411 ผลลัพธ์ สำหรับ *เข้าใจ*
ภาษา
หรือค้นหา: เข้าใจ, -เข้าใจ-Longdo TH - TH
เบย | เลย เป็นคำแผลงที่มาจากการใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือพิมพ์ข้อความ เนื่องจากแป้นตัวอักษร ล ลิง และ บ ใบไม้ อยู่ใกล้กัน จึงทำให้เกิดการพิมพ์ผิดได้บ่อยครั้ง จนเป็นที่เข้าใจกันว่าถ้าพิมพ์ว่า เบย จะหมายความถึง เลย และยังแฝงถึงความรู้สึกเล่นๆ สนุกๆ ไม่จริงจัง กรณีที่พบบ่อย เช่นคำว่า จังเลย อาจแผลงได้เป็น จุงเบย เช่น เจ๊บจุงเบย (เจ็บจังเลย), ฮาจุงเบย (ฮา จังเลย) |
Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ฟิน | (adj, slang) สุดยอด, ที่สุด, สมหวัง, บรรลุ, จบ, เข้าใจว่าแผลงมาจากคำว่า finale (ฟิ นา เล่) ซึ่งแปลว่าช่วงสุดท้ายของการแสดง ซึ่งมักจะเป็นช่วงที่ดีที่สุด |
เซราะกราว | (adj, slang) บ้านนอก, ชนบท, การเป็นคนบ้านนอก (ใช้โดย โน้ตอุดม แต้พานิช ในการแสดงเดี่ยว ไมโครโฟน ในลักษณะเสียดสีทำนองเย้ยหยันว่ามาจากชนบท หรือ บ้านนอก เข้าใจว่าแผลงมาจากภาษาเขมร) |
Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เห็น = เข้าใจ | [ีือันเดอร์สะแตนด์] (vt) understand |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เข้าใจ | (v) understand, See also: comprehend, Syn. รู้เรื่อง, รู้ความหมาย, Example: ถ้าเธอเข้าใจเธอก็สามารถทำข้อสอบได้ ไม่ว่าจะออกมาในรูปแบบไหน, Thai Definition: รู้เรื่องหรือรู้ความหมายของเรื่องนั้นอย่างชัดเจน |
เข้าใจผิด | (v) misunderstand, See also: mistake, Syn. รู้ผิด, หลงผิด, Ant. เข้าใจถูก, Example: การกระทำเช่นนี้อาจทำให้ผู้อื่นเข้าใจผิด, Thai Definition: รู้ความหมายของเรื่องนั้นยังไม่ถูกต้อง |
เข้าใจยาก | (v) be hard to understand, See also: be difficult to understand, Ant. เข้าใจง่าย, Example: คำพูดของอาจารย์เข้าใจยาก ทำให้ผมต้องไปหาหนังสืออ่านเพิ่มเติม, Thai Definition: รับรู้ได้ลำบาก |
ไม่เข้าใจ | (v) not understand, See also: not know, Syn. ู้ไม่รู้เรื่อง, Example: พวกเขาไม่เข้าใจว่าสาขานี้เรียนอะไร จบไปแล้วทำอะไรได้บ้าง, Thai Definition: ไม่รู้ความหมายของเรื่องนั้นๆ |
ความเข้าใจ | (n) understanding, See also: comprehension, Syn. ความรู้ความเข้าใจ, Example: ครูขอให้นักเรียนทุกคนกลับไปทำความเข้าใจกับวิชานี้ใหม่ |
เข้าใจง่าย | (v) easily understood, See also: understand easily, Ant. เข้าใจยาก, Example: หนังสือเล่มนี้ขายดีเพราะใช้ภาษาที่ทำให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย, Thai Definition: รับรู้ได้ง่าย |
ทำความเข้าใจ | (v) try to understand, See also: endeavour to grasp, Example: เรื่องเพศเป็นเรื่องใหญ่ที่ต้องทำความเข้าใจให้ถูกต้อง, Thai Definition: พยายามเข้าใจความหมายของสิ่งนั้น |
ทำความเข้าใจ | (v) try to understand, See also: endeavour to grasp, Example: เรื่องเพศเป็นเรื่องใหญ่ที่ต้องทำความเข้าใจให้ถูกต้อง, Thai Definition: พยายามเข้าใจความหมายของสิ่งนั้น |
ทำความเข้าใจ | (v) try to understand, See also: endeavour to grasp, Example: เรื่องเพศเป็นเรื่องใหญ่ที่ต้องทำความเข้าใจให้ถูกต้อง, Thai Definition: พยายามเข้าใจความหมายของสิ่งนั้น |
ความเข้าใจผิด | (n) misunderstanding, See also: misleading, misinterpretation, Syn. ความเข้าใจพลาด, Example: มีความเข้าใจผิดระหว่างพ่อกับแม่ในเรื่องของการเงินที่ใช้จ่ายภายในบ้าน |
ปรับความเข้าใจ | (v) reconcile, See also: negotiate for mutual understanding, adjust differences, come to an understanding, Example: สถานการณ์เริ่มดีขึ้นเมื่อสองฝ่ายยอมปรับความเข้าใจกัน |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
เข้าใจ | ก. รู้เรื่อง, รู้ความหมาย. |
ก้นขบ | น. ชื่องูขนาดเล็กชนิด Cylindrophis ruffus (Laurenti) ในวงศ์ Aniliidae หรือ Uropeltidae สีดำแกมม่วง มีลายประตามลำตัวสีขาวเห็นได้ชัดเมื่อยังมีขนาดเล็ก ท้องมีลายดำขาวสลับกัน พื้นท้องของหางเกือบปลายสุดมีสีแดงอมส้ม ไม่มีพิษ แต่เข้าใจกันว่ามีพิษข้างหางเพราะชูและแผ่หางแบนม้วนให้เห็นเมื่อพบศัตรู. |
กระดิกหู | เข้าใจดี, รู้เรื่องดี, ใช้กับการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ภาษาอังกฤษฉันกระดิกหูเสียที่ไหนถึงจะให้ไปทำงานบ้านฝรั่ง. |
กล, กล- | (กน, กนละ-) น. การลวงหรือล่อลวงให้หลงหรือให้เข้าใจผิดเพื่อให้ฉงนหรือเสียเปรียบ เช่น เล่ห์กล, เล่ห์เหลี่ยม เช่น กลโกง |
เกี้ยว ๑ | ผ้าคาดเอวสำหรับขุนนาง เรียกว่า ผ้าเกี้ยว เช่น เกี้ยวลาย คือผ้าคาดเอวที่มีลาย (บางทีเข้าใจกันว่าเป็นผ้านุ่งอย่างหนึ่ง). |
แก้ ๒ | เฉลย, อธิบายให้เข้าใจ, เช่น แก้ปัญหา แก้กระทู้ |
แกล้ง | (แกฺล้ง) ก. ทำให้เดือดร้อนรำคาญ เช่น เขาแกล้งฉัน, แสร้ง เช่น เขาแกล้งทำเป็นปวดฟัน, จงใจทำ พูด หรือแสดงอาการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้เขาเสียหาย อาย เดือดร้อน ขัดข้อง เข้าใจผิด เป็นต้น เช่น ข้าพเจ้าไม่ได้ทำผิดเลยแต่เขาแกล้งใส่ร้าย |
แก้วกุ้ง | น. รังไข่ของกุ้งที่เจริญเต็มที่ มีสีแดงอมส้มหรือสีส้ม, ชาวบ้านเข้าใจว่าเป็นมันกุ้งที่เป็นก้อนอยู่ในหัวกุ้ง. |
ข่มขืนกระทำชำเรา | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ ชำเราบุคคลอื่น ไม่ว่าผู้กระทำหรือผู้ถูกกระทำจะเป็นชายหรือหญิง และจะเป็นคู่สมรสของตนหรือไม่ โดยใช้กำลังประทุษร้าย โดยผู้ถูกกระทำอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือโดยทำให้ผู้ถูกกระทำเข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอื่น. |
ของหายตะพายบาป | น. ของหายหรือเข้าใจว่าหายแล้วเที่ยวโทษผู้อื่น. |
เข้าถึง | ก. เข้าใจอย่างซาบซึ้ง เช่น เข้าถึงบท เข้าถึงวรรณคดี, เข้าใกล้ชิดสนิทสนมเพื่อจะได้รู้ซึ้งถึงชีวิตจิตใจและความต้องการเป็นต้น เช่น เข้าถึงประชาชน. |
ความรู้ | ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ เช่น ผู้ชายคนนี้เก่ง แต่ไม่มีความรู้เรื่องผู้หญิง. |
ความรู้สึกช้า | น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้ช้า เช่น เขาเป็นคนมีความรู้สึกช้า ต้องใช้เวลานานกว่าจะเข้าใจ. |
คิดเห็น | ก. เข้าใจ. |
โง่แล้วอยากนอนเตียง | ว. โง่แล้วไม่เจียมตัวว่าโง่ ไปทำสิ่งที่ตนไม่รู้ไม่เข้าใจ. |
จันทรคราส | (-คฺราด) น. “การกลืนดวงจันทร์” ตามความเข้าใจของคนโบราณที่เชื่อว่าพระราหูอมดวงจันทร์, จันทรุปราคา ก็เรียก. |
จับเข่าคุยกัน, จับหัวเข่าพูด | ก. พูดปรับความเข้าใจกันอย่างใกล้ชิด. |
จับความ | ก. จับใจความ, เข้าใจความหมาย. |
จับหัวเข่าพูด, จับเข่าคุยกัน | ก. พูดปรับความเข้าใจกันอย่างใกล้ชิด. |
จุดบอด | น. บริเวณที่เครื่องมือสื่อสารรับสัญญาณได้ไม่ชัด, บริเวณหลังลูกตาที่ไม่รับแสง, บริเวณที่ควรจะมองเห็นแต่ไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น ทางโค้งนี้มีจุดบอด ทำให้เกิดอุบัติเหตุรถชนกันบ่อย ๆ, จุดของปัญหาที่ไม่สามารถตัดสินใจหรือแยกแยะได้อย่างชัดเจนอาจจะเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงสภาวะที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้. |
จุนสี | (จุนนะสี) น. เกลือปรกติชนิดหนึ่ง ชื่อ คิวปริกซัลเฟต (CuSO4) เมื่อเป็นผลึกมีสูตร CuSO4.5H2O ลักษณะเป็นผลึกสีนํ้าเงิน ใช้ประโยชน์ในการชุบทองแดงด้วยไฟฟ้า ใช้เป็นสารฆ่าเชื้อรา ฆ่าลูกนํ้า, คนทั่วไปเข้าใจว่าเกิดจากสนิมทองแดง. |
เจตภูต | (เจดตะพูด) น. สภาพเป็นผู้คิดอ่าน คือ มนัส, ที่เรียกในภาษาสันสกฤตว่า “อาตมัน” เรียกในภาษาบาลีว่า “อัตตา” ก็มี “ชีโว” ก็มี, มีอยู่ในลัทธิว่า “ในโลกนี้ไม่มีอะไรสูญ แม้คนและสัตว์ตายแล้ว ร่างกายเท่านั้นทรุดโทรมไป ส่วนเจตภูตเป็นธรรมชาติไม่สูญ ย่อมถือปฏิสนธิในกำเนิดอื่นสืบไป”, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นสัสตทิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าเที่ยง, ตามสามัญที่เข้าใจกัน เจตภูต คือวิญญาณที่สิงอยู่ในตัวคน กล่าวกันว่าออกจากร่างได้ในเวลานอนหลับ. |
ฉาบหน้า | ก. เสแสร้งเพื่อให้เข้าใจว่ามีสถานะดีกว่าที่เป็นจริง. |
เฉลย | (ฉะเหฺลย) ก. อธิบายหรือชี้แจงข้อปัญหาต่าง ๆ ให้เข้าใจ เช่น เฉลยปัญหา เฉลยความ. |
ช่องว่าง | ความไม่เข้าใจกันของคนที่มีความคิด ฐานะ หรืออื่น ๆ ที่แตกต่างกัน เช่น ช่องว่างระหว่างคนมั่งมีกับคนยากจน ช่องว่างระหว่างวัย. |
ชี้แจง | ก. พูดขยายความให้เข้าใจชัดเจน. |
ซ้อม ๒ | ก. ทำทดลองเพื่อให้ชำนาญหรือให้แน่นอน เช่น ซ้อมรบ ซ้อมความเข้าใจ ซ้อมละคร. |
เซ่อ | ว. เขลาเพราะไม่เคยพบเคยเห็นมาก่อน, ไม่เห็นหรือไม่เข้าใจสิ่งที่น่าจะเห็นหรือน่าจะเข้าใจ เช่น ตาเซ่อ, งง เช่น ฟังเขาพูดจนเซ่อไปเลย. |
ดูเหมือน | ว. เข้าใจว่า เช่น ดูเหมือนตอนนี้เขาจะกลับบ้านไปแล้ว, คะเนว่า, เห็นจะ, เช่น ไฟฟ้าดูเหมือนจะดับราว ๆ ตี ๔. |
ตบตา | ก. หลอกหรือลวงให้เข้าใจผิด. |
ตลก | โดยปริยายหมายความว่า แกล้งทำหรือพูดให้คนอื่นเข้าใจผิดเพื่อผลประโยชน์ของตน เช่น เล่นตลก. |
ตลก | (ตะหฺลก) ว. ขบขัน, ที่ทำให้คนอื่นขบขันด้วยคำพูดหรือกิริยาท่าทางเป็นต้น เช่น หนังตลก, เรียกผู้ที่ทำให้คนอื่นขบขัน ว่า ตัวตลก, เรียกเรื่องที่ทำให้ขบขันหรือเข้าใจผิด ว่า เรื่องตลก. |
ตาบอดคลำช้าง | น. คนที่รู้อะไรด้านเดียวหรือนัยเดียวแล้วเข้าใจว่าสิ่งนั้นเป็นอย่างนั้น. |
ตาสว่าง | โดยปริยายหมายความว่า เข้าใจแล้วว่าอะไรผิดอะไรถูก เช่น เดี๋ยวนี้เขาตาสว่างแล้วหลังจากที่หลงผิดมานาน. |
ตีความ | ใช้หรือปรับให้เข้าใจเจตนาและความมุ่งหมายเพื่อความถูกต้องเป็นต้น |
ตีสองหน้า | ก. ทำให้ทั้ง ๒ ฝ่ายต่างเข้าใจว่าเป็นพวกตน. |
เต่าหก | น. ชื่อเต่าบกขนาดใหญ่ชนิด Manouria emys (Schlegel & Müller) ในวงศ์ Testudinidae ขาไม่ปรากฏนิ้วให้เห็น ขาหลังมีลักษณะคล้ายขาช้าง ระหว่างโคนขาหลังกับโคนหางทั้งสองข้างมีเดือยแหลมขนาดต่าง ๆ ลักษณะคล้ายเล็บยื่นออกมาจากผิวหนัง ทำให้เข้าใจผิดว่าเต่าชนิดนี้มี ๖ ขา กินพืชและผลไม้ป่า เช่น กล้วยป่า บอน หน่อไผ่ มักพบอาศัยอยู่ตามที่ที่มีความชื้นสูงตามป่าเขาสูงที่เป็นป่าดงดิบ จัดเป็นเต่าบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ตัวเต็มวัย หนักได้ถึง ๓๗ กิโลกรัม ในประเทศไทยพบ ๒ ชนิดย่อย ได้แก่ เต่าหกเหลือง [ M. e. emys (Schlegel & Müller) ] กระดองสีน้ำตาลอมเหลือง พบเฉพาะภาคใต้ตอนล่าง และเต่าหกดำ [ M. e. phayrei (Blyth) ] กระดองสีดำ พบเฉพาะภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้. |
ถอดความ | ก. แปลให้เข้าใจความได้ง่ายขึ้น. |
ถอดรหัส | ก. เปลี่ยนสารที่เป็นเครื่องหมายหรือสัญญาณเป็นต้น ให้เป็นสารที่เข้าใจได้. |
ทองดำ ๑ | น. ทองชนิดหนึ่ง โบราณเข้าใจกันว่ามีสีเนื้อดำ นับถือเป็นของวิเศษ. |
ทะลุปรุโปร่ง | ว. อาการที่เห็นหรือเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งโดยตลอด. |
เท่าทัน | ว. เทียมถึง, เข้าใจถึง. |
โทรคมนาคม | (-คะมะ-, -คมมะ-) น. การส่ง การกระจาย หรือการรับภาพ เครื่องหมาย สัญญาณ ข้อเขียน เสียง หรือการทำให้เข้าใจด้วยวิธีใด ๆ โดยอาศัยระบบสาย วิทยุสื่อสาร หรือระบบแม่เหล็กไฟฟ้าอื่น ๆ. |
ธรรมปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในธรรม คือ ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง, ความเข้าใจถือเอาใจความแห่งอธิบายนั้น ๆ ตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อขึ้นได้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
นย-, นยะ | (นะยะ-) น. เค้าความที่ส่อให้เข้าใจเอาเอง. |
นิรุตติปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในนิรุตติ คือ ความเข้าใจในภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำพูดอธิบายให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษาต่าง ๆ อาจชักนำคนให้เชื่อถือหรือนิยมตามคำพูด, กล่าวสั้น ๆ ว่า เข้าใจพูด, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติ-ปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
เนื้อถ้อยกระทงความ | น. ถ้อยคำที่ได้เรื่องได้ราวเข้าใจได้ชัดเจน. |
บทอัศจรรย์ | น. บทร้อยกรองตามธรรมเนียมนิยมในวรรณคดี พรรณนาเพศสัมพันธ์ของชายหญิง มักกล่าวให้เป็นที่เข้าใจโดยใช้โวหารเป็นสัญลักษณ์หรืออุปมาอุปไมยเป็นต้น. |
บริบท | (บอริบด) น. คำ ข้อความ หรือสถานการณ์แวดล้อมเพื่อช่วยให้เข้าใจความหมายของภาษาหรือของถ้อยคำ, ปริบท ก็ว่า. |
ใบ้ | ว. พิการแต่กำเนิด ไม่สามารถพูดเป็นถ้อยคำที่คนทั่ว ๆ ไปเข้าใจ, โดยปริยายหมายความว่า นิ่งไม่พูด เช่น นั่งเป็นใบ้. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
asymbolia | ภาวะเสียความเข้าใจสื่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
quidproquo | ความเข้าใจผิด [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
commonsense understanding | ความเข้าใจแบบสามัญสำนึก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
comprehension | ความเข้าใจซึ้ง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dyslexia | ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ, ภาวะเสียการอ่านรู้ความ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
understanding, commonsense | ความเข้าใจแบบสามัญสำนึก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
structural programming | การเขียนโปรแกรมโครงสร้าง, การเขียนโปรแกรมโดยใช้เฉพาะโครงสร้างควบมากเกินไปคุมที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้โปรแกรมซับซ้อนมากเกินไป วิธีนี้ช่วยช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น อันจะทำให้แก้ไขดัดแปลงโปรแกรมได้ง่ายขึ้นด้วย [คอมพิวเตอร์] |
International Nuclear Event Scale | มาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์, ขั้นความรุนแรงของเหตุการณ์เกี่ยวกับปัญหาด้านความปลอดภัยที่เกิดขึ้นในโรงงานนิวเคลียร์ โดยกำหนดเป็นมาตราสากล ตั้งแต่ระดับ 0 ถึง 7 เพื่อสื่อสารแก่ประชาชนให้เข้าใจได้ทันที [นิวเคลียร์] |
Speech recognition | เทคโนโลยีการรู้จำเสียงพูด, การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์และสามารถจดจําคําพูดของมนุษย์ได้อย่างต่อเนื่อง [Assistive Technology] |
Visual Strategies | กลวิธีผ่านการมอง, วิธีการที่ช่วยพัฒนาการสื่อสารของบุคคลออธิซึมหรือผู้ที่มีปัญหาการรับรู้ภาษาพูด โดยช่วยให้เด็กเข้าใจการสื่อสารจากภาษาพูดเป็นสื่อการรับรู้ด้วยภาพ เพื่อให้สามารถมีปฏิสัมพันธ์ในสังคมได้ [Assistive Technology] |
Comprehension (Theory of knowledge) | ความเข้าใจ (ทฤษฎีความรู้) [TU Subject Heading] |
Listening comprehension | ความเข้าใจในการฟัง [TU Subject Heading] |
Listening comprehension tests | การทดสอบความเข้าใจในการฟัง [TU Subject Heading] |
Reading comprehension | ความเข้าใจในการอ่าน [TU Subject Heading] |
Social intelligence | การเข้าใจสังคม [TU Subject Heading] |
APEC Study Centers | ศูนย์ศึกษาเอเปค มีการจัดตั้งศูนย์ศึกษาเอเปคในแต่ละประเทศสมาชิก 15 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคด้วยการ ศึกษา การพัฒนาฝีมือแรงงาน และอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรม ตลอดจนส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างสมาชิกเอเปคในภูมิภาค ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาเอเปคได้มีบทบาทสำคัญในกิจกรรมต่าง ๆ ของประเทศสมาชิก เช่น กิจกรรมการประเมินผลการดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการของเอเปค เป็นต้น [การทูต] |
Consulate | ตัวอาคารสถานที่ทำการของกงสุล และคณะเจ้าหน้าที่ทางกงสุล คำนี้อย่าเข้าใจปะปนกับคำว่า ?Chancery? ซึ่งหมายถึงอาคารสถานที่ทำการของเอกอัครราชทูตและคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ของตน [การทูต] |
Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Marshall Plan | แผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง [การทูต] |
Memorandum of Understanding | บันทึกความเข้าใจ ในทางปฏิบัติระหว่างประเทศถือเป็นสนธิสัญญาชนิดหนึ่ง [การทูต] |
Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Public Diplomacy | การทูตสาธารณะ หมายถึง การดำเนินการทางการทูตแบบหนึ่งเพื่อโน้มน้าวชักจูงให้สาธารณชนและกลุ่มเป้า หมายและกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ในต่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญต่อการตัดสินใจของรัฐให้มีความชื่นชมและเข้าใจ ถึงแนวทางการดำเนินนโยบายต่างประเทศของประเทศใคประเทศหนึ่ง ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระดับประชาชนให้มีความใกล้ชิดแน่นแฟ้น และประสบผลสำเร็จอน่างแนบเนียน โดยจะมี ความแตกต่างจากการดำเนินการทางการทูตแบบดั้งเดิม ที่เน้นการสื่อสารระหว่างรัฐต่อรัฐ(Government to Government)แต่การทูตสาธารณะจะเน้นวิธีการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ ประชาชน( Government to People) ภาคเอกชน ประชาสังคม หรือสื่อมวลชนในต่างประเทศหรือระหว่าประชาชนด้วยกันเอง อนึ่ง การทูตวัฒนธรรม (Cultural Diplomacy) ที่ใช้วัฒนธรรมเป็นสื่อเชื่อมความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนนั้น ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งของการดำเนินการทางการทูตสู่สาธารณชนนี้ [การทูต] |
Southeast Asia Fund for Institutional and Legal Development | กองทุนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อการพัฒนาสถาบันและกฎหมาย ไทยและแคนาดาได้จัดทำร่างบันทึกความเข้าใจระหว่างกัน เพื่อจัดตั้งสำนักงานกองทุนฯ ในประเทศไทย [การทูต] |
Thai Centre | ศูนย์วัฒนธรรมไทย " เป็นโครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ เพื่อให้ ชาวต่างประเทศได้รู้จักและเข้าใจประเทศไทย " [การทูต] |
Visa | การตรวจลงตรา กล่าวคือ เป็นเครื่องหมายแสดงการรับรองที่ประทับอยู่ในหนังสือเดินทางว่า หนังสือเดินทางฉบับนั้นได้รับการตรวจตราแล้ว ในกรณีที่ผู้ถือหนังสือดังกล่าวยื่นขอเดินทางเข้าไปในประเทศที่ให้การตรวจลง ตรา และทุกอย่างถูกต้องจึงให้ผู้นั้นเดินทางไปยังประเทศดังกล่าวได้อนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ของวรรค D ว่า หน้าที่ทางกงสุลข้อหนึ่งคือ ?ออกหนังสือเดินทางและเอกสารเดินทางให้แก่คนชาติของรัฐผู้ส่ง และตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่ง?พึง เข้าใจว่า แม้หนังสือเดินทางจะได้รับการตรวจลงตราแล้วก็ตาม ก็มิได้เป็นการประกันร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ผู้ถือหนังสือนั้นจะได้รับการยินยอมให้เดินทางเข้าไปในรัฐที่ให้การตรวจลง ตรา คือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองในรัฐนั้นอาจห้ามมิให้เข้าประเทศได้ ทั้ง ๆ ที่ได้รับการตรวจตราแล้วก็ตาม แต่การกระทำเช่นนี้เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมากการตรวจลงตราหรือวีซ่านั้น แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ1) การตรวจลงตราทางการทูต ซึ่งออกให้แก่บุคคลในคณะทูตและกงสุล รวมทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของต่างประเทศ2) การตรวจลงตราทางราชการ ออกให้แก่ข้าราชการที่ไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) ซึ่งจะเดินทางไปธุระราชการ และ3) การตรวจลงตราธรรมดา ออกให้แก่บุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) และ 2) มีหลายประเทศได้ให้การตรวจลงตราชั่วคราว การตรวจลงตราสำหรับลูกเรือเดินทะเล การตรวจลงตราสำหรับพ่อค้าต่างประเทศ การตรวจลงตราสำหรับนักศึกษา และการตรวจลงตราสำหรับผู้อพยพลี้ภัย เป็นต้น [การทูต] |
Alexia | อ่านไม่ออก, ความลำบากในการอ่าน, อาการอ่านไม่ได้, การไม่สามารถเข้าใจความหมายของภาษาเขียน [การแพทย์] |
Aphasia, Auditory | ได้ยินเสียงแต่ไม่เข้าใจความหมาย, ได้ยินแล้วไม่เข้าใจว่าเป็นเสียงอะไร [การแพทย์] |
Apraxia | ทักษะ, เคลื่อนไหวไม่ได้ถึงแม้ประสาทยังดีอยู่, ทักษะต่างๆ, กล้ามเนื้อไม่เป็นอัมพาต, ไม่สามารถพูดให้ผู้อื่นเข้าใจ [การแพทย์] |
Blindness, Cortical | อาการตาบอด, การเสื่อมสมรรถภาพในการเข้าใจการเห็นภาพ [การแพทย์] |
Clarify | ความเข้าใจ [การแพทย์] |
Cognition | การจดจำวัตถุด้วยการเรียนรู้, การรู้, พุทธิปัญญาความรู้, ความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ, การมีความรู้ความเข้าใจ, สติปัญญาความรู้ [การแพทย์] |
Cognitive Function | หน้าที่ทางการรู้, ความรู้ความเข้าใจต่างๆ [การแพทย์] |
Cognitive Orientation | ความรู้ความเข้าใจ [การแพทย์] |
Cognitive Theory | ทฤษฎีเกี่ยวกับการรู้, ทฤษฎีการรู้การเข้าใจ, ทฤษฎีการรู้การคิด [การแพทย์] |
Comprehension | ความเข้าใจ, ความเข้าใจภาษา, การเข้าใจ, การทำความเข้าใจ [การแพทย์] |
Comprehension of Speech | การเข้าใจภาษาพูด [การแพทย์] |
Comprehensive | เบ็ดเสร็จ, ความเข้าใจ [การแพทย์] |
Comprehensive of Language | การเข้าใจภาษา [การแพทย์] |
Concept, Modern | ความเข้าใจสิ่งที่ยอมรับในปัจจุบัน [การแพทย์] |
Defects, Receptive | ความลำบากหรือไม่เข้าใจคำพูดหรือหนังสือ [การแพทย์] |
Dyslexis | เกิดความเข้าใจยาก [การแพทย์] |
Dysphasia | ไม่สามารถพูดให้ผู้อื่นเข้าใจ, ดิย์สฟาเสีย, พูดไม่ได้แต่เขียนได้ [การแพทย์] |
Dysphasia, Sensory | ไม่สามารถเข้าใจภาษาและส่งภาษาได้ไม่แตกฉาน [การแพทย์] |
Education, Formal or Nonformal | ความรู้ความเข้าใจไม่ว่าทางการหรือไม่เป็นทางการ [การแพทย์] |
visual signal | การสื่อด้วยท่าทาง, พฤติกรรมทางสังคมของสัตว์โดยใช้การแสดงออกด้วยท่าทางเพื่อให้สัตว์อื่นเข้าใจความหมายที่ตนต้องการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
chemical signal | การสื่อด้วยสารเคมี, พฤติกรรมทางสังคมของสัตว์โดยใช้ฟีโรโมนเป็นสื่อให้สัตว์ตัวอื่นเข้าใจความหมายที่ตนต้องการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
sound signal | การสื่อด้วยเสียง, พฤติกรรมทางสังคมของสัตว์โดยใช้เสียงเป็นสื่อ เพื่อให้สัตว์ตัวอื่นเข้าใจความหมายตามที่ตนต้องการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
social behavior | พฤติกรรมทางสังคม, พฤติกรรมของสัตว์ที่มีระบบประสาทเจริญดีแสดงออกเพื่อให้เข้าใจความหมายซึ่งกันและกันได้ เมื่ออยู่รวมกันเป็นหมู่พวกหรือสัมพันธ์กัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
diagram | แผนภาพ, ภาพที่มีความหมายแทนข้อมูลชุดหนึ่ง เขียนขึ้นเพื่อช่วยให้เข้าใจข้อสรุปเกี่ยวกับข้อมูลชุดนั้นได้ดีขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
prefactory note | หมายเหตุคำนำ, ข้อความที่อยู่ใต้ชื่อเรื่องของตารางสถิติเพื่อให้เข้าใจเนื้อหาของตารางได้ดีขึ้น (ดู statistical table ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
scientific attitude | เจตคติทางวิทยาศาสตร์, ลักษณะของการคิดและปฏิบัติแบบนักวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจที่จะคิดและค้นคว้าทำความเข้าใจในปัญหาต่าง ๆ อยู่เสมอ ความละเอียดถี่ถ้วน มานะบากบั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์ในการคิดและปฏิบัติ ไม่เชื่อสิ่งใดอย่างง่าย ๆ โดยไม่มีเหตุผล ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
procedural languages | ภาษาเชิงกระบวนความ, ภาษาโปรแกรมที่มีลักษณะการทำงานตามลำดับของคำสั่งจากคำสั่งแรกจนถึงคำสั่งสุดท้าย และบางคำสั่งอาจจะถูกทำซ้ำ หรือบางคำสั่งอาจจะไม่ถูกกระทำเลย ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในโปรแกรม ภาษาในกลุ่มนี้เหมาะสำหรับการเริ่มต้นทำความเข้าใจกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เนื่องจากช่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
pseudocode | รหัสลำลอง, การจำลองขั้นตอนวิธีแก้ปัญหา โดยการอธิบายด้วยคำพูดที่เข้าใจได้ง่ายเป็นขั้น ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
trojan horse | ม้าโทรจัน, โปรแกรมแปลกปลอมที่ผ่านเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยการแอบแฝงตัวเองว่าเป็นโปรแกรมอื่น เช่น การหลอกให้ผู้ใช้เข้าใจว่าเป็นโปรแกรมเกม หรือ โปรแกรมสกรีนเซิร์ฟเวอร์ ที่ให้ผู้ใช้ดาวน์โหลดฟรีจากอินเทอร์เน็ต เมื่อผู้ใช้งานดาวน์โหลดโปรแกรมนี้เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์แ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
conclusion | การสรุปผลจากการทดลอง, คำตอบของปัญหา คำอธิบาย หรือความรู้ใหม่ ซึ่งสามารถนำเสนอแก่สาธารณะ โดยต้องจัดทำข้อมูล และรูปแบบนำเสนอ เพื่ออธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจในแนวคิด กระบวนการและผลของงานนั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
โดยเข้าใจผิด | [dōi khaojai phit] (adv) EN: due to a misunderstanding |
การเข้าใจผิด | [kān khaojai phit] (n, exp) EN: mistake |
การเข้าใจตื้น ๆ | [kān khaojai teūn-teūn] (n, exp) EN: limited experience ; small experience ; shallow in understanding ; superficial in understanding |
เข้าใจ | [khaojai] (v) EN: understand ; comprehend ; apprehend ; grasp ; see FR: comprendre ; saisir ; appréhender ; piger (fam.) ; voir |
เข้าใจเอาว่า | [khaojai ao wā] (v, exp) EN: suppose FR: supposer que |
เข้าใจล่ะ | [khaojai la] (xp) EN: I see FR: je vois ! |
เข้าใจแล้ว | [khaojai laēo] (xp) EN: I see FR: j'ai bien compris ; compris ; je vois |
เข้าใจไหม | [khaojai mai] (v, exp) FR: c'est compris ? |
เข้าใจไม่ยาก | [khaojai mai yāk] (v, exp) EN: be not difficult to understand FR: ne pas être difficile à comprendre |
เข้าใจง่าย | [khaojai ngāi] (v, exp) EN: understand easily ; easily understood FR: comprendre aisément ; être facile à comprendre |
เข้าใจผิด | [khaojai phit] (v, exp) EN: misunderstand FR: mal comprendre |
เข้าใจหรือเปล่า | [khaojai reū plāo] (v, exp) FR: c'est bien compris ? ; pigé ? (fam.) |
เข้าใจยาก | [khaojai yāk] (v, exp) EN: be hard to understand ; be difficult to understand ; be beyond comprehension FR: être difficile à comprendre |
ความเข้าใจ | [khwām khaojai] (n) EN: understanding ; comprehension FR: compréhension [ f ] |
ความไม่เข้าใจ | [khwām mai khaojai] (n, exp) FR: incompréhension [ f ] |
ไม่เข้าใจ | [mai khaojai] (v, exp) EN: not understand ; not know FR: ne pas comprendre |
ปรับความเข้าใจ | [prap khwām khaojai] (v, exp) EN: reconcile ; negotiate for mutual understanding ; adjust differences ; come to an understanding |
ทำให้เข้าใจผิด | [thamhai khaojai phit] (v, exp) EN: cause a misunderstanding ; mislead |
ทำความเข้าใจ | [tham khwām khaojai] (v, exp) EN: try to understand ; endeavour to grasp FR: essayer de comprendre |
ทฤษฎีความเข้าใจ | [thritsadī khwām khaojai] (n, exp) EN: cognitive theory |
Longdo Approved EN-TH
grok | (vt, jargon) ดื่มด่ำ, เข้าใจอย่างทะลุปรุโปร่ง [ เริ่มใช้โดย Robert A. Heinlein ในนิยายเรื่อง Stranger in a Strange Land. ] |
get | (vt) เข้าใจ เช่น Do you get it? คุณเข้าใจ (เรื่องนี้) หรือเปล่า, Oh, I got it now. อ้า ตอนนี้ฉันเข้าใจแล้ว |
empathize | (vt) |with so.| เห็นอกเห็นใจ, เข้าใจ, See also: empathy |
disorientated | (adj) สับสนและไม่เข้าใจว่าอะไรเกิดขึ้นรอบตัวเอง |
homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
roger that | (slang) รับทราบ, ทราบแล้วเปลี่ยน, เข้าใจแล้ว, ใช้บ่อยในกรณีที่สนทนากันทางโทรศัพท์หรือวิทยุสื่อสาร |
data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
gaslight | (vt) จัดฉากให้คนหนึ่งๆ รู้สึกว่าสิ่งที่เขาเข้าใจนั้นผิด, ปั่นหัวให้มีความเชื่อที่ผิดๆ จนทำให้เขาตั้งคำถามกับเกี่ยวกับสุขภาพจิตของตนเอง |
gaslighting | (n) การจัดฉากให้คนหนึ่งๆ รู้สึกว่าสิ่งที่เขาเข้าใจนั้นผิด, การปั่นหัวให้มีความเชื่อที่ผิดๆ จนทำให้เขาตั้งคำถามกับเกี่ยวกับสุขภาพจิตของตนเอง |
mansplaining | (n, slang) การกระทำที่ผู้พูด (มักเป็นผู้ชาย) อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟัง (มักเป็นผู้หญิง) ในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม https://dict.longdo.com/blog/word-of-the-day-mansplaining/ |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
abstruse | (adj) ยากที่จะเข้าใจ, Syn. deep, recondite |
aphasia | (n) การสูญเสียความสามารถในการใช้หรือเข้าใจคำพูด เนื่องจากการบาดเจ็บทางสมอง |
apprehend | (vt) เข้าใจ, Syn. understand, perceive |
apprehend | (vi) เข้าใจ, Syn. understand, perceive |
apprehension | (n) ความเข้าใจ, Syn. understanding |
apprehensive | (adj) สามารถเข้าใจได้เร็ว |
assuming | (adj) เป็นที่เข้าใจ |
above someone's head | (idm) ยากเกินกว่าจะเข้าใจ, See also: ฉลาดเกินกว่า บางคน จะเข้าถึง |
awake to | (phrv) ตระหนักถึง, See also: เริ่มเข้าใจ, Syn. wake to |
awaken from | (phrv) ทำให้เข้าใจความจริง, See also: ตื่นจากความฝัน, ทำให้รู้สึกตัว, ทำให้ตระหนักถึง, ทำให้ตื่นตัวเรื่อง, Syn. arouse from, waken from |
belie | (vt) ทำให้เชื่อหรือเข้าใจผิด |
benighted | (adj) ซึ่งปราศจากความเข้าใจ |
blankety-blank | (adj) ซึ่งละไว้ในฐานที่เข้าใจ (สำหรับคำพูดหยาบคาย) |
blindfold | (vt) ปิดบัง, See also: ทำให้ไม่เข้าใจแจ่มแจ้ง, Syn. blinker |
bark up the wrong tree | (idm) คิดผิด, See also: เข้าใจผิด |
be above one's head | (idm) ยากเกินกว่าจะเข้าใจ, Syn. be over |
be beyond | (phrv) ยากเกินไปสำหรับ(บางคน)เข้าใจหรือทำได้, See also: ยากที่จะทำได้ |
be beyond one's ken | (idm) ยากเกินกว่าจะเข้าใจหรือมีความรู้ในเรื่อง |
be in focus | (idm) กระจ่างชัด, See also: เข้าใจชัดแจ้ง, รู้ชัด, รู้แน่ชัด, Syn. bring into, come into |
be in the dark about | (idm) ไม่เข้าใจ, See also: สื่อสารไม่รู้เรื่อง, Syn. keep in |
be in the picture | (idm) เข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้น, Syn. be out of, put in |
be out of one's depth | (idm) พบว่า (บางสิ่ง) ยากเกินกว่าจะเข้าใจ, Syn. get out of, go out of |
be over one's head | (idm) เข้าใจยาก, See also: ยากเกินกว่าจะเข้าใจ, Syn. be above |
be past | (phrv) เข้าใจยาก, See also: ยากเกินกว่าจะเข้าใจ |
be with | (phrv) เข้าใจและชอบ (สิ่งที่ทันสมัย) (คำไม่เป็นทางการ), See also: ชื่นชอบ |
be with | (phrv) เข้าใจสิ่งที่อธิบาย, See also: ตามทันการสนทนา, ความคิด |
be within someone's grasp | (idm) สามารถเข้าใจหรือทำได้ |
beyond one's ken | (idm) ยากจะรู้ได้, See also: เกินกว่าจะเข้าใจ |
bring something into focus | (idm) ทำให้แน่ชัด, See also: ทำให้เข้าใจชัด, ทำให้กระจ่าง, Syn. be in, come into |
catch | (vt) เข้าใจ, Syn. comprehend, understand |
catch up with | (phrv) พยายามที่จะเข้าใจ, See also: พยายามที่จะเรียนให้ทัน |
clarify | (vt) ทำให้เข้าใจง่าย |
clear | (adj) ที่เข้าใจง่าย, Syn. explicit, plain, obious |
click | (vi) เข้าใจขึ้นอย่างฉับพลัน |
cognizable | (adj) ที่สามารถเข้าใจได้, See also: ที่สามารถรับรู้ได้, Syn. perceptible |
cognizance | (n) ความรู้ความเข้าใจ, Syn. knowledge |
compass | (vt) เข้าใจ, Syn. comprehend, understand |
compassable | (adj) ที่เข้าใจได้ |
complicated | (adj) ยากที่จะเข้าใจ, See also: ยากที่จะแก้ไข, Syn. complex, involved |
comprehend | (vt) ทำให้เข้าใจ, Syn. understand |
comprehensible | (adj) ที่เข้าใจได้, Syn. understandable, intelligible |
comprehension | (n) ความเข้าใจ, Syn. understanding, perception |
conceivable | (adj) ที่สามารถเข้าใจได้, Syn. understandable, thinkable |
conceive | (vt) เข้าใจ, Syn. apprehend, understand |
conception | (n) การเข้าใจ, Syn. apprehension, comprehension |
context | (n) บริบท, See also: ข้อความแวดล้อมที่ช่วยในการเข้าใจความหมาย, Syn. linguistic context |
crystal | (adj) ชัดเจนมาก, See also: ที่เข้าใจได้ง่าย, Syn. crystal-clear, clear |
catch on | (phrv) เข้าใจ, Syn. latch on |
catch on | (phrv) เข้าใจสิ่งที่พูด (คำพูดตลก), Syn. latch on |
click with | (phrv) เป็นที่เข้าใจสำหรับ (คำไม่เป็นทางการ), See also: เข้ากันได้ดีกับ |
Hope Dictionary
abstruse | (แอ็บสทรูส') adj. ยากที่จะเข้าใจ, เร้นลับ, ซ่อนเร้น -abstrusity, abstruseness n., Syn. obscure, complicated |
active window | วินโดว์ที่กำลังใช้งานหมายถึง วินโดว์ที่กำลังใช้อยู่ หรืออาจพูดให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ว่า เป็นวินโดว์ที่มีโปรแกรมที่กำลังเปิดใช้อยู่ หรืออยู่หน้าวินโดว์อื่น ๆ วินโดว์นี้ จะเป็นวินโดว์ที่ตอบสนองการสั่งงานทุกอย่าง ถ้าบนจอภาพมีวินโดว์แสดงอยู่มากกว่าหนึ่งวินโดว์ จะมีวินโดว์ใช้งานอยู่เพียงวินโดว์เดียว นอกนั้นเป็นวินโดว์ที่ไม่ได้ใช้งาน (non-active window) โดยปกติแล้ว ถ้าเป็นระบบไมโครซอฟต์ วินโดว์ของพีซี (PC) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะทราบว่า วินโดว์ ไหนเป็นวินโดว์ใช้งาน โดยดูที่แถบชื่อ (title bar) ถ้าวินโดว์ ใดมีแถบชื่อที่สีต่างกว่าวินโดว์อื่น วินโดว์นั้นจะเป็นวินโดว์ที่ใช้งานอยู่ ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช วินโดว์ใช้งานจะมีเส้นหลาย ๆ เส้น ในช่องแถบชื่อนั้น ส่วนวินโดว์ที่ยังไม่ใช้งานแถบชื่อจะว่างเปล่า |
alexia | (อะเลค' เซีย) n. ความผิดปกติของสมองที่ไม่สามารถเข้าใจสิ่งที่เชียนได้ |
all-around | (ออล' อะราวน์ดฺ) adj. ได้ทุกอย่าง, คล่องตัว, กว้างขวาง, หยั่งรู้, เข้าใจ, Syn. versatile |
ambiguous | (แอมบิก' กิวเอิส) adj. คลุมเครือ, กำกวม, มีหลายความหมาย, ยากที่จะเข้าใจ. |
apercu | (อะเพอซี') n., (pl. -cus) fr. การมองแวบเดียว, ความเข้าใจลึกซึ้ง, การสรุป |
apperceive | (แอพพะซีฟว') vt. รู้สึกตัว, เข้าใจ, สำนึก (comprehend) |
apperception | (แอพพะเซพ'เชิน) n. สติสัมปชัญญะ, ขบวนการเข้าใจ. -apperceptive adj. |
apprehend | (แอพพริเฮนดฺ') vt. จับ, ขัง, เข้าใจความหมาย, คาดคะเนด้วยความกังวลใจ ความสงสัยหรือความกลัว. -vi. เข้าใจ, ฟังเข้าใจ, กลัว, หวั่น. -apprehender n., Syn. arrest, seize, understand |
apprehensible | (แอพพริเฮน'ซิเบิล) adj. สามารถเข้าใจได้. -apprehensibility n. |
apprehension | (แอพพริเฮน'เชิน) n. ความสงสัย, ความกลัว, ความหวาดหวั่น, ความเข้าใจ, การหยั่งรู้, ความคิดเห็น, การจับกุม, Syn. dread, alarm, capture, comprehension |
apprehensive | (แอพพริเฮน'ซิฟว) adj. หวั่นว่าบางสิ่งบางอย่างอาจเกิดขึ้น, กลัว, สามารถเข้าใจได้เร็ว, ตระหนัก, Syn. fearful, anxious, afraid, perceptive, Ant. fearless, calm |
assemble | (อะเซม'เบิล) vt. รวบรวม, ประชุม, รวมเข้า. -assembler n., Syn. combine, collect, Ant. disperse, separate แปล ภาษาแอสเซมบลี หมายถึงแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง machine language เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ได้ |
assembler | แอสเซมเบลอร์ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีหมายถึง โปรแกรมที่ใช้เพื่อทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจ และปฏิบัติตามคำสั่งได้ ดู assembly language |
awry | (อะไร') adj., adv. งอหรือคดหรือเฉียงไปทางข้างหนึ่ง, เฉไป, เบี้ยว, ผิดทาง (เข้าใจ) ผิด |
belie | (บิไล') { belied, belieing, belies } vt. แสดงให้เห็นว่าไม่จริง, ขัดแย้ง, ไม่ตรงกับ, ใส่ความ, ทำให้คนอื่นเข้าใจผิด, See also: belier n., Syn. disguise |
believe | (บิลิฟว') { believed, believing, believes } vt. เชื่อ, มั่นใจใน, ศรัทธา, เชื่อว่า, เข้าใจว่า, See also: believable adj. ดูbelieve believer n. ดูbelieve, Syn. postulate, hold, Ant. disbelieve, doubt |
binary file | แฟ้มข้อมูลฐานสองหมายถึง แฟ้มที่บรรจุข้อมูลที่เป็นฐานสองเท่านั้น ข้อมูลเหล่านี้ คอมพิวเตอร์จะเข้าใจและรับรู้ได้ โดยปกติ แฟ้มข้อมูลเหล่านี้จะถูกกำหนดให้ใช้นามสกุล (file type) ว่า BIN ดู BIN ประกอบ |
black box | กล่องดำหมายถึง แผงวงจรหรืออุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งแยกออกมาต่างหาก โดยปกติผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเข้าใจว่า วงจรนั้นทำงานอย่างไร เป็นต้นว่า การถอดรหัสสัญญาณ |
blind | (ไบลนดฺ) adj., adv., vi., vt., n. (ทำให้, สิ่งที่ทำให้) ตาบอด, ไม่สามารถเข้าใจ, ไร้เหตุผล, ไร้สติ, เมาเหล้า, มืด, ไม่บังเกิดผล, ซ่อนเร้น, ลึกลับ, ดูไม่ออก, เข้าใจยาก, อุดตัน, ไม่มีทางออก, ตัวล่อ, นกต่อ, See also: blindness n. ดูblind, Syn. s |
block diagram | แผนภาพบล็อก <คำแปล>หมายถึงแผนภาพที่แสดงบล็อกรูปต่าง ๆ ที่มีการโยงด้วยเส้นหรือลูกศรให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ หรือการไหล (flow) หรือทิศทางเดินของข้อมูล |
c++ | (ซีพลัสพลัส) ภาษาซีที่ได้รับการปรับปรุง จนทำให้ผู้เริ่มเรียนสามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น มีเนื้อหาที่หนักไปทางเชิงวัตถุ (object oriented) มากขึ้น สามารถนำมาเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ได้ จึงได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน ดู object oriented ประกอบ |
calculate | (แคล'คิวเลท) { calculated, calculating, calculates } v คำนวณ, ถือว่า, เข้าใจว่า, คาดคะเน, คิดว่า, เดา, วางแผน, ประมาณ, Syn. compute -Conf. estimate |
call | (คอล) { called, calling, calls } vt., vi., n. (การ) เรียก, ร้องเรียก, ร้องขอ, เรียกให้ตื่น, อ่านออกเสียง, เข้าใจว่า, ถือว่า, ให้ชื่อ, มีชื่อ, มีนามว่า, เรียกไพ่, โทรศัพท์, สั่ง, ออกคำสั่ง, ไปเยี่ยม, แวะรับ, ตำหนิ, เลียนแบบ, Syn. exclaim เรียกเป็นคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม หมายถึง การสั่งให้โอนย้ายการทำงานชั่วคราวจากโปรแกรมหลัก main program ที่ทำอยู่ ไปทำงานที่โปรแกรมย่อย subprogram เป็นการชั่วคราว เมื่อทำงาน ในโปรแกรมย่อยเสร็จแล้ว ก็จะส่งผลที่ได้กลับไปทำในโปรแกรมหลักต่อ โดยจะกลับไปเริ่มที่คำสั่งถัดจากคำสั่ง "call" นั้น |
case sensitivity | การบังคับใช้ตัวเล็ก/ตัวใหญ่หมายถึง ความแตกต่างระหว่างการใช้ตัวใหญ่และตัวเล็กของตัวอักษรในภาษาอังกฤษ โปรแกรมบางโปรแกรมหรือระบบบางระบบจะบังคับว่า ต้องใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด หรือตัวเล็กทั้งหมด มิฉะนั้นเครื่องจะไม่เข้าใจ เช่น ชื่อโปรแกรมภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) หรือ ระบบยูนิกซ์ (UNIX) จะบังคับให้ใช้ตัวใหญ่เท่านั้น ส่วนระบบดอสและวินโดว์ไม่บังคับ กล่าวคือ ใช้ตัวเล็กก็ได้ตัวใหญ่ก็ได้ |
catch { caught | (แคทชฺ) vt., vi. จับ, จับไว้, คว้า, ตะครุบ, เกาะ, ฉวย, คล้องไว้, รับไว้, ต้านไว้, อุ้ม, รีบไป, พบโดยบังเอิญ, พบว่า, รับเชื้อ, ติดเชื้อ, ติดไฟ, ตีถูก, ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, เข้าใจ, Syn. take, see, contract |
catches } | (แคทชฺ) vt., vi. จับ, จับไว้, คว้า, ตะครุบ, เกาะ, ฉวย, คล้องไว้, รับไว้, ต้านไว้, อุ้ม, รีบไป, พบโดยบังเอิญ, พบว่า, รับเชื้อ, ติดเชื้อ, ติดไฟ, ตีถูก, ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, เข้าใจ, Syn. take, see, contract |
catcing | (แคทชฺ) vt., vi. จับ, จับไว้, คว้า, ตะครุบ, เกาะ, ฉวย, คล้องไว้, รับไว้, ต้านไว้, อุ้ม, รีบไป, พบโดยบังเอิญ, พบว่า, รับเชื้อ, ติดเชื้อ, ติดไฟ, ตีถูก, ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, เข้าใจ, Syn. take, see, contract |
caught | (แคทชฺ) vt., vi. จับ, จับไว้, คว้า, ตะครุบ, เกาะ, ฉวย, คล้องไว้, รับไว้, ต้านไว้, อุ้ม, รีบไป, พบโดยบังเอิญ, พบว่า, รับเชื้อ, ติดเชื้อ, ติดไฟ, ตีถูก, ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, เข้าใจ, Syn. take, see, contract |
cim | (ซีไอเอ็ม) 1. ย่อมาจาก computer input from microfilm (ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) 2. ย่อมาจาก computer integrated manufacturing (การผลิตแบบผสมผสานด้วยคอมพิวเตอร์) หมายถึงการผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์ร่วมด้วย |
clarify | (แคล'ริไฟ) { clarified, clarifying, clarifies } vt. ทำให้ชัดเจน vi. ใสสะอาด, กลายเป็นเข้าใจง่ายขึ้น, See also: clarification n. clarity n. ดูclarify |
cognition | (คอกนิช'เชิน) n. การรับรู้, กระบวนการรับรู้ สิ่งที่เข้าใจหรือรู้, ความรู้ความเข้าใจ., See also: cognitive adj. |
compass | (คัม'พัส) { compassed, compassing, compasses } n. เข็มทิศ, เส้นรอบวง, เส้นล้อม, พื้นที่, เนื้อที่, ขอบเขต, อาณาเขต, อาณาจักร, ระยะ, ขอบเขตที่เหมาะสม, See also: compasses n., pl. วงเวียน adj. โค้ง. vt. เคลื่อนรอบ, โอบล้อม, ล้อม, เดินอ้อมรอบ, วางแผน, เข้าใจ. คำที่ |
compile | (คัมไพล์') { compiled, compiling, compiles } vt. รวบรวม, เรียบเรียง แปลโปรแกรมหมายถึง แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษา โคบอล (COBOL) ซึ่งเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ ให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ การแปลนั้น คอมพิวเตอร์จะอ่านโปรแกรมทั้งหมดเข้าไปแล้วจึงจะลงมือแปล เมื่อเข้าใจแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งในโปรแกรมได้ |
complicated | (คอม'พละเคทิด) adj. ซับซ้อน, ยุ่งเหยิง, ยุ่งยาก, ยากที่จะวิเคราะห์ เข้าใจหรืออธิบาย, See also: complicatedness n. ดูcomplicated, Syn. complex |
comprehend | (คอมพริเฮนดฺ') { comprehended, comprehending, comprehends } vt. เข้าใจ, หยั่งรู้, รวมทั้ง, กินความกว้าง, ครอบคลุม, Syn. perceive, Ant. exclude -Conf. apprehend |
comprehensible | (คอมพริเฮน'ซะเบิล) adj. ซึ่งสามารถเข้าใจได้, ฉลาด, Syn. intelligible, comprehendible -Conf. comprehensive |
comprehension | (คอมพริเฮน'เชิน) n. ความเข้าใจ, ภาวะที่เข้าใจ, ความสามารถเข้าใจ, ความสามารถในการเรียนรู้, การครอบคลุม, การกินความกว้าง, Syn. perception, grasp |
comprehensive | (คอมพริเฮน'ซิฟว) adj. กว้างขวาง, ครอบคลุม, เข้าใจได้กว้าง, ซึ่งหยั่งรู้, ซึ่งประกันความเสียหายอย่างกว้างขวาง n. การทดสอบความรู้อย่างกว้างขวาง, See also: comprehensiveness n. ดูcomprehensive, Syn. far-reaching, wide |
computer architecture | หมายถึง ระบบโครงสร้าง อุปกรณ์ หรือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ในบางกรณี อาจหมายถึงการออกแบบระบบการสื่อสารติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ว่ากันว่า บริษัทไอบีเอ็มมีการออกแบบโครงสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เข้าใจง่ายกว่ายี่ห้ออื่น ทำให้มีการสร้างเครื่องเลียนแบบ (compatibles) ไอบีเอ็มขายเต็มตลาดได้ในขณะนี้ |
computer input from micro | ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
computer literacy | การรู้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานหมายถึง การเรียนรู้เพียงเพื่อให้เข้าใจพื้นฐานหรือความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับการทำงาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และการนำเครื่องไปใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ |
computer program | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์หมายถึง คำสั่งคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง ๆ ที่เขียนขึ้นเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิก (BASIC) หรือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ฯ คำ "โปรแกรม" นี้ อาจจะเรียกเป็นชื่ออื่นก็ได้ เช่น ซอฟต์แวร์ (software) หรือ แอพพลิเคชัน (application) โปรแกรมนั้น แบ่งได้เป็นหลายประเภท ประเภทแรกคือประเภทที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเองเพื่อให้ตรงกับความต้องการ กับอีกประเภทหนึ่งมีคนทำสำเร็จรูปไว้ขาย เช่น โปรแกรมสำหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) นอกจากนั้น ยังมีโปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีบางส่วนติดตั้งมาจากโรงงานที่ผลิตเลย และโปรแกรมระบบปฏิบัติการ (operating system) ที่จะทำหน้าที่เหมือนแม่บ้านคอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานให้ประสานกัน สรุปว่า คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ทุกอย่าง แต่คนเขียนคำสั่งต้องเข้าใจขั้นตอน วิธี (algorithm) และภาษาที่จะใช้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนสั่งเครื่องให้ทำงานได้ |
computer programmer | นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์หมายถึง คนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้ และควรจะมีความชำนาญด้วย (สำหรับคนที่หัดเขียนใหม่ ๆ ไม่ควรจะใช้คำ ๆ นี้) นักเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น จะต้องรู้วิธีแก้ปัญหา และรู้ด้วยว่า จะแก้อย่างไร รวมทั้งต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งได้ |
computer virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์หมายถึง โปรแกรมที่คนบ้า ๆ เขียนซ่อนไว้เพื่อทำลายโปรแกรม แฟ้มข้อมูลหรือ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ่ง คือ เกาะติดตามไปกับโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูลได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฟ้มข้อมูล command.com ทำให้มีการติดต่อระบาดไปในที่ต่างได้เหมือนเชื้อไวรัส สาเหตุของการติดไวรัส ก็คือมีการใช้จานบันทึกร่วมกัน ไวรัสเหล่านี้มักจะกำหนดมาให้เพิ่มความสามารถในการทำลายทุกครั้งที่เปิดเครื่อง หรือทุกครั้งที่ใช้โปรแกรมนั้น วิธีการป้องกันไวรัสในขั้นต้นก็คือ 1. อย่าใช้จานบันทึกของผู้อื่น หรือร่วมกับผู้อื่น2. ใช้โปรแกรมที่สามารถตรวจสอบและกำจัดไวรัสได้เป็นประจำ หรือทุกครั้งที่ใช้จานบันทึกในหน่วยบันทึก A: หรือ B: รวมทั้งจัดการใช้วัคซีนฉีดกันไว้ก่อน แม้ว่าในปัจจุบัน ไม่สู้จะได้ผลนัก เพราะมีไวรัสใหม่ ๆ เพิ่มมาทุกวัน (ดู vaccine) 3. จัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ใหม่ วิธีนี้รับประกันได้ผลแน่นอน แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่า ข้อมูลหรือโปรแกรมอื่นที่เก็บไว้แม้จะยังมิได้ติดไวรัสก็จะหายไปหมด พร้อมกับไวรัส |
conceive | (คันซีฟว') { conceived, conceiving, conceives } vt. นึกคิด, คิดได้, ก่อขึ้นในใจ, เชื่อ, ตั้งครรภ์, เข้าใจ. vi. คิด, มีความคิด, จินตนาการ, Syn. start, originate |
count | (เคาทฺ) { counted, counting, counts } v., n. (การ) นับ, นับจำนวน, นับค่า, คิด, คิดว่า, นับว่า, ถือ, เข้าใจว่า, หวังว่า.มขุนนางยุโรปที่มี่ตำแหน่งฐานะเท่าท่านเอิร์ลของอังกฤษ -Phr. (count beyond นับไม่หมด นับไม่ไหว) -Phr. (count down นับย้อนกลับ นับถอยหลัง (ไปยังศูนย์)) - |
crabbed | (แครบ'บิด) adj. มีอารมณ์ฉุนเฉียว, โกรธง่าย, ดื้อรั้น, เข้าใจยาก, อ่านยาก., See also: crabbedness n. ดูcrabbed |
cramp | (แครมพฺ) n. ตะคริว, อาการปวดท้องอย่างกะทันหัน, อุปกรณ์หรือโครงยึด, สิ่งยึด, ภาวะที่เป็นตะคริว, ภาวะที่ถูกยึด adj. เข้าใจยาก, อ่านยาก, ยาก, หด, คับแคบ, Syn. contraction |
Nontri Dictionary
abstract | (adj) ซึ่งเข้าใจยาก, เป็นนามธรรม |
apperception | (n) ความเข้าใจ, สติสัมปชัญญะ |
apprehend | (vi, vt) จับกุม, ขัง, เข้าใจความหมาย, กลัว, หวาดหวั่น |
apprehension | (n) การจับกุม, ความเข้าใจ, ความหวาดหวั่น, ความเกรงกลัว |
apprehensive | (adj) เข้าใจง่าย, เกรงกลัว, หวาดหวั่น |
blind | (adj) ตาบอด, มองไม่เห็น, เข้าใจยาก, ไม่มีทางออก |
cognition | (n) ความรู้ความเข้าใจ, ญาณ |
comprehend | (vt) เข้าใจ, หยั่งรู้, ทราบ |
comprehensible | (adj) ซึ่งสามารถเข้าใจได้ |
comprehension | (n) ความเข้าใจ, การหยั่งรู้ |
comprehensive | (adj) เกี่ยวกับความเข้าใจ, กินวงกว้าง, กว้างขวาง, ครอบคลุม |
count | (vt) นับ, คำนวณ, คิดว่า, หวังว่า, เข้าใจว่า |
crabbed | (adj) ยุ่งเหยิง, เข้าใจยาก, อ่านยาก, ฉุนเฉียว, โกรธง่าย |
deception | (n) ความหลอกลวง, การตบตา, ความเข้าใจผิด, เล่ห์เพทุบาย, การต้มตุ๋น |
deem | (vi) เชื่อว่า, เห็นว่า, ถือว่า, รู้สึกว่า, คิดว่า, เข้าใจว่า, ลงความเห็นว่าน |
delude | (vt) หลอกลวง, ตบตา, แหกตา, ทำให้เข้าใจผิด |
delusion | (n) การหลอกลวง, การตบตา, โมหันธ์, ภาพลวงตา, ความเข้าใจผิด |
delusive | (adj) หลอกลวง, ตบตา, ซึ่งทำให้เข้าใจผิด |
discerning | (adj) หยั่งรู้, ฉลาด, รู้, เข้าใจ |
discernment | (n) การหยั่งรู้, ความฉลาด, การเข้าใจ |
disillusion | (n) การทำให้รู้ความจริง, การปลดเปลื้อง, การเข้าใจถูก |
erroneous | (adj) ผิดพลาด, ทำผิด, เข้าใจผิด, ไม่ถูกต้อง |
expect | (vt) คาดหวัง, คาดหมาย, คาดคิด, เข้าใจว่า, คอยท่า |
fallacy | (n) การลวงให้เข้าใจผิด, การเข้าใจผิด, การหลอกลวง |
fathom | (vt) วัดความลึก, หยั่งความลึก, เข้าใจ |
fathomless | (adj) ไม่อาจหยั่งถึง, สุดจะหยั่งถึง, ไม่อาจเข้าใจได้ |
feel | (vi, vt) รู้สึก, สำนึก, เข้าใจ, เห็นใจ, สัมผัส, คลำหา, ทาบทาม, สำรวจ |
get | (vi) มาถึง, เข้าใจ, บรรลุ, กลายเป็น, ได้เงิน, มีรายได้ |
grasp | (vt) ฉวย, คว้า, จับแน่น, เข้าใจ, กำ, รู้ซึ้ง |
guess | (vi, vt) เดา, คาดคะเน, สุ่ม, ทาย, เข้าใจว่า, คิดว่า |
imagine | (vi, vt) นึกฝัน, เข้าใจ, คิด, คาดการณ์, จินตนาการ |
imbroglio | (n) ความยุ่งยาก, ความยุ่งเหยิง, ความสับสน, ความเข้าใจผิด |
impalpable | (adj) สัมผัสไม่ได้, ไม่มีตัวตน, ยากจะเข้าใจ |
impenetrable | (adj) ผ่านเข้าไปไม่ได้, เข้าใจยาก, ไม่ยอมรับ |
incomprehensible | (adj) เข้าใจยาก |
inscrutable | (adj) ไม่อาจจะหยั่งรู้ได้, ลึกลับ, เข้าใจยาก |
intelligible | (adj) เข้าใจได้, เป็นภาษา, เข้าใจง่าย |
know | (vi, vt) รู้จัก, จำได้, เข้าใจ, รู้, ตระหนัก, ทราบ |
knowledge | (n) ความรู้, ความเข้าใจ, ความรู้จัก |
misapprehend | (vt) เข้าใจผิด |
misapprehension | (n) ความเข้าใจผิด |
misconceive | (vt) มีความเห็นที่ผิด, เข้าใจผิด |
misconception | (n) ความเข้าใจผิด, ความเห็นผิด |
misconstrue | (vt) เข้าใจผิด, ตีความผิด, แปลความผิด, วินิจฉัยผิด |
misinform | (vt) บอกผิด, พูดให้เข้าใจผิด, ให้ข้อมูลผิด |
misinterpret | (vt) แปลความผิด, ตีความผิด, ถอดความผิด, เข้าใจผิด |
misinterpretation | (n) การแปลความผิด, การตีความผิด, การถอดความผิด, การเข้าใจผิด |
mistake | (n) ความผิด, การสำคัญผิด, ข้อผิดพลาด, การเข้าใจผิด |
mistake | (vt) ทำผิด, สำคัญผิด, เข้าใจผิด, ผิดพลาด, หลงผิด |
misunderstand | (vt) เข้าใจผิด, ตีความผิด |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
at a glance | (phrase) ปรายตา, ชำเลืองมอง, มองผ่าน ๆ ก็เข้าใจ |
climate | (n) ขอแสดงความคิดเห็นนะครับ ไม่ใช่คำแปล คำนี้ไม่ได้มีความหมายคล้ายกับ weather คนไทยส่วนใหญ่ไม่ได้เข้าใจความหมายอย่างชัดเจนระหว่างคำสองคำนี้ จึงอยากให้ทางลองดูช่วยให้ความหมายอย่างชัดเจนว่า climate หมายถึง ลักษณะภูมิอากาศของภูมิประเทศ ส่วน weather คือ ลักษณะอากาศขณะหนึ่ง |
comprehension | (n) เข้าใจ, สรุป |
Context (contexte) | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) บริบท (คำหรือข้อความแวดล้อมที่ช่วยให้เข้าใจความหมาย |
Copy that | (slang) (ทางทหาร) รับทราบ, ได้ยิน, เข้าใจ มักใช้สื่อสารทางวิทยุ |
empathic | (adj) ความเข้าใจความรู้สึกของคนอื่น |
get your head around something | สามารถเข้าใจเรื่องนั้นได้ to be able to understand something (โดยปกติจะใช้ใ นเชิงลบ) |
image schema | ภาพร่าง -- เป็นความเข้าใจพื้นฐานที่เราสร้างขึ้นจากประสบการณ์การรับรู้ที่ผ่านมา |
Inclusive Education | (n) การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น คนพิการ คนด้อยโอกาส คนไร้สัญชาติ คนอพยพ โดยคำนึงถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือระบบการศึกษาแบบปกติ มีจุดมุงหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับความแตกต่าง ความสามารถระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข |
infographic | [อินโฟ กราฟฟิค] (n, computer) ย่อมาจาก Information Graphic - ภาพ/กราฟิก ที่บ่งชี้ข้อมูล ประเภทสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ มาย่นย่อข้อมูลในแผ่นกระดาษ หรือการนำเสนอ เพื่อให้มองดู/ประมวลผลได้ง่ายเพียงแค่กวาดตามอง เหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอที ที่มีข้อมูลซับซ้อนมหาศาล สามารถเข้าใจรับรู้ในเวลาอันจำกัด (ภาพหนึ่งภาพแทนพันอักษร) และในปัจุบันเป็นที่นิยมในโลกของ Social Network |
mansplaining | การกระทำที่ผู้พูด อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟังในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม |
moonspeak | (slang) การพูดภาษาที่คนอื่นไม่เข้าใจ ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA) |
mou | (phrase, abbrev) Memorandum Of Understand - ขอทำบันทึกความเข้าใจ |
pedobear | เอาแบบสั้น ๆ เข้าใจง่าย ๆ คือเจ้าหมีสีน้ำตาลที่ชอบ(ลักพาตัว)สาวโลลิ!! อ๊าา พี่หมี xD เกิดจาก 4ch นั้นเอง ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA) |
subtly | (adv) เข้าใจยาก ลึกลับ มีเลศนัย, Syn. subtle |
Longdo Approved JP-TH
つんでれ;ツンデレ | [つんでれ, tsundere] (adj) อาการที่แสดงออกทางบุคลิกภาพทีแรกเป็นแบบ เย็นชา หรือกระทั่ง โหดร้าย (คือคำว่า ツンツン tsun tsun) ต่อใครคนหนึ่ง แต่ภายหลังก็เปลี่ยนเป็นอ่อนโยน (คือคำว่า デレデレdere dere) เป็นคำที่เริ่มแรกใช้ในการ์ตูน, anime ในประเทศญี่ปุ่น ก่อนจะขยายวงกว้างเป็นที่เข้าใจกันแพร่หลายมากขึ้น |
了解 | [りょうかい, ryoukai] (n) ความเข้าใจ, ความยินยอม เช่น 了解しました เข้าใจแล้วครับ, ตกลงตามนั้น |
勘違い | [かんちがい, kanchigai] (adj) เข้าใจผิด |
存知 | [ぞんじ, zonji] (n) ทราบเรื่อง, เข้าใจเรื่อง |
意味が通らない | [いみがとおらない, imigatooranai] (adj) ไม่เข้าใจความหมาย |
明敏 | [めいびん, meibin] (n, adj, adv) ความคิด, เชาวน์, ไหวพริบ, มีไหวพริบ, เข้าใจภาษา, เป็นเรื่องเป็นราว, ฉลาด, รู้จักคิด, รู้จักเหตุผล, ข่าวคราว |
誤解 | [ごかい, gokai] (n) การเข้าใจผิด |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
意味を取る | [いみをとる, imiwotoru] (vt) เข้าใจความหมาย |
バラツキ | [ばらつき, baratsuki] (n) ความแตกต่าง(ด้านความสามารถ, ไหวพริบ, ความเข้าใจ) |
表示 | [ひょうじ, hyouji] การแสดงให้เข้าใจ การแสดงด้วยตาราง |
捕捉 | [ほそく, hosoku] (n, vt) 1.การจับ, การจับกุม 2.การจับใจข้อความ, การทำความเข้าใจ |
納得 | [なっとく, nattoku] การเข้าใจยอมรับ |
不可解 | [ふかかい, fukakai] ยากเกินจะเข้าใจได้, ราวกับปริศนา |
分かり易い | [わかりやすい, wakariyasui] (adj) เข้าใจได้ง่าย |
ちんぷんかんぷん | [わかりやすい, chinpunkanpun] (n) เรื่องที่ไม่เข้าใจ, ไม่รู้เรื่องรู้ราวอะไรเลยซักกะนิืด |
得体の知れない | [えたいのしれない, etainoshirenai] (adj) ยากจะอ่านออก, ยากจะมองออก, ยากจะเข้าใจ, ไม่รู้ลึกตื้นหนาบาง |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
懇切 | [こんせつ, konsetsu] TH: ลักษณะที่ละเอียดประณีตเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจง่าย EN: exhaustiveness |
分かる | [わかる, wakaru] TH: เข้าใจ EN: to understand |
通じる | [つうじる, tsuujiru] TH: เป็นที่เข้าใจได้(เพราะมีมาตลอด) |
通じる | [つうじる, tsuujiru] TH: สื่อความหมายได้เข้าใจ |
聞き取る | [ききとる, kikitoru] TH: ฟังเข้าใจ EN: understand |
わかる | [わかる, wakaru] TH: เข้าใจ |
受け取る | [うけとる, uketoru] TH: เข้าใจ EN: to understand |
読み込む | [よみこむ, yomikomu] TH: อ่านจนเข้าใจ |
知る | [しる, shiru] TH: เข้าใจ EN: to understand |
判る | [わかる, wakaru] TH: เข้าใจอย่างถ่องแท้ EN: to understand |
Longdo Approved DE-TH
schnell von Begriff sein | (phrase) เข้าใจสิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว |
verstehen | (vt) |verstand, hat verstanden| เข้าใจ เช่น Ich habe dich gut verstanden., See also: kapieren |
sich verstehen mit (+D) | (vt) เข้าใจกันดีกับ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับ เช่น Je länger desto besser verstehe ich mich mit ihm. |
Das versteht sich von selbst. | เป็นที่เข้าใจได้ |
leicht verdaulich | (adj) ง่ายต่อการเข้าใจ เช่น Das Buch ist leicht verdaulich. หนังสือเล่มนี้ง่ายต่อการเข้าใจ |
kapieren | (vt, slang) |kapierte, hat kapiert| เข้าใจ เช่น Ich kapiere das einfach nicht! = ผมไม่เข้าใจมันเลยเนี่ย ให้ตายสิ!, Syn. verstehen |
bewusst | (adj) ที่รู้ตัว, ที่มีสติ, ที่ตื่นตัว, ที่เข้าใจอย่างถ่องแท้ |
durchschauen | (vt) |durchschaute, hat durchschaut| เข้าใจทะลุปรุโปร่ง, เห็นหมด(มักหมายถึงเหตุการณ์ที่ซับซ้อน ซ่อนเงื่อน) เช่น Mich kann er nicht täuschen. Ich habe seine Pläne durchschaut. เขาไม่สามารถหลอกลวงฉันได้ ฉันเข้าใจแผนการณ์ของเขาหมด |
mit anderen Worten | (phrase) อีกนัยหนึ่ง(ที่พูดได้เข้าใจง่ายกว่านั้นอีก), Syn. anders gesagt |
begreifen | (vt) |begriff, hat begriffen| เข้าใจ, See also: nachvollziehen, fassen, Syn. verstehen |
verleiten | (vt) |verleitete, hat verleitet| ทำให้เข้าใจผิด, นำไปสู่ทางที่ไม่ดี เช่น Fernsehwerbung verleitet Kinder zu viel Süßem.; Unser Steuersystem verleitet Unternehmen zur Flucht. |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Weltanschauung { f } | ความเข้าใจในการมองโลกและชีวติมนุษย์ |
Longdo Approved FR-TH
comprendre | (vt) เข้าใจ เช่น Vous comprenez? คุณ (พวกคุณหรือพวกเธอ) เข้าใจไหมคะ, See also: prendre |
entendement | (n) le, (compréhension)ความเข้าใจ , (intelligance)ความมีไหวพริบ |
entendre | (vt) ฟัง, (comprendre)เข้าใจ, (vouloir dire)แสดงความคิดเห็น, (vouloir)ต้องการจะ เช่น j'entends par là que... = ฉันอยากจะบอกว่า..., ผมอยากจะพูดว่า... |
me | สรรพนามบุรุษที่หนึ่งในรูปกรรมตรง เช่น Tu me comprends? เธอเข้าใจฉันไหม, Tu m'écoutes? เธอฟังฉันอยู่หรือเปล่า |
te | สรรพนามบุรุษที่สองในรูปกรรมตรง เช่น Je te comprends. ฉันเข้าใจเธอนะ, Je t'invite. ฉันขอเชิญเธอ |
d'accord | (phrase) ตกลง, เห็นด้วย, โอเค (เป็นวลีที่ใช้บ่งแสดงความเห็นพ้องหรือความเข้าใจ) |
il n'y a que | (phrase) มีเพียงสิ่งนั้นๆสิ่งเดียวเท่านั้น เช่น Il n'y a que toi qui me comprends. = มีเพียงเธอเท่านั้นที่เข้าใจฉัน |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0464 seconds, cache age: 0.225 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม