>International Federation of Library Associations and Institutions (IFLA) สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) มีวัตถุประสงค์ในการประสานสามัคคีระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และร่วมมือกันสร้างความพัฒนาถาวรให้แก่ห้องสมุด และสถาบันบริการสารนิเทศ รวมทั้งการพัฒนาทางมาตรฐานงานเทคนิคของห้องสมุด ปัจจุบันมีสมาชิกทั่วโลกจำนวน 1, 600 คน / หน่วยงาน จาก 150 ประเทศ <p>IFLA มีสถานภาพเป็นองค์กรอิสระระดับสากล ไม่แสวงหากำไร ให้คำแนะนำปรึกษาด้านห้องสมุด บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ แก่องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมของสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน สภาระหว่างประเทศว่าด้วยการจดหมายเหตุ และองค์การอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสารนิเทศ การศึกษา และวัฒนธรรม IFLA ก่อตั้งขึ้นที่เมือง Edinburgh, Scotland และได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ให้ตั้งสำนักงานที่กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ <p>IFLA จัดการประชุมวิชาการทุกปีโดยหมุนเวียนเปลี่ยนสถานที่ไปตามประเทศสมาชิกต่าง ๆ เพื่อให้บรรณารักษ์นานาชาติจากทั่วโลกได้มาพบ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์วิชาการ วิชาชีพ และสร้างมิตรภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างห้องสมุด โดยประเทศไทยได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดประชุม IFLA ครั้งที่ 65 ในปี พ.ศ. 2542 (วันที่ 19 - 27 สิงหาคม 2542) โดยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์การประชุม หัวข้อการประชุมในครั้งนั้น เรื่อง On the Threshold of the 21st Century : Libraries as Gateways to an Enlightened World หรือ ห้องสมุดเป็นประตูไปสู่โลกอันสดใสในรุ่งอรุณแห่งศตวรรษใหม่ สนใจกิจกรรมการจัดประชุมของ IFLA ติดตามข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ www.ifla.org [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library | ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library administration | การบริหารงานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library administrator | ผู้บริหารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library automation | ห้องสมุดอัตโนมัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library building | อาคารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library cooperation | ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library edition | ฉบับห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library employee | บุคลากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library hour | เวลาเปิดทำการของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library instruction service | บริการสอนวิธีใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library material | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library orientation | การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด, Example: <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library orientation) เป็นกิจกรรมและบริการเชิงรุกในการส่งเสริมความรู้ ความสามารถ ในการใช้บริการพื้นฐานต่าง ๆ ของห้องสมุด เช่น การสืบค้น การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และเป็นการสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามระเบียบและมารยาทของการเข้าใช้ห้องสมุดได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดความคุ้นเคยด้านสถานที่ การบริการ และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในด้านการเรียน การสอน และการค้นคว้าวิจัย <p> กลุ่มเป้าหมายในการจัดปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ได้แก่ นิสิต นักศึกษาใหม่ ของสถาบันการศึกษา หรือ พนักงานใหม่ ในกรณีหน่วยงานนั้นมีห้องสมุดในการให้บริการแก่ผู้ใช้ <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยเนื้อหาและขอบเขต ดังนี้ <p>1. ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด กฎ กติกา มารยาท วันเวลาเปิด - ปิด บริการ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ รวมทั้งข่าวและกิจกรรมที่น่าสนใจ <p>2. นำชมห้องสมุด เพื่อสร้างความคุ้นเคยด้านสถานที่ และพาเยี่ยมชมพื้นที่ให้บริการ <p>3. แนะนำบริการของห้องสมุด เช่น บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า บริการยืม-คืน บริการสืบค้นสารสนเทศ บริการวิทยานิพนธ์ บริการวารสาร บริการอินเทอร์เน็ต เป็นต้น <p>4. ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ <p>5. การสืบค้นสารสนเทศ เรียนรู้เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ที่ห้องสมุดบอกรับ <p>6. บริการเอกสารฉบับเต็ม แนะนำวิธีการค้นหาเอกสาร หากไม่สามารถค้นหาเอกสารที่ต้องการได้ในเมืองไทย <p>7. บรรณานุกรมและอ้างอิง แนะนำวิธีการเขียนรายการบรรณานุกรมและอ้างอิง ที่ถูกต้องของสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ รวมถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการประกอบการทำรายงาน งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library patron | ผู้ใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library personnel | เจ้าหน้าที่ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library profession | วิชาชีพห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library public relations | การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library science | บรรณารักษศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library stamp | ตราห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library standard | มาตรฐานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library's page | หน้าลับเฉพาะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Military library | ห้องสมุดทหาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
National library | หอสมุดแห่งชาติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Online library catalog | รายการบรรณานุกรมออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Private library | ห้องสมุดส่วนตัว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Public library | ห้องสมุดประชาชน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Rental library | การให้เช่าหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Traveling library | ห้องสมุดเคลื่อนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
University library | ห้องสมุดมหาวิทยาลัย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library fund raising | การระดมเงินทุนของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library use studies | การศึกษาการใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
interlibrary loan | ระบบการบริการให้ยืม, หนังสือระหว่างห้องสมุดสำหรับผู้ใช้ห้องสมุด |
Library and information science (LIS) | (n) บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ |
Library of Congress | (n) ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในเขตที่ตั้งรัฐบาลวอชิงตัน ดี.ซี. |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
บัตรรายการ | (n) catalogue card, See also: card index (library), Example: นักศึกษาสามารถค้นหนังสือได้จากบัตรรายการในห้องสมุด |
ห้องสมุดประชาชน | (n) public library, Example: กรุงเทพมหานครให้งบประมาณสร้างห้องสมุดประชาชนขึ้นทั่วกรุงเทพ 20 แห่ง, Thai Definition: ห้องสมุดสำหรับประชาชน |
คลังสมอง | (n) knowledge source, See also: library, Syn. ห้องสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นคลังสมองที่รวบรวมความรู้ในทุกสาขาวิชา, Count Unit: แห่ง, ที่ |
ผู้ใช้บริการห้องสมุด | (n) library user |
บัตรห้องสมุด | (n) library ticket, See also: borrower's ticket |
หอสมุด | (n) library, Example: การจัดสรรงบประมาณให้หอสมุดได้ซื้อหนังสือ จำต้องได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษในแต่ละปี, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้ |
ห้องสมุด | (n) library, Syn. หอสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง |
ห้องสมุด | (n) library, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ไว้เป็นระบบ |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บัตรห้องสมุด | [bat hǿngsamut] (n, exp) EN: library ticket ; borrower's ticket FR: carte de lecteur [ m ] |
ฉบับห้องสมุด | [chabap hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition |
ฉบับประจำห้องสมุด | [chabap prajam hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition |
ห้องสมุด | [hǿngsamut] (n) EN: library ; study FR: bibliothèque [ f ] |
ห้องสมุดเคลื่อนที่ | [hǿngsamut khleūoenthī] (n, exp) EN: mobile library FR: bibliothèque mobile [ f ] ; bibliothèque itinérante [ f ] |
ห้องสมุดเสมือนจริง | [hǿngsamut sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual library FR: bibliothèque virtuelle [ f ] |
หอพระสมุด แห่งชาติ | [Hø Phra Samut Haengchāt] (org) EN: National Library (in Bangkok) FR: Bibliothèque nationale (de Thaïlande) [ f ] |
หอสมุด | [høsamut] (n) EN: library FR: bibliothèque [ f ] |
หอสมุดแห่งชาติ | [høsamut haengchāt] (n, exp) EN: National Library FR: bibliothèque nationale [ f ] |
การแบ่งหมวดหมู่หนังสือ | [kān baeng mūatmū nangseū] (n, exp) EN: classification of books ; library classification FR: classification des ouvrages [ f ] |
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ | [rabop kān jat mūatmū nangseū] (n, exp) EN: library classification FR: système de classification des livres [ m ] ; système de classification des documents [ m ] |
สำนักหอสมุดกลาง | [samnak høsamut klāng] (n, exp) EN: central library |
ยืมหนังสือจากห้องสมุด | [yeūm nangseū jāk hǿngsamut] (v, exp) EN: borrow a book from the library FR: emprunter un livre à la bibliothèque |
CMU Pronouncing Dictionary
library | |
library's |
Oxford Advanced Learners Dictionary
library | |
lending-library |
WordNet (3.0)
bachelor of arts in library science | (n) a bachelor's degree in library science, Syn. ABLS |
lending library | (n) library that provides books for use outside the building, Syn. circulating library |
library | (n) a room where books are kept |
library | (n) a collection of literary documents or records kept for reference or borrowing |
library | (n) a depository built to contain books and other materials for reading and study, Syn. depository library |
library | (n) (computing) a collection of standard programs and subroutines that are stored and available for immediate use, Syn. program library, subroutine library |
library | (n) a building that houses a collection of books and other materials |
library card | (n) a card certifying the bearer's right to use the library, Syn. borrower's card |
library catalog | (n) an enumeration of all the resources of a library, Syn. library catalogue |
library fine | (n) fine imposed by a library on books that overdue when returned |
library program | (n) a program in a program library |
library routine | (n) a debugged routine that is maintained in a program library |
library science | (n) the study of the principles and practices of library administration |
master of arts in library science | (n) a master's degree in library science, Syn. MALS |
master of library science | (n) a master's degree in library science, Syn. MLS |
national library of medicine | (n) the world's largest medical library, Syn. United States National Library of Medicine, U.S. National Library of Medicine |
public library | (n) a nonprofit library maintained for public use |
nag hammadi | (n) a collection of 13 ancient papyrus codices translated from Greek into Coptic that were discovered by farmers near the town of Nag Hammadi in 1945; the codices contain 45 distinct works including the chief sources of firsthand knowledge of Gnosticism, Syn. Nag Hammadi Library |
paste | (n) an adhesive made from water and flour or starch; used on paper and paperboard, Syn. library paste |
Collaborative International Dictionary (GCIDE)
Library | n.; |
CC-CEDICT CN-EN Dictionary
图书 | [图 书 / 圖 書] books (in a library or bookstore) #4,677 [Add to Longdo] |
图书馆 | [图 书 馆 / 圖 書 館] library #4,742 [Add to Longdo] |
浩如烟海 | [浩 如 烟 海 / 浩 如 煙 海] vast as the open sea (成语 saw); fig. extensive (library) #62,818 [Add to Longdo] |
书馆 | [书 馆 / 書 館] teashop with performance by 評書|评书 story tellers; (attached to name of publishing houses); (in former times) private school; library (of classic texts) #65,429 [Add to Longdo] |
借书证 | [借 书 证 / 借 書 證] library card #85,718 [Add to Longdo] |
续借 | [续 借 / 續 借] extended borrowing (e.g. library renewal) #113,653 [Add to Longdo] |
宬 | [宬] library stack; storage #207,855 [Add to Longdo] |
伯德雷恩图书馆 | [伯 德 雷 恩 图 书 馆 / 伯 德 雷 恩 圖 書 館] Bodleian Library (Oxford) [Add to Longdo] |
函式库 | [函 式 库 / 函 式 庫] library (partition on computer hard disk) [Add to Longdo] |
功能集 | [功 能 集] function library [Add to Longdo] |
同文馆 | [同 文 馆 / 同 文 館] the first modern Chinese library established in 1898 by William A.P. Martin 丁韙良|丁韪良, becoming the foundation for Beijing University library [Add to Longdo] |
国家图书馆 | [国 家 图 书 馆 / 國 家 圖 書 館] national library [Add to Longdo] |
档案馆 | [档 案 馆 / 檔 案 館] archive library [Add to Longdo] |
DING DE-EN Dictionary
EDICT JP-EN Dictionary
文庫 | [ぶんこ, bunko] (n) (1) library; book collection; (2) (abbr. of 文庫本) paperback book; (P) #756 [Add to Longdo] |
図書館(P);圕(oK) | [としょかん(P);ずしょかん(図書館)(ok), toshokan (P); zushokan ( toshokan )(ok)] (n) library; (P) #1,098 [Add to Longdo] |
書房 | [しょぼう, shobou] (n) library; bookstore; bookshop; (P) #1,819 [Add to Longdo] |
叢書;双書;総書 | [そうしょ, sousho] (n) series (of publications); library (of literature) #2,912 [Add to Longdo] |
国会図書館 | [こっかいとしょかん, kokkaitoshokan] (n) (See 国立国会図書館) National Diet Library; Library of Congress #3,396 [Add to Longdo] |
開館 | [かいかん, kaikan] (n, vs) (1) opening a hall for that day's business (museum, library, such like buildings); (2) opening of new hall (museum, etc.); (P) #3,941 [Add to Longdo] |
ライブラリー(P);ライブラリ | [raiburari-(P); raiburari] (n) library; (P) #7,944 [Add to Longdo] |
蔵書 | [ぞうしょ, zousho] (n, vs) book collection; library; (P) #10,173 [Add to Longdo] |
休館 | [きゅうかん, kyuukan] (n, vs, adj-no) closure (of a library, museum, etc.); (P) #12,965 [Add to Longdo] |
来館 | [らいかん, raikan] (n, vs) coming to an embassy, theatre, library, etc. #15,066 [Add to Longdo] |
入館 | [にゅうかん, nyuukan] (n, vs) entry (e.g. library, school, museum); entering #19,958 [Add to Longdo] |
アーカイブライブラリ | [a-kaiburaiburari] (n) { comp } archive library [Add to Longdo] |
オブジェクトライブラリ | [obujiekutoraiburari] (n) { comp } object library [Add to Longdo] |
クラスライブラリ | [kurasuraiburari] (n) { comp } class library (as in C++) [Add to Longdo] |
コンテンツライブラリ | [kontentsuraiburari] (n) { comp } content library [Add to Longdo] |
シェアードライブラリ | [shiea-doraiburari] (n) { comp } shared library [Add to Longdo] |
システムライブラリ | [shisutemuraiburari] (n) { comp } system library [Add to Longdo] |
スタンダードライブラリー;スタンダードライブラリ | [sutanda-doraiburari-; sutanda-doraiburari] (n) standard library (programming) [Add to Longdo] |
スライドライブラリ | [suraidoraiburari] (n) { comp } slide library [Add to Longdo] |
タイプライブラリ | [taipuraiburari] (n) { comp } type library [Add to Longdo] |
ダイナミックリンクライブラリ | [dainamikkurinkuraiburari] (n) { comp } dynamic linking library; DLL [Add to Longdo] |
ダイナミックリンクライブラリファイル | [dainamikkurinkuraiburarifairu] (n) { comp } dynamic-link library file [Add to Longdo] |
テープライブラリ | [te-puraiburari] (n) { comp } tape library [Add to Longdo] |
テープライブラリー | [te-puraiburari-] (n) tape library [Add to Longdo] |
ドキュメントライブラリ | [dokyumentoraiburari] (n) { comp } document library [Add to Longdo] |
ビデオライブラリ | [bideoraiburari] (n) { comp } video library [Add to Longdo] |
フィルムライブラリ | [firumuraiburari] (n) { comp } film library [Add to Longdo] |
フィルムライブラリー | [firumuraiburari-] (n) film library [Add to Longdo] |
フォトライブラリー | [fotoraiburari-] (n) photo library [Add to Longdo] |
ブックモビル | [bukkumobiru] (n) { comp } mobile library; bookmobile (USA) [Add to Longdo] |
プログラムライブラリ | [puroguramuraiburari] (n) { comp } program library [Add to Longdo] |
ライブラリー関数 | [ライブラリーかんすう, raiburari-kansuu] (n) { comp } library function [Add to Longdo] |
ライブラリケース | [raiburarike-su] (n) { comp } library case [Add to Longdo] |
ライブラリディレクトリ | [raiburarideirekutori] (n) { comp } library directory [Add to Longdo] |
ライブラリファイル | [raiburarifairu] (n) { comp } library file [Add to Longdo] |
ライブラリルーチン | [raiburariru-chin] (n) { comp } library routine [Add to Longdo] |
ランタイムライブラリ | [rantaimuraiburari] (n) { comp } run-time library [Add to Longdo] |
レコードライブラリ | [reko-doraiburari] (n) { comp } sound recordings library; record library [Add to Longdo] |
移動図書館 | [いどうとしょかん, idoutoshokan] (n) mobile library; bookmobile [Add to Longdo] |
遺伝子ライブラリー | [いでんしライブラリー, idenshi raiburari-] (n) gene library [Add to Longdo] |
飲食禁止 | [いんしょくきんし, inshokukinshi] (n) no food or drink (e.g. as a sign in a library, etc.); no eating or drinking [Add to Longdo] |
音楽図書館 | [おんがくとしょかん, ongakutoshokan] (n) music library [Add to Longdo] |
開架 | [かいか, kaika] (n, adj-no) open access (in a library); open shelves [Add to Longdo] |
開架式 | [かいかしき, kaikashiki] (n) making materials in a library available in open stacks [Add to Longdo] |
学校図書館 | [がっこうとしょかん, gakkoutoshokan] (n) school library [Add to Longdo] |
関数ライブラリ | [かんすうライブラリ, kansuu raiburari] (n) { comp } function library; FL [Add to Longdo] |
寄託図書館 | [きたくとしょかん, kitakutoshokan] (n) { comp } deposit library [Add to Longdo] |
共有ライブラリ | [きょうゆうライブラリ, kyouyuu raiburari] (n) { comp } shared library [Add to Longdo] |
禁帯出 | [きんたいしゅつ, kintaishutsu] (adj-no) for reference only; in-library use only; not for loan [Add to Longdo] |
経堂 | [きょうどう, kyoudou] (n) sutra library [Add to Longdo] |
COMPDICT JP-EN Dictionary
システムライブラリ | [しすてむらいぶらり, shisutemuraiburari] system library [Add to Longdo] |
テープライブラリ | [てーぷらいぶらり, te-puraiburari] tape library [Add to Longdo] |
ビデオライブラリ | [びでおらいぶらり, bideoraiburari] video library [Add to Longdo] |
フィルムライブラリ | [ふぃるむらいぶらり, firumuraiburari] film library [Add to Longdo] |
ブックモビル | [ぶっくもびる, bukkumobiru] mobile library, bookmobile (USA) [Add to Longdo] |
プログラムライブラリ | [ぷろぐらむらいぶらり, puroguramuraiburari] program library [Add to Longdo] |
ライブラリ | [らいぶらり, raiburari] library [Add to Longdo] |
ライブラリー関数 | [ライブラリーかんすう, raiburari-kansuu] library function [Add to Longdo] |
ライブラリケース | [らいぶらりけーす, raiburarike-su] library case [Add to Longdo] |
ライブラリディレクトリ | [らいぶらりでいれくとり, raiburarideirekutori] library directory [Add to Longdo] |
ライブラリファイル | [らいぶらりふぁいる, raiburarifairu] library file [Add to Longdo] |
ライブラリルーチン | [らいぶらりるーちん, raiburariru-chin] library routine [Add to Longdo] |
レコードライブラリ | [れこーどらいぶらり, reko-doraiburari] sound recordings library, record library [Add to Longdo] |
移動図書館 | [いどうとしょかん, idoutoshokan] mobile library, bookmobile (USA) [Add to Longdo] |
寄託図書館 | [きたくとしょかん, kitakutoshokan] deposit library [Add to Longdo] |
研究図書館 | [けんきゅうとしょかん, kenkyuutoshokan] research library [Add to Longdo] |
公共図書館 | [こうきょうとしょかん, koukyoutoshokan] public library [Add to Longdo] |
国立図書館 | [こくりつとしょかん, kokuritsutoshokan] national library [Add to Longdo] |
参考図書館 | [さんこうとしょかん, sankoutoshokan] reference library [Add to Longdo] |
実行形式ライブラリ | [じっこうけいしきライブラリ, jikkoukeishiki raiburari] execution image library [Add to Longdo] |
写真図書館 | [しゃしんとしょかん, shashintoshokan] photographic library [Add to Longdo] |
図書館 | [としょかん, toshokan] library [Add to Longdo] |
図書館システム | [としょかんシステム, toshokan shisutemu] library system [Add to Longdo] |
図書館ネットワーク | [としょかんネットワーク, toshokan nettowa-ku] library network [Add to Longdo] |
図書館学 | [としょかんがく, toshokangaku] library science [Add to Longdo] |
専門図書館 | [せんもんとしょかん, senmontoshokan] special library [Add to Longdo] |
総合図書館 | [そうごうとしょかん, sougoutoshokan] general library [Add to Longdo] |
著作権図書館 | [ちょさくけんとしょかん, chosakukentoshokan] copyright library [Add to Longdo] |
著作権登録図書館 | [ちょさくけんとうろくとしょかん, chosakukentourokutoshokan] copyright library [Add to Longdo] |
電子図書館 | [でんしとしょかん, denshitoshokan] electronic library [Add to Longdo] |
登録集原文 | [とうろくしゅうげんぶん, tourokushuugenbun] library text [Add to Longdo] |
登録集名 | [とうろくしゅうめい, tourokushuumei] library-name [Add to Longdo] |
納本図書館 | [のうほんとしょかん, nouhontoshokan] deposit library [Add to Longdo] |
標準ライブラリ | [ひょうじゅんライブラリ, hyoujun raiburari] standard library [Add to Longdo] |
文庫 | [ぶんこ, bunko] library [Add to Longdo] |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0609 seconds, cache age: 4.096 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม