277 ผลลัพธ์ สำหรับ *ไม่เห็น*
ภาษา
หรือค้นหา: ไม่เห็น, -ไม่เห็น-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
อย่าหาทำ | (slang) อย่าได้คิดจะทำ อย่าได้ทำ, แสดงถึงความไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งในการที่ผู้พูดจะทำสิ่งนั้น |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ไม่เห็น | (v) not see, See also: not sight, not catch sight of, not espy, not notice, not observe, Syn. มองไม่เห็น, Example: ฉันไม่เห็นสมุดบัญชีที่คุณเอามาให้เลย, Thai Definition: ไม่ปรากฏชัดแก่สายตา |
มองไม่เห็น | (v) fail to see, See also: be unseen, Syn. ไม่เห็น, Ant. มองเห็น, เห็น, Example: สายตาของคนชราเริ่มมัว มองไม่เห็น หูไม่ค่อยได้ยิน ลิ้นไม่ค่อยได้รส |
ไม่เห็นค่า | (v) depreciate, See also: not appreciate, Syn. ไม่รู้ค่า, ไม่เห็นคุณค่า, ไม่รู้คุณค่า, Example: หากคนไทยไม่เห็นค่าของสถาปัตยกรรมแบบไทยๆ แล้วชาติใดจะมาเห็น, Thai Definition: ไม่สำนึกหรือไม่สนใจในคุณประโยชน์ของสิ่งนั้น |
ไม่เห็นด้วย | (v) disagree, See also: not agree, dissent, Syn. ไม่เห็นพ้อง, Example: อาจารย์ไม่เห็นด้วยต่อแนวคิดในเรื่องการจัดกิจกรรมวันฮาโลวีน, Thai Definition: มีความคิดเห็นขัดแย้งเพราะไม่เห็นสมควรตามนั้น |
ไม่รู้ไม่เห็น | (v) be unaware of, See also: be unknowing, be ignorant of, Syn. ไม่รู้เรื่อง, Example: ผู้ต้องหายังคงปากแข็งปฏิเสธว่าไม่รู้ไม่เห็นกับยาบ้าจำนวนนี้ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
นอนหลับไม่รู้ นอนคู้ไม่เห็น | ก. ไม่รู้เรื่องราวที่เกิดขึ้น, ไม่รู้อีโหน่อีเหน่. |
ไม่เห็นจะ | ว. ใช้ประกอบแสดงความเห็นหรือความรู้สึกในลักษณะที่ว่า ไม่สมควรที่จะ ไม่น่าจะ รู้สึกว่าไม่ เช่น ไม่เห็นจะน่ารักเลย ไม่เห็นจะน่ากลัวเลย. |
ไม่เห็นน้ำตัดกระบอกไม่เห็นกระรอกก่งหน้าไม้ | ว. ด่วนทำไปทั้ง ๆ ที่ยังไม่ถึงเวลาอันสมควร. |
กวางเดินดง | ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง เช่น อกเอ๋ยอกประหลาดจริงที่นิ่งเฉย โอ้เอ๋ยผิดคิดไม่เห็นจะเป็นเลย เสียดายเอ๋ยที่พี่เคยสงวนงาม (กลบท). |
กาสัก ๑ | น. นกที่เชื่อกันว่าเป็นสัตว์กายสิทธิ์บินมาไม่เห็นตัว ถ้าได้ขนมันไว้ก็หายตัวได้. |
ก๊าซน้ำตา, แก๊สน้ำตา | น. สารที่อยู่ในสภาพที่แพร่กระจายเป็นไอหรือควัน ทำให้ระคายเคืองนัยน์ตาอย่างรุนแรง นํ้าตาไหล และมองไม่เห็นชั่วขณะหนึ่ง. |
ขี้เกียจ | ก. มีนิสัยไม่ชอบทำงาน เช่น เด็กคนนี้ขี้เกียจ, เกียจคร้าน ก็ว่า, รู้สึกไม่อยากทำเพราะไม่เห็นประโยชน์เป็นต้น เช่น ขี้เกียจเถียง |
ขี้มือ | น. เหงื่อไคลหรือสิ่งสกปรกที่ติดอยู่ตามมือทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น, คราบหรือรอยเปื้อนที่ติดสิ่งใดสิ่งหนึ่งเนื่องจากถูกมือจับ เช่น เสื้อตัวนี้เพิ่งซักมาใหม่ ๆ จับกันหลายคนจนเปื้อนขี้มือดำไปหมดแล้ว. |
คลุม | (คฺลุม) ก. ปกหรือปิดสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อป้องกันไม่ให้เสียหายหรือทำให้มองไม่เห็นเป็นต้น เช่น เอาผ้าใบคลุมรถยนต์ไว้ ไม้เลื้อยคลุมหลังคา |
ค้อนติง | ก. ทักท้วงแสดงความไม่เห็นด้วย. |
คัดค้าน | ก. แสดงอาการไม่เห็นด้วย. |
ค้าน | ก. แย้งกัน เช่น ข้อความตอนหน้ากับตอนหลังค้านกัน, กล่าวแย้งไม่เห็นด้วย |
ค้าน | ว. ที่ไม่เห็นด้วย, ที่ตรงกันข้าม, เช่น ฝ่ายค้าน. |
จุลชีพ, จุลชีวัน, จุลชีวิน, จุลินทรีย์ | น. สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ส่วนมากมีเซลล์เดียว. |
ชาคริยานุโยค | (ชาคะริยานุโยก) น. การประกอบความเพียรกำหนดใจว่าจะตื่นไม่เห็นแก่นอนมากนัก. |
ชีปะขาว ๒ | น. ชื่อแมลงในอันดับ Ephemeroptera ลำตัวอ่อนนิ่มบอบบางสีขาว หนวดสั้นมากมองเกือบไม่เห็น ปีกบางใสรูปสามเหลี่ยม มีเส้นปีกมากมาย เมื่อเกาะปีกจะตั้งตรง ที่ปลายท้องมีหางยาวคล้ายเส้นด้าย ๒-๓ เส้น เมื่อถูกรบกวนจะปล่อยของเหลวเหนียวสีขาวขุ่น เช่น ชนิด Ephemeraspp . ในวงศ์ Ephemeridae, ชีผ้าขาว ชีผะขาว หรือ สับปะขาว ก็เรียก. |
เซ่อ | ว. เขลาเพราะไม่เคยพบเคยเห็นมาก่อน, ไม่เห็นหรือไม่เข้าใจสิ่งที่น่าจะเห็นหรือน่าจะเข้าใจ เช่น ตาเซ่อ, งง เช่น ฟังเขาพูดจนเซ่อไปเลย. |
ต้อ ๑ | น. โรคอย่างหนึ่งเกิดที่ลูกตา ทำให้ตาพิการมองอะไรไม่เห็นชัดเจน หรืออาจทำให้ตาบอดได้ มีหลายชนิด. |
ตะลิบ | ว. ลิบ, ไกล, เช่น ตะลิบหายไปไม่เห็นตัว (ม. กาพย์ กุมารบรรพ). |
ตากลับ | ว. ลักษณะที่ตาเหลือกขึ้นจนไม่เห็นตาดำ |
ตาถั่ว | น. ตาที่มีจุดขาวมัว ๆ อยู่กลางตาดำ ทำให้มองไม่ค่อยเห็น, โดยปริยายหมายความว่า เซ่อ เช่น ของวางอยู่ตรงหน้า ไม่เห็นก็ตาถั่วแล้ว. |
ตาบอด | น. ตามืด, ตามองไม่เห็น, โดยปริยายหมายถึงหลงผิดไปชั่วคราวไม่รู้ว่าอะไรผิดอะไรถูก เช่น เพราะความรักเลยทำให้เขาตาบอดไปชั่วระยะหนึ่ง. |
ตาบอดตาใส | น. ตาบอดอย่างที่ตาดูเหมือนเป็นปรกติ แต่มองไม่เห็น. |
ตาฟางไก่ | น. ตาที่มองเห็นเฉพาะในเวลากลางวัน ในเวลากลางคืนมองอะไรไม่เห็น. |
แถ ๑ | ก. อาการที่นกเป็นต้นเอียงปีกร่อนลง, อาการที่ของแบน ๆ เช่นกระเบื้องหรือโปสต์การ์ด แฉลบหรือร่อนไปเฉียง ๆ, โดยปริยายเรียกอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วัน ๆ ไม่เห็นทำการทำงาน ได้แต่แถไปโน่นไปนี่. |
ท้วง | ก. พูดเป็นทำนองไม่เห็นด้วย |
ทักท้วง | ก. กล่าวหรือแสดงออกเป็นทำนองว่ายังไม่เห็นด้วย. |
ทำคุณไม่ขึ้น | ก. ทำความดีต่อผู้อื่น แต่ผู้นั้นไม่เห็นความดี. |
เทียว ๒ | ว. คำที่ใช้ประกอบกริยาหรือวิเศษณ์ เพื่อบังคับหรือเน้นความให้มีความหมายหนักแน่นยิ่งขึ้น มีความหมายอย่างเดียวกับ ทีเดียว, เชียว, เช่น มาให้ได้เทียวนะ อย่าบอกใครเทียวนะ หมู่นี้เงียบไปเทียวไม่เห็นมาหาบ้างเลย. |
เที่ยว ๒ | ก. ไปไหน ๆ เพื่อความเพลิดเพลินตามสบาย เช่น ไปเที่ยวงานกาชาด, กิริยาที่ไปที่โน่นที่นี่เรื่อยไป เช่น ฉันเที่ยวตามหาเธอทั้งวัน, กิริยาที่ไปหรือทำในหลายที่ทั่ว ๆ ไป ใช้ประกอบกับกริยาอื่น ผู้พูดพูดในทำนองไม่เห็นด้วยว่าควรทำ เช่น เรื่องนี้เป็นความลับ อย่าเที่ยวพูดไปนะ. |
เนปจูน | น. ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๘ ในระบบสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เพราะอยู่ห่างโลกมาก อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๔, ๕๒๙ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวที่ผ่านเส้นศูนย์สูตร ๔๘, ๔๐๐ กิโลเมตร ในแนวที่ผ่านขั้ว ๔๗, ๔๐๐ กิโลเมตร, ดาวสมุทร ก็เรียก. |
บอด | ว. มืด, ไม่เห็น, (ใช้แก่ตา) |
บังไพร | ก. เสกกิ่งไม้ถือบังตัวให้สัตว์เห็นเป็นป่า ไม่เห็นตัวคน ใช้ในการคล้องช้างเป็นต้น. |
บังมืด | ก. บังแสงสว่างทำให้มืดไป เช่น อย่ายืนบังมืด มองไม่เห็น. |
เบ้ | ทำหน้าแสดงอาการผิดหวัง ไม่เห็นด้วย ไม่พอใจ หรือเจ็บปวด เป็นต้น. |
ประท้วง | ก. กระทำการหรือแสดงกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการคัดค้านเพราะไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจอย่างยิ่ง เช่น อดข้าวประท้วง เขียนหนังสือประท้วง. |
ผ้าเหลือง | น. จีวร เช่น เกาะชายผ้าเหลือง, เครื่องหมายแห่งพระพุทธศาสนา, พระพุทธศาสนา, ในความว่า ไม่เห็นแก่พระ ก็เห็นแก่ผ้าเหลืองเถิด. |
ผี | น. สิ่งที่มนุษย์เชื่อว่าเป็นสภาพลึกลับ มองไม่เห็นตัว แต่อาจจะปรากฏเหมือนมีตัวตนได้ อาจให้คุณหรือโทษได้ มีทั้งดีและร้าย เช่น ผีปู่ย่าตายาย ผีเรือน ผีห่า, เรียกคนที่ตายไปแล้ว |
พลูโต | (พฺลู-) น. ชื่อดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๕, ๙๐๐ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ระหว่าง ๒, ๕๘๐ ถึง ๓, ๕๓๐ กิโลเมตร ทางโคจรเป็นวงรีมาก ทำให้ส่วนหนึ่งของทางโคจรอยู่ภายในวงจรของดาวเนปจูน, ดาวยม ก็เรียก. |
พะยูน | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Dugong dugon (Müller) ในวงศ์ Dugongidae ลำตัวอ้วนกลม เรียวยาวไปทางหาง มีขนเฉพาะที่บริเวณใกล้ปาก รยางค์คู่หน้าเป็นแผ่นคล้ายใบพายไม่เห็นเป็นนิ้ว รยางค์คู่หลังไม่โผล่ให้เห็น หางเป็นแฉกแผ่กว้างแบนลง ตัวอาจยาวได้ถึง ๓ เมตร สีเทาดำแกมฟ้า อาศัยอยู่ในทะเลชายฝั่ง กินพืชนํ้าพวกหญ้าทะเล เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่ง, เงือก วัวทะเล หมูนํ้า หรือ ดูกอง ก็เรียก. |
พิสมัย ๑ | (พิดสะไหฺม) ก. รักใคร่หลงใหล เช่น ฉันไม่เห็นจะพิสมัยเธอเลย. |
ฟ้าหลัว | น. อากาศมัวเนื่องจากในอากาศขณะนั้นมีอนุภาคที่มองไม่เห็น เช่น เกลือจากทะเล ควันไฟ ฝุ่นละอองปะปนอยู่เป็นจำนวนมาก. |
มนุษย์มนา | น. ผู้คน เช่น ไม่เห็นมีมนุษย์มนาสักคน, คนทั่ว ๆ ไป เช่น แต่งตัวไม่เป็นมนุษย์มนา. |
มฤตยู | ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๗ ในระบบสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๒, ๘๗๐ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๕๐, ๘๐๐ กิโลเมตร, ดาวยูเรนัส ก็เรียก. |
มองข้าม | ไม่เห็นความสำคัญ เช่น เขาถูกมองข้ามไป. |
มิดเมี้ยน | ว. ลับจนมองไม่เห็น |
มืดตึดตื๋อ, มืดตึ๊ดตื๋อ | ว. มืดมากจนมองไม่เห็นแสงสว่าง เช่น ในถ้ำมืดตึ๊ดตื๋อ, มืดตื้อ หรือ มืดตื๋อ ก็ว่า. |
มืดตื้อ, มืดตื๋อ | ว. มืดมากจนมองไม่เห็นแสงสว่าง เช่น ในห้องนี้มืดตื้ออย่างกับเข้าถ้ำ. |
มืดแปดด้าน | ก. นึกไม่เห็น, คิดไม่ออก, จนปัญญาไม่รู้จะหาทางออกได้อย่างไร, เช่น ตอนนี้รู้สึกมืดแปดด้านไปหมด. |
มืดมน | ว. มืดมัว, มืดมาก, มืดจนมองไม่เห็นทาง, มักใช้เข้าคู่กับคำ อนธการ เป็น มืดมนอนธการ. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
latent defect | ความชำรุดบกพร่องที่มองไม่เห็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
yeas and neas | การออกเสียงเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dissent | ไม่เห็นพ้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
non-apparent | ไม่ประจักษ์, ไม่เห็นประจักษ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Amaurosis, Uremic | อาการตามองไม่เห็น [การแพทย์] |
Blindness | ตาบอด, ตามองไม่เห็น [การแพทย์] |
Blindness, Day | มองไม่เห็นในที่สว่าง [การแพทย์] |
Blindness, Transient | ตามองไม่เห็นชั่วคราว, ตาบอดชั่วคราว [การแพทย์] |
Concealed | มีเลือดออกแต่ไม่เห็น [การแพทย์] |
microscope | กล้องจุลทรรศน์, อุปกรณ์ที่ใช้ส่องดูวัตถุขนาดเล็กซึ่งมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นหรือเห็นไม่ชัด โดยขยายภาพของวัตถุให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและช่วยให้เห็นรายละเอียดเพิ่มขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ultraviolet rays [ black light ] | รังสีอัลตราไวโอเลต, แสงเหนือม่วง, รังสีที่มีแสงสีม่วงและรังสีเอกซ์ เป็นรังสีที่ตามองไม่เห็น เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แสงดำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
microorganism | จุลินทรีย์, สิ่งที่มีชีวิตที่ขนาดเล็กมากดูด้วยตาเปล่าไม่เห็น เช่น แบคทีเรีย เห็ด ราบางชนิด ไวรัส โพรโทซัวต่าง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Glomerulus, Bloodless | ไม่เห็นเม็ดเลือดแดงในหลอดเลือด [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
โดยไม่เห็นแก่หน้าใคร | [dōi mai henkaē nā khrai] (xp) EN: without respect of persons |
ความชำรุดบกพร่องที่มองไม่เห็น | [khwām chamrutbokphrǿng thī møng mai hen] (n, exp) EN: hidden defect FR: défaut caché [ m ] |
ความไม่เห็นด้วย | [khwām mai hendūay] (n, exp) EN: disagreement |
ไม่เห็นด้วย | [mai hendūay] (v, exp) EN: disagree ; not agree ; dissent FR: ne pas être d'accord ; être en désaccord ; pas d'accord |
ไม่เห็นหัว | [mai hen hūa] (v, exp) EN: be disrespectful |
ไม่เห็นแก่ใคร | [mai hen kaē khrai] (v, exp) EN: have no respect |
ไม่เห็นค่า | [mai hen khā] (v, exp) EN: depreciate |
ไม่เห็นคุณค่า | [mai hen khunkhā] (v, exp) EN: depreciate |
ไม่เห็นพ้อง | [mai hen phøng] (v, exp) EN: disagree |
ไม่เห็นแปลก | [mai hen plaēk] (v, exp) FR: il n'y a rien de surprenant |
มองไม่เห็น | [møng mai hen] (v, exp) EN: fail to see ; be unseen |
มองไม่เห็น | [møng mai hen] (adj) EN: invisible ; unable to see FR: invisible ; indiscernable |
ผู้ที่ไม่เห็นด้วย | [phū thī mai hendūay] (n, exp) EN: critics FR: critiques [ mpl ] |
Longdo Approved EN-TH
nerd | (n, jargon) nerd เป็นคำเรียกบุคคลที่มีระดับสติปัญญาสูงซึ่งมีความสนใจในการเรียนหรือ การศึกษาเรื่องบางเรื่องที่เขาสนใจ คนภายนอกจะมองว่าพวกนี้เป็นพวกที่ไม่เข้าสังคม แต่จริงๆแล้วเป็นเพราะว่าพวกนี้ไม่สนใจและไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเข้าต่างหาก (ความหมายโดยชาว Nerd) |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
ah | (int) ฮ้า (คำอุทานแสดงความรู้สึกยินดี, พอใจ, เสียใจหรือไม่เห็นด้วยกับคนอื่น), See also: ความเจ็บปวด, ความประหลาดใจ |
altruism | (n) ความไม่เห็นแก่ตัว, See also: ความเห็นแก่ผู้อื่น, Syn. selflessness |
animalcule | (n) สัตว์ที่มีขนาดเล็กมาก (จนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น), Syn. protozoan, microscopic animal |
argue with | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ไม่ยอมรับความจริงว่า, Syn. disagree with, quarrel with |
blind | (adj) บอด, See also: มองไม่เห็น, Syn. unsighted |
blind | (vt) ทำให้ตาบอด, See also: ทำให้บอด, ทำให้ตามองไม่เห็น |
blinding | (adj) เจิดจ้ามากจนมองไม่เห็น |
blindly | (adv) อย่างมองไม่เห็นสิ่งที่กระทำ |
blindness | (n) การสูญเสียสายตา, See also: การมองไม่เห็น, Syn. sightlessness |
blindside | (vt) โจมตีจากทิศทางที่มองไม่เห็น |
balk at | (phrv) คัดค้าน, See also: ไม่เห็นด้วย, Syn. bail at, burke at, jib at |
be at odds | (idm) ไม่เห็นด้วย |
be out of sight | (idm) ไม่เห็น, See also: มองไม่เห็น, Ant. keep in |
coldhearted | (adj) ที่ใจไม่รู้สึกรู้สา, See also: ที่ไม่เห็นใจ, Syn. unfeeling |
can't see one's hand in front of one's face | (idm) มองไม่เห็นในระยะไกล (อาจมาจากหมอกหรือความมืด) |
clash against | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งกับ, Syn. conflict with |
clash on | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งในเรื่อง, Syn. clash over |
clash over | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งในเรื่อง, Syn. clash on |
clash with | (phrv) ไม่เห็นด้วยอย่างรุนแรงกับ, Syn. conflict with |
collide with | (phrv) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ, See also: ขัดแย้งกับ, Syn. conflict with |
conflict with | (phrv) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ, See also: ขัดแย้งกับ, โต้แย้งกับ, ไม่ลงรอยกับ, Syn. clash against |
damn with faint praise | (idm) ตำหนิด้วยการกล่าวชมเล็กน้อย (เพื่อแสดงว่าไม่เห็นด้วยกับสิ่งนั้นหรือคนนั้น) |
demur at | (phrv) คัดค้าน, See also: ไม่เห็นด้วย, Syn. object to, protest against, raise to, take to |
demur to | (phrv) คัดค้าน, See also: ไม่เห็นด้วย, Syn. object to, protest against, raise to, take to |
differ from | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ไม่ลงรอยกับ, ไม่เห็นพ้องกับ, Syn. differ with |
differ with | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ไม่เห็นพ้องกับ, Syn. differ from |
discord from | (phrv) ไม่สอดคล้องกับ, See also: ไม่เห็นด้วยกับ |
discord with | (phrv) ไม่สอดคล้องกับ, See also: ไม่เห็นด้วยกับ |
dissent from | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ปฏิเสธ |
drive a wedge between | (idm) ไม่เห็นด้วย (ระหว่าง), See also: ขัดแย้งกันระหว่าง |
fling down one's tools | (idm) หยุดงานเพราะไม่เห็นด้วย, See also: ประท้วงเพราะไม่เห็นด้วย, Syn. chuck down, throw down |
forget oneself | (phrv) ไม่เห็นแก่ตัว, See also: ไม่เอาแต่ได้ |
frown at | (phrv) ขมวดคิ้ว (ไม่พอใจหรือไม่เห็นด้วย) |
deniable | (adj) ที่ปฎิเสธได้, See also: ที่ไม่เห็นด้วย, Syn. refusable |
deny | (vt) ปฏิเสธ, See also: ไม่ยอมรับ, ไม่ยอมเชื่อ, ไม่เห็นด้วย, Syn. refuse, Ant. admit, accept, affirm |
deplore | (vt) คัดค้าน, See also: ตำหนิ, ติเตียน, ไม่เห็นด้วย, ไม่พอใจ, Syn. condemn, disapprove |
deprecasting | (adj) ซึ่งไม่เห็นด้วย, See also: ซึ่งไม่เห็นชอบ, Syn. comdemnable |
deprecastingly | (adv) อย่างไม่เห็นด้วย, See also: อย่างไม่เห็นชอบ, Syn. comdemningly |
deprecate | (vt) คัดค้าน, See also: ไม่เห็นด้วย, Syn. condemn, denounce |
deprecation | (n) ความไม่เห็นด้วย, See also: อย่างไม่เห็นชอบ, Syn. denouncement |
deviation | (n) ความไม่เห็นพ้อง, See also: ความคิดแตกต่าง, การเข้ากันไม่ได้, Syn. disagreement, Ant. accord, correspondence |
deviationist | (n) ผู้ไม่เห็นด้วยกับระบบหรือความเชื่อบางอย่างทางการเมือง, Syn. secessionist, schismatic |
differ | (vi) ไม่เห็นด้วย, See also: ไม่เห็นพ้อง, ขัดแย้ง, Syn. disagree, discord, conflict, Ant. agree |
disaccord | (vi) ไม่เห็นด้วย, See also: ขัดแย้ง |
disagree | (vt) ไม่เห็นด้วย, See also: ขัดแย้ง, Syn. differ, discord, oppose, Ant. agree |
disagreement | (n) ความขัดแย้งกัน, See also: ความคิดเห็นไม่ตรงกัน, ความไม่เห็นด้วย, การแตกร้าว, Syn. contradiction, contrast, disparity, Ant. agreement |
disapproval | (n) ความไม่เห็นด้วย, See also: ความไม่ชอบ, การไม่ยอมรับ, Syn. dismissal, refusal, Ant. acceptance, welcome |
disapprove | (vt) ไม่เห็นด้วย, See also: ไม่ชอบ, ไม่ยอมรับ, Syn. dislike, disesteem, Ant. like, favor, esteem |
disapproving | (adj) ซึ่งไม่เห็นด้วย, See also: ซึ่งไม่ยอมรับ |
dispute | (n) การโต้เถียง, See also: ความขัดแย้ง, การโต้แย้ง, การคัดค้าน, การไม่เห็นด้วย, Syn. argument, disagreement, dispute, Ant. support, agree |
Hope Dictionary
against | (อะเกนสฺทฺ') prep. ต่อต้าน, ต้าน, สู้, ทวนน้ำ, ย้อน, ผิดกฎหมาย, แนบเนื้อ, ประชิดกับ, อยู่ข้างหน้า, เทียบกับ, ป้องกัน, ไม่เห็นด้วย, ตรงกันข้าม, Syn. counter or contrary to |
askance | (อัสแคนสฺ') adv. สงสัย, ไม่ไว้ใจ, ไม่เห็นด้วย, ชายตามอง, ชำเลืองมอง., Syn. askant |
beachball pointer | ลูกบอลล์ชายหาด <คำแปล>หมายถึง สัญลักษณ์ที่ปรากฏบนจอภาพของเครื่องแมคอินทอช ที่จะทำให้ผู้ใช้รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์กำลังทำงานอยู่ทั้ง ๆ ที่เรามองไม่เห็นการทำงานใด ๆ เลย ที่เรียกว่า ลูกบอลล์ชายหาด ก็คงเพราะว่า รูปร่างหน้าตาของสัญลักษณ์นี้มีรูปลักษณะอย่างนั้นจริง ๆ กล่าวคือเป็นรูปลูกบอลล์ |
boo | (บู) { booed, booing, boos } interj., n. (การ) คำอุทานแสดงการเหยียดหยามการไม่เห็นด้วย, โห่ฮิ้ว vt. ร้องเสียงอุทานดังกล่าว |
bullshit | (บูล'ชิท) n. ความไร้สาระ, การพูดความจริง. interj. คำอุทานแสดงความไม่เชื่อความไม่เห็นด้วย, Syn. nonsense |
cackle | (แคค'เคิล) { cackled, cackling, cackles } vi., n. (การ) ร้องเสียงกะต๊ากหรือกุ๊ก ๆ (ไก่) , หัวเราะกั๊กกั๊ก, พูดเสียงอึกทึก, ร้องเสียงที่แสดงการไม่เห็นด้วย, คำพูดเหลวไหล, See also: cackler n., Syn. cluck |
callous | (แคล'ลัส) adj. แข็ง, ด้าน, ไม่รู้สึก, ไม่สนใจ, เมินเฉย, ตายด้าน, ไม่เห็นอกเห็นใจ |
carriage return | ปัดแคร่แป้นปัดแคร่ใช้ตัวย่อว่า CR ในทางคอมพิวเตอร์ ถือเป็นตัวอักขระตัวหนึ่งที่มองไม่เห็น ใช้เมื่อสิ้นสุดการพิมพ์แต่ละบรรทัด และทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ลงไปอยู่เป็นตำแหน่งแรกของบรรทัดถัดลงมา โดยปกติ จะกำหนดให้กดแป้น <RETURN> หรือ <ENTER> |
deplore | (ดิพลอร์') vt. เสียใจมาก, ไม่เห็นด้วย, ตำหนิ, Syn. delight |
deprecate | (เดพ'ระเคท) vt. ไม่เห็นด้วย, คัดค้าน, ติเตียน, ดูถูก., See also: deprecation n. ดูdeprecate deprecator n. ดูdeprecate, Syn. protest, Ant. condone |
disaccord | (ดิสอะคอร์ด') vt., n. (การ) ไม่เห็นด้วย, ไม่ลงรอยกับ, ไม่สอดคล้องกับ |
disagree | (ดิสอะกรี') { disagreed, disagreeing, disagrees } vi. ไม่เห็นด้วย, ไม่เห็นพ้อง, โต้แย้ง, ทะเลาะ, ไม่เหมาะ, ทำความเสียหายแก่, Syn. dissent, quarrel |
disagreement | (ดิสอะกรี'เมินทฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, การทะเลาะ, การโต้แย้ง, Syn. rift |
disapproval | (ดิสอะพรู'เวิล) n. ความไม่เห็นด้วย, การไม่อนุญาต, ความไม่พอใจ, ความรังเกียจ, สีหน้าความรู้สึกหรือคำพูดที่ไม่เห็นด้วย, Syn. blame |
disapprove | (ดิสอะพรูฟว') vt. ไม่เห็นด้วย, ไม่พอใจ, รังเกียจ, ไม่อนุญาต., See also: disapprover n. ดูdisapprove, Syn. criticize |
discommend | (ดิสคะเมนดฺ') vt. แสดงความไม่พอใจ, ไม่เห็นด้วย |
discontenance | (ดิสเคา'ทะเนินซฺ) vt. ทำให้หมดกำลังใจ, ทำให้ไม่สบายใจ, ไม่เห็นด้วย n. ความไม่เห็นด้วย, Syn. disconcert |
discord | (ดิส'คอร์ด) { discorded, discording, discords } n. ความไม่ลงรอยกัน, ความบาดหมาง, ความไม่ประสานกัน, ความขัดแย้ง, การทะเลาะ, การต่อสู้, สงคราม, เสียงที่ไม่เข้ากัน. vi. ไม่เห็นด้วย, Syn. disagreement, strife |
discourage | (ดิสเคอ'ริจฺ) vt. ทำให้ท้อใจ, ขัดขวาง, ไม่เห็นด้วย. |
disfavor | (ดิสเฟ'เวอะ) n. ความไม่ชอบ, ความไม่เห็นด้วย, การกระทำที่เป็นภัย. vt. ไม่ชอบ, ไม่โปรด, Syn. disgrace |
disfavour | (ดิสเฟ'เวอะ) n. ความไม่ชอบ, ความไม่เห็นด้วย, การกระทำที่เป็นภัย. vt. ไม่ชอบ, ไม่โปรด, Syn. disgrace |
displeasure | n. ความไม่พอใจ, ความไม่เห็นด้วย, ความไม่สบายใจ, สิ่งที่ทำให้ไม่พอใจ vt. ไม่พอใจ, ทำให้ไม่พอใจ |
dissemble | (ดิเซม'เบิล) vt. อำพราง, กลบเกลื่อน, แกล้งทำเป็นไม่รู้ไม่เห็น, กลบเกลื่อน., See also: dissembler n. ดูdissemble dissemblingly adv. ดูdissemble, Syn. conceal, pretend, affect |
dissension | (ดิเซน'เชิน) n. ความไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ความไม่ลงรอยกัน, การทะเลาะ, ความขัดแย้ง, Syn. discord, disagreement |
dissent | (ดิเซนทฺ') vi. ไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ไม่ลงรอยกัน, ทะเลาะ, ขัดแย้ง, คัดค้าน n. ความแตกต่างของความคิด, การแยกจากโบสถ์, ความแตกแยก., Syn. differ, disagree, except, disagreement, Ant. assent |
dissenter | (ดิเซน'เทอะ) n. ผู้ไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ผู้แยกตัวออกจากโบสถ์, ผู้คัดค้าน |
dissidence | (ดิส'ซิเดินซฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, ข้อเสนอที่แตกต่างหรือขัดแย้ง, Syn. dissent |
dissident | (ดิส'ซิเดินทฺ) n. ซึ่งไม่เห็นด้วย, ซึ่งไม่ลงรอยกัน, ซึ่งมีความเห็นไม่พ้องกัน. n. ผู้ที่ไม่เห็นด้วย, ผู้ที่มีความเห็นไม่พ้องกัน, Syn. protestor, dissenter, nonconformist |
diversity | (ไดเวอ'ซิที) n. ความแตกต่าง, ความไม่เห็นกัน, ความหลากหลาย, การมีหลายชนิดหลายแบบ, ภาวะต่าง ๆ , นานา, Syn. distinctiveness, difference, Ant. uniformity |
generosity | (เจนนะรอส'ซิที) n. ความมีใจกว้าง, ความใจดี, ความอุดมสมบูรณ์, ความไม่เห็นแก่ตัว, Syn. liberality |
generous | (เจน'นะเริส) adj. ใจกว้าง, มีน้ำใจ, ใจดี, มากมาย, ไม่เห็นแก่ตัว, อุดมสมบูรณ์, (รส) เข้มข้น., Syn. munificent, liberal |
helluva | (เฮล'ละวะ) adj., adv. เลวมาก, ไม่เห็นด้วยอย่างมาก, ลำบากมาก, อย่างยิ่ง |
hoot | (ฮูท) v., n. (เสียง) ร้องเสียงอย่างนกเค้าแมว, ตะโกนออกอย่างไม่เห็นด้วยหรือเย้ยหยัน, ขับออก, ไล่. interj. คำอุทานแสดงความไม่พอใจ, See also: hooter n., Syn. jeer |
inappreciable | (อินอะพรี' เชียเบิล) adj. ไม่สำคัญ, เล็กน้อย, แทบจะไม่รู้สึก, แทบจะไม่เห็น., See also: inappreciability, inappreciableness n. inappreciably adv. |
infrared | (อินฟราเรด') n. รังสีใต้แดง มีความยาวคลื่นแสง0.8 - 1, 000ไมครอนส์ เป็นรังสีที่มองไม่เห็น., Syn. infra-red |
invisible | (อินวิช'ซิเบิล) adj. มองไม่เห็น, ไม่ปรากฎ, ซ่อนเร้น, เล็กจนมองไม่เห็น., See also: invisibility, n. invisibly adv., Syn. concealed, unseeable, Ant. visible |
jar | (จาร์) { jarred, jarring, jars } n. กระปุก, ขวดปากกว้าง, เหยือก, โอ่ง, ไห, โถ, เสียงสั่นสะเทือนระคายหู, การสั่นสะเทือน, อาการช็อค, ความไม่เห็นด้วย v. สั่นสะเทือน, ขัดแย้ง, ชนโครม, ไม่เห็นด้วย, See also: jaringly adv. ดูjar, Syn. vibrate |
magnanimity | (แมกนะนิม'มิที) n. ความมีใจกว้าง, ความมีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่, ความสูงส่ง, ความไม่เห็นแก่ตัว, ความมีจิตใจสูงส่ง, การกระทำที่มีใจสูงส่ง |
memory resident program | โปรแกรมในหน่วยความจำหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนที่เก็บเอาไว้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่เราไม่รู้ไม่เห็น และไม่สามารถเรียกมาดูได้ โดยมากเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ต่าง ๆ เช่น โปรแกรมตัวขับเมาส์ (mouse driver) เป็นต้น โปรแกรมประเภทนี้บางทีเรียกว่า TSR (terminate and stay residnts) |
merciless | (เมอ'ซิลิส) adj. ไร้ความปรานี, ไม่เห็นอกเห็นใจ., See also: mercilessly adv. mercilessness n., Syn. pitliless |
microscopic | (ไมโครสคอพ'พิค, -เคิล) adj. เล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น, เล็กมาก, จิ๋ว, See also: microscopically adv., Syn. minuscule, minute, tiny |
microscopical | (ไมโครสคอพ'พิค, -เคิล) adj. เล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น, เล็กมาก, จิ๋ว, See also: microscopically adv., Syn. minuscule, minute, tiny |
misunderstanding | (มิสอันเดอสแทน'ดิง) n. ความเข้าใจผิด, ความไม่สามารถจะเข้าใจได้, ความไม่เห็นด้วย, Syn. mistake |
night blindness | n. ภาวะที่ไม่สามารถมองเห็นได้ดีหรือมองไม่เห็นในเวลากลางคืน, See also: nightblind adj., Syn. nyctalopia |
nix | (นิคซฺ) n. ความไม่มีอะไร. -adv. ไม่. interj. คำอุทานแสดงความไม่เห็น vt. คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย, ห้าม |
non system disk | จานบันทึกที่ไม่มีแฟ้มข้อมูลระบบหมายถึง จานบันทึกที่ไม่สามารถนำมาใช้ ในการเริ่มเครื่องใหม่ (boot) ได้ ทั้งนี้ เพราะเมื่อจัดระบบการเก็บข้อมูล (format) ไม่ได้สั่งให้คัดลอกแฟ้มข้อมูลระบบมาด้วย แฟ้มข้อมูลระบบมี 3 แฟ้ม คือ Ibmbio.Com (Io.Sys) , Ibmdos.Com (Msdos.Sys) และ Command.Com สองแฟ้มแรกจะซ่อนอยู่ (hidden file) มองไม่เห็นบนจอภาพ จานบันทึกที่ไม่มีแฟ้มข้อมูลระบบทั้งสามนี้ เมื่อนำมาเริ่มเครื่องใหม่ จะมีข้อความระบุความผิดพลาดบนจอภาพ ว่า เป็น non-system disk และจะมีคำสั่งว่าให้กดแป้นใด ๆ ก็ได้เพื่อคอมพิวเตอร์จะได้ไปหาแฟ้มระบบนี้ในหน่วยบันทึกอื่นต่อไป |
nuts | (นัทซฺ) interj. คำอุทานแสดงความไม่เห็นด้วย ความหมดหวังหรืออื่น ๆ adj. บ้า, คลั่ง. -Phr. (be nuts about (on) คลั่ง), Syn. daft |
object | (ออบ'เจคทฺ) { objected, objecting, objects } n. สิ่งของ, วัตถุ, สิ่งที่เข้าใจได้, เรื่อง, เรื่องราว, จดหมาย, เป้าหมาย, วัตถุประสงค์, กรรมของกริยาหรือบุพบท, ภาวะวิสัย. vi. (ออบเจคทฺ') คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย, รังเกียจ, ไม่ยอม. vt. คัดค้าน., See also: objector n. |
objection | (อับเจค'เชิน) n. การคัดค้าน, การโต้แย้ง, การไม่เห็นด้วย, ตัวคัดค้าน, , Syn. rebuttal |
odds | (ออดซ) n., pl. ความเป็นต่อในการพนัน, โอกาสที่จะเป็นไปได้มากกว่า, ความได้เปรียบ, ปริมาณที่ดีกว่าหรือเหนือกว่า. -at odds ไม่ลงรอยกัน, ไม่เห็นด้วย. -Phr. (by all odds, by long odds, by odds อย่างไม่ต้องสงสัย, แน่นอน, ในทุกกรณี) |
Nontri Dictionary
blind | (adj) ตาบอด, มองไม่เห็น, เข้าใจยาก, ไม่มีทางออก |
blind | (vt) ทำให้ตาบอด, ทำให้มองไม่เห็น, ทำให้มืดมน |
callous | (adj) แข็ง, ด้าน, กระด้าง, ใจแข็ง, ใจดำ, ไม่เห็นใจ |
collide | (vt) ชน, กระแทก, ปะทะกัน, ขัดแย้ง, ไม่เห็นด้วย |
demur | (n) การคัดค้าน, การรีรอ, การต่อต้าน, การไม่เห็นด้วย |
demur | (vi) คัดค้าน, ต่อต้าน, รั้งรอ, ลังเล, ไม่เห็นด้วย |
deprecate | (vt) ต่อต้าน, ไม่เห็นด้วย, คัดค้าน, ชิงชัง |
deprecation | (n) การต่อต้าน, ความไม่เห็นด้วย, การคัดค้านความชิงชัง |
disagree | (vi) ไม่เห็นด้วย, ไม่ตกลงกัน, ทะเลาะกัน, โต้แย้ง |
disagreement | (n) ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง |
disfavour | (n) ความไม่ชอบ, ความไม่พอใจ, ความไม่ถูกใจ, ความไม่เห็นด้วย |
disfavour | (vt) ไม่พอใจ, ไม่โปรด, กริ้ว, ไม่ชอบ, ไม่ถูกใจ, ไม่เห็นด้วย |
displease | (vt) ทำให้ไม่พอใจ, ไม่ชอบ, ไม่ถูกใจ, โกรธ, ไม่เห็นด้วย |
dissension | (n) การทะเลาะ, การวิวาท, ความขัดแย้ง, ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน |
dissent | (n) ความขัดแย้ง, ความแตกแยก, ความไม่เห็นด้วย, ความแตกร้าว |
dissent | (vi) ไม่เห็นด้วย, คัดค้าน, ขัดแย้ง, แตกร้าว, ทะเลาะ, ไม่ลงรอยกัน |
dissenter | (n) ผู้คัดค้าน, ผู้ขัดแย้ง, ผู้ไม่เห็นด้วย |
dissidence | (n) ความขัดแย้ง, การไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน |
generous | (adj) เอื้อเฟื้อ, เผื่อแผ่, กรุณา, ใจกว้าง, มีน้ำใจ, ไม่เห็นแก่ตัว |
imperceptible | (adj) รู้สึกไม่ได้, มองไม่เห็น, เล็กน้อย |
invisible | (adj) ไม่เห็นตัว, ไม่ปรากฏ |
magnanimity | (n) ความเผื่อแผ่, ความใจกว้าง, ความเอื้ออารี, ความไม่เห็นแก่ตัว |
magnanimous | (adj) เผื่อแผ่, ใจกว้าง, เอื้ออารี, ไม่เห็นแก่ตัว |
merciless | (adj) ไม่ปรานี, ไม่สงสาร, ไม่เห็นใจ |
object | (vt) ทักท้วง, คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย |
overlook | (vt) ละเลย, มองข้าม, มองไม่เห็น |
sightless | (adj) ตาบอด, มองไม่เห็น, ไม่มีตา |
thankless | (adj) อกตัญญู, ไม่ขอบใจ, ไม่เห็นคุณค่า |
unselfish | (adj) เอื้อเฟื้อ, ไม่เห็นแก่ตัว, เผื่อแผ่, ใจกว้าง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
keypals | (n) กลุ่มคนที่พูดคุยกับเราโดยไม่เห็นหน้า(โดยเฉพาะบนอินเตอร์เน็ท) |
Longdo Approved JP-TH
否決 | [ひけつ, hiketsu] (vt) (สภา ที่ประชุม) มีมติไม่เห็นชอบ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
不透明 | [ふとうめい, futoumei] (adj) ไม่แจ่มชัด ไม่แจ่มแจ้ง ทึบแสง มองไม่เห็นอนาคต |
不透明 | [ふとうめい, futoumei] (adj) แปลตรงๆ ว่า ไม่แจ่มชัด ไม่แจ่มแจ้ง ทึบแสง. แต่โดยมากใช้ในความหมายว่า มองไม่เห็นอนาคต |
他愛 | [たあい, taai] (n) ความไม่เห็นแก่ตัว |
抗議 | [こうぎ, kougi] (n, adj) การคัดค้าน, การไม่เห็นด้วย |
Longdo Approved DE-TH
gar nicht | ไม่เลย เช่น Es ist gar nicht komisch. ไม่เห็นแปลกหรือน่าขันเลย |
Das ist mir Wurst! | (phrase) ช่างหัวมัน ไม่เห็นน่าสนใจ |หยาบเล็กน้อย| |
Kein Wunder! | (phrase) ไม่เห็นแปลก ไม่น่าประหลาดใจ ไม่ใช่เรื่องประหลาด |
widersprechen | (vi) |widersprach, hat widersprochen| โต้แย้ง, ไม่เห็นด้วย |
einverstanden | (adj, pp) ที่เห็นด้วย, เห็นพ้องต้องกัน เช่น Sie sind damit nicht einverstanden. (= Sie sind nicht dafür.) พวกเขา/คุณไม่เห็นด้วยกับเรื่องนี้, See also: Related: zustimmen |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0412 seconds, cache age: 9.267 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม