369 ผลลัพธ์ สำหรับ *ฟื้น*
ภาษา
หรือค้นหา: ฟื้น, -ฟื้น-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ฟื้น | (v) regain, See also: recover, revive, recuperate, Syn. รู้สึกตัว, Example: เขาฟื้นขึ้นแล้วหลังจากที่สลบไปนานกว่า 3 วัน, Thai Definition: ตื่นจากสลบ, คืนความรู้สึก |
ฟื้น | (v) recover, See also: recoup, retrieve, regain, Syn. ฟื้นตัว, ฟื้นฟู, Example: รัฐบาลคาดว่า เสถียรภาพของเงินบาทจะฟื้นคืนมาอีกครั้งอย่างเต็มที่, Thai Definition: กลับคืนมาใหม่, กลับดีขึ้นหรือเจริญขึ้น |
ฟื้นฟู | (v) restore, See also: rehabilitate, revive, Example: ทางการกำลังจะฟื้นฟูป่าพรุคันธุลีเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำแห่งใหม่ให้มีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น, Thai Definition: ทำให้กลับเจริญงอกงามขึ้น |
พักฟื้น | (v) recuperate, See also: recover, convalesce, Example: ผู้หญิงที่คลอดลูกควรพักฟื้นประมาณ 3 เดือน, Thai Definition: พักผ่อนเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงเป็นปกติ เมื่อหายเจ็บป่วย |
ฟื้นตัว | (v) recover, See also: improve, Syn. ฟื้น, Example: ้ญี่ปุ่นเริ่มฟื้นตัวหลังจากสงครามโลก จนกลายเป็นคู่แข่งที่น่ากลัวของอเมริกา, Thai Definition: กลับดีขึ้นหรือเจริญขึ้น |
ฟื้นฝอย | (v) carp, See also: find fault with, Syn. ฟื้นฝอยหาตะเข็บ, Example: ฉันไม่อยากฟื้นฝอยเรื่องที่ผ่านมาให้รู้สึกเจ็บใจอีก, Thai Definition: คุ้ยเขี่ยหาความที่สงบแล้วให้กลับเป็นเรื่องขึ้นมาอีก |
พลิกฟื้น | (v) recover, See also: regain, revive, recuperate, Example: โครงการตามพระราชดำริดำริทั้งการชลประทานคมนาคมป่าไม้ประมงมีขึ้นเพื่อเพื่อพลิกฟื้นแผ่นดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เป็นแผ่นดินทอง, Thai Definition: กลับคืนมาใหม่, พลิกกลับคืนมา |
รื้อฟื้น | (v) resurrect, See also: bring back, renew, revive, reintroduce, Example: ประเทศที่ได้รับอิสรภาพใหม่ๆ รื้อฟื้นภาษาของตนเองขึ้นเป็นภาษาประจำชาติ, Thai Definition: เอาขึ้นมาทำใหม่ |
การฟื้นฟู | (n) restoration, See also: reconstruction, repair, Syn. การบูรณะ, การปฏิสังขรณ์, Example: แหล่งน้ำชายทะเลปัจจุบันได้เสื่อมโทรมลงจำเป็นต้องมีการฟื้นฟูให้กลับคืนสู่ความสมดุลทางธรรมชาติโดยเร็ว, Thai Definition: การทำให้กลับเจริญงอกงาม |
การฟื้นตัว | (n) recovery, See also: recuperation, convalescence, revival, resurgence, regaining of consciousness, restoration, , Syn. การฟื้นฟูสภาพ, Example: คณะรัฐมนตรีนำนโยบายการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจมาใช้ตั้งแต่ต้นปี 2543 |
ที่พักฟื้น | (n) convalescent home, Example: ในสมัยก่อนบางปูเป็นสถานที่ที่พักฟื้นของทหารที่ได้รับบาดเจ็บ, Thai Definition: สถานที่ที่ใช้พักผ่อนเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงเป็นปกติ เมื่อหายเจ็บป่วย |
ฟื้นความจำ | (v) recall, See also: recollect, bring to mind, Syn. ฟื้นความหลัง, ฟื้นความทรงจำ, Example: คุณปู่ฟื้นความจำสมัยที่หัวหินเป็นที่หลบภัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ให้หลานๆ ฟัง, Thai Definition: ระลึกความทรงจำให้กลับคืนมาใหม่ |
ฟื้นคืนชีพ | (v) resurrect, See also: revive, bring back, Syn. ฟื้นขึ้น, ฟื้นคืนชีวิต, ฟื้น, Example: เขาฟื้นคืนชีพขึ้นมาใหม่หลังจากที่หมอทำพิธีมานานกว่า 5 ชั่วโมง, Thai Definition: ฟื้นจากความตายกลับเป็นขึ้นมามีชีวิตอีกครั้ง |
ฟื้นฟูสภาพ | (v) rehabilitate, See also: restore, Example: รัฐบาลมีนโยบายจำแนกพื้นที่ป่า เพื่อฟื้นฟูสภาพป่าไม้ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ, Thai Definition: ทำให้ลักษณะหรือภาวะนั้นกลับเจริญงอกงามขึ้น |
สถานพักฟื้น | (n) sanitarium, See also: sanatorium, convalescent hospital, Syn. ที่พักฟื้น, Example: เขาต้องเข้าไปอยู่ในสถานพักฟื้นเป็นเวลา 6 เดือน |
ฟื้นความหลัง | (v) recall, See also: refresh one's memory, Syn. ฟื้นความจำ, Example: ทุกคนมาร่วมฟื้นความหลังถึงชีวิตและผลงานของอาจารย์ที่พวกเขาเคารพรัก, Thai Definition: ระลึกถึงเหตุการณ์ที่ผ่านมาแล้ว |
สถานที่พักฟื้น | (n) sanatorium, See also: convalescent hospital |
ฟื้นฝอยหาตะเข็บ | (v) find fault with, See also: resuscitate past misdeeds, pick a quarrel with, rake up quarrelsome matters or past mistak, Syn. รื้อฟื้น, ขุดคุ้ย, ฟื้นฝอย, Example: คุณจะมาฟื้นฝอยหาตะเข็บให้มันได้อะไรขึ้นมา ในเมื่อเรื่องมันจบไปแล้ว, Thai Definition: คุ้ยเขี่ยหาความที่สงบแล้วให้กลับเป็นเรื่องขึ้นมาอีก |
เวชศาสตร์ฟื้นฟู | (n) rehabilitation medicine, Thai Definition: วิชาว่าด้วยการรักษาโรคและการบำบัดโรค |
สถานพักฟื้นคนชรา | (n) old folks' home, See also: care center for the elderly, elders' residence, geriatric hospital |
สถานพักฟื้นคนชรา | (n) old folks' home, See also: care center for the elderly, elders' residence, geriatric hospital |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กองทุนฟื้นฟู | น. กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารแห่งประเทศไทย. |
พักฟื้น | ก. พักผ่อนเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงเป็นปรกติ เมื่อหายเจ็บป่วย. |
ฟื้น | ก. กลับคืนมาใหม่ เช่น ฟื้นความทรงจำ ฟื้นสติ, คืนความรู้สึก เช่น ฟื้นจากสลบ, พลิกกลับขึ้นมา เช่น ฟื้นดิน |
ฟื้น | ถอนขึ้น เช่น ฟื้นมัน. |
ฟื้นไข้ | ก. หายไข้ใหม่ ๆ, เพิ่งจะหายไข้. |
ฟื้นตัว | ก. กลับมีฐานะดีขึ้น. |
ฟื้นฝอย | ก. คุ้ยเขี่ยหาความที่ควรจะสงบแล้วให้กลับเกิดเป็นเรื่องขึ้นมาอีก, มักใช้ว่า ฟื้นฝอยหาตะเข็บ. |
ฟื้นฟู | ก. ทำให้กลับเจริญงอกงามขึ้นมาใหม่ เช่น ฟื้นฟูศิลป-วัฒนธรรมไทย ฟื้นฟูการละเล่นของไทย. |
ฟื้นองค์ | ก. ตื่น (ใช้แก่พระมหากษัตริย์). |
รื้อฟื้น | ก. เอาขึ้นมาทำใหม่ เช่น รื้อฟื้นคดีมาพิจารณาใหม่. |
กายภาพบำบัด | น. การบำบัด ป้องกัน แก้ไข และฟื้นฟูความบกพร่องของร่างกายที่เกิดเนื่องจากภาวะของโรคหรือการเคลื่อนไหวที่ไม่ปรกติ. |
การประกอบโรคศิลปะ | น. การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ. |
แกะสะเก็ด | ก. เป็นคำเปรียบหมายความว่ารื้อฟื้นเรื่องเก่าขึ้นมาพูดให้เจ็บใจ. |
คืนชีพ | ก. ตายแล้วกลับฟื้นขึ้นมาอีก. |
จินต์จล | ก. คิดหวั่น, คิดหวาดหวั่น, เช่น ใจปราชญ์ฤๅเฟื่องฟื้นห่อนได้จินต์จล (โลกนิติ). |
ได้สติ | ฟื้นคืนสติ |
ตระบัด ๑ | (ตฺระ-) ว. ประเดี๋ยว, บัดใจ, ทันใด, เช่น พลิกไปมาฟื้นตื่นองค์ ในรถมาศผจง ก็ตื่นตรบัดบัดใจ (อนิรุทธ์), กระบัด ก็ใช้. |
ตีตื้น | ก. ค่อยดีขึ้น (ใช้ในลักษณะเช่นการแข่งขันที่ตกอยู่ในฐานะเสียเปรียบแล้วกลับฟื้นตัวขึ้น). |
ตื่น | ก. ฟื้นจากหลับ เช่น ตื่นนอน, ไม่หลับ เช่น ตื่นอยู่ |
ไถ ๑ | น. เครื่องมือทำนาทำไร่ชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยคันไถ หางยาม ผาล หัวหมู ใช้ควายหรือวัวเป็นต้นลากไปเพื่อฟื้นดิน. |
ไถ ๑ | ก. เอาไถเทียมด้วยควายหรือวัวเป็นต้นลากไปเพื่อฟื้นดิน |
ปลุกผี | รื้อฟื้นเรื่องที่ยุติไปแล้วขึ้นมาใหม่ เช่น ปลุกผีคอมมิวนิสต์. |
ผาล | น. เหล็กสวมหัวหมูเครื่องไถ เพื่อฟื้นดินข้างล่างให้ขึ้นมาอยู่ข้างบน. |
เลียแผล | ก. พักฟื้น เช่น ไปนอนเลียแผลเสียหลายวัน. |
แล้วก็แล้วไป | ว. อาการที่พูดปลอบใจหรือให้สติว่า เมื่อเหตุการณ์สิ้นสุดหรือยุติลงแล้ว ก็ไม่ควรเก็บมาเป็นกังวลหรือรื้อฟื้นขึ้นมาอีก. |
สติ | (สะติ) น. ความรู้สึก, ความรู้สึกตัว, เช่น ได้สติ ฟื้นคืนสติ สิ้นสติ, ความรู้สึกผิดชอบ เช่น มีสติ ไร้สติ, ความระลึกได้ เช่น ตั้งสติ กำหนดสติ. |
สถาน ๑ | (สะถาน) น. ที่ตั้ง เช่น สถานเสาวภา สถานพยาบาล สถานพักฟื้น สถานบริบาลทารก, ถ้าใช้ประกอบคำอื่นหมายถึง ที่, แหล่ง, เช่น โบราณสถาน ศาสนสถาน ฌาปนสถาน ปูชนียสถาน สังเวชนียสถาน |
สิ้นตำรา | ว. จนปัญญา, หมดทาง, หมดฝีมือ, เช่น หมอช่วยคนไข้จนสิ้นตำรา คนไข้ก็ไม่ฟื้น, หมดตำรา ก็ว่า. |
หมัก | ปล่อยให้พักฟื้นเพื่อให้หายบอบชํ้า (ใช้แก่ปลากัด) เช่น เอาปลากัดไปหมักไว้. |
หายวันหายคืน | ก. ฟื้นจากการเจ็บไข้อย่างรวดเร็ว. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
lying-in period | ระยะอยู่ไฟ, ระยะนอนพักฟื้นหลังคลอด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
lucid interval | ช่วงฟื้นสติ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rapprochement (Fr.) | การกระชับความสัมพันธ์, การฟื้นสัมพันธไมตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rehabilitation | ๑. การฟื้นสภาพ [ มีความหมายเหมือนกับ restitution ๑ ]๒. (จิตเวช.) การฟื้นสมรรถภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rehabilitation | ๑. การฟื้นฟูสภาพ (ชีวิต)๒. การปรับนิสัย, การดัดนิสัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rehabilitation | การทำให้กลับคืนดี, การฟื้นฟูสภาพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rehabilitation | การฟื้นฟูสภาพ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rehabilitation medicine | เวชศาสตร์ฟื้นสภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rehabilitation nursing | การพยาบาลฟื้นสภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rehabilitiation, vocational | การฟื้นฟูอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reforestation | การปลูกป่า, การฟื้นฟูสภาพป่า [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reforestation | การปลูกป่า, การฟื้นฟูสภาพป่า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
recovery | การฟื้นตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recovery | ๑. การได้กลับคืน๒. การฟื้นตัว [ ดู recuperation ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reclamation | การฟื้นสภาพที่ดิน, การแปรสภาพที่ดิน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reclamation | การฟื้นสภาพที่ดิน, การแปรสภาพที่ดิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
refect | ทำให้ฟื้น, ซ่อมแซม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
refection | การฟื้น, การซ่อมแซม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reinstatement | ๑. การฟื้นสัญญา๒. การจัดทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reinstatement | ๑. การให้กลับเข้ารับตำแหน่งเดิม (ก. ปกครอง)๒. การฟื้นสัญญา (ประกันชีวิต) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
recuperation | ๑. การได้กลับคืน๒. การฟื้นตัว [ ดู recovery ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reopening a case | การรื้อฟื้นคดีขึ้นพิจารณาใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
revival of will | การรื้อฟื้นพินัยกรรมเดิม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Renaissance | สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Renaissance period; Renaissance, the | สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Renaissance, the; Renaissance period | สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
romantic revival | การฟื้นฟูจินตนิยม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
restitution | ๑. การฟื้นสภาพ [ มีความหมายเหมือนกับ rehabilitation ๑ ]๒. การหมุนส่วนนำขณะคลอด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reconstitution | การรื้อฟื้น [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
refresher | การฟื้นวิชา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
refreshing the memory | ฟื้นความจำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
serum, convalescence; serum, convalescent; serum, convalescents' | เซรุ่มระยะฟื้นโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
serum, convalescent; serum, convalescence; serum, convalescents' | เซรุ่มระยะฟื้นโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
serum, convalescents'; serum, convalescence; serum, convalescent | เซรุ่มระยะฟื้นโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
symptom, consecutive | อาการช่วงพักฟื้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sanatorium; sanitarium | สถานอนามัย, สถานรักษาโรค, สถานพักฟื้น, สถานบำรุงสุขภาพ, สถานส่งเสริมสุขภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sanitarium; sanatorium | สถานอนามัย, สถานรักษาโรค, สถานพักฟื้น, สถานบำรุงสุขภาพ, สถานส่งเสริมสุขภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
oral rehabilitation; mouth rehabilitation | การฟื้นฟูสภาพช่องปาก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
orbital surface of body of maxilla | ฟื้นผิวขากรรไกรบนด้านเบ้าตา [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
automatic reinstatement | การฟื้นสัญญาโดยอัตโนมัติ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mouth rehabilitation; oral rehabilitation | การฟื้นฟูสภาพช่องปาก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
medicine, rehabilitation | เวชศาสตร์ฟื้นสภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
convalescence | การพักฟื้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
convalescence serum; serum, convalescent; serum, convalescents' | เซรุ่มระยะฟื้นโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
convalescent serum; serum, convalescence; serum, convalescents' | เซรุ่มระยะฟื้นโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
convalescents' serum; serum, convalescence; serum, convalescent | เซรุ่มระยะฟื้นโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
consecutive symptom | อาการช่วงพักฟื้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
file reconstitution | การรื้อฟื้นแฟ้ม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
interval, lucid | ช่วงฟื้นสติ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vocational rehabilitation | การฟื้นฟูอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Rehabilitation | การฟื้นฟูสมรรถภาพ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Regenerative medicine | เวชศาสตร์การฟื้นฟูสภาวะเสื่อม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Economic recovery | การฟื้นต้วทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
Rehabilitation | การฟื้นฟูกิจการ, Example: การปรับโครงสร้างธุรกิจอาจโดยเป็นทั้งการปรับโครงสร้างทางการเงินและการบริหารงาน เพื่อให้ธุรกิจมีความสามารถกลับมาดำเนินงานทางธุรกิจและสามารถสร้างผลกำไรได้ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้จัดหมวด rehabilitation company สำหรับบริษัทที่ต้องเข้าข่ายถูกเพิกถอน แต่กำลังอยู่ระหว่างฟื้นฟูกิจการ หรือแก้ไขปัญหาให้พ้นจากเหตุแห่งการถูกเพิกถอน [ตลาดทุน] |
Architecture, Renaissance | สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา [TU Subject Heading] |
Art objects, Renaissance | ศิลปวัตถุสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา [TU Subject Heading] |
Art, Early Renaissance | ศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยายุคแรก [TU Subject Heading] |
Art, High Renaissance | ศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยายุคทอง [TU Subject Heading] |
Art, Renaissance | ศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา [TU Subject Heading] |
Arts, Renaissance | ศิลปกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา [TU Subject Heading] |
Communication in rehabilitation | การสื่อสารทางการฟื้นฟูสมรรถภาพ [TU Subject Heading] |
Conservation and restoration | การอนุรักษ์และการฟื้นฟูสภาพ [TU Subject Heading] |
Corporate reorganizations | การฟื้นฟูบริษัท [TU Subject Heading] |
Corporate turnarounds | การฟื้นตัวบริษัท [TU Subject Heading] |
Forest restoration | การฟื้นฟูป่า [TU Subject Heading] |
Life support care | การช่วยให้ฟื้นคืนชีพ [TU Subject Heading] |
Economic recovery | เศรษฐกิจฟื้นตัว [เศรษฐศาสตร์] |
Medical rehabilitation | การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Moral re-armament | การฟื้นฟูศีลธรรม [TU Subject Heading] |
Reclamation of land | การฟื้นฟูที่ดิน [TU Subject Heading] |
Rehabilitation | การฟื้นฟูสมรรถภาพ [TU Subject Heading] |
Rehabilitation centers | ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ [TU Subject Heading] |
Rehabilitation counseling | การให้คำปรึกษาในการฟื้นฟูสมรรถภาพ [TU Subject Heading] |
Renaissance | สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา [TU Subject Heading] |
Reorganization | การฟื้นฟู [TU Subject Heading] |
Restoration ecology | นิเวศวิทยาการฟื้นฟู [TU Subject Heading] |
Resuscitation | การช่วยให้ฟื้น [TU Subject Heading] |
Textile fabrics, Renaissance | ผ้าสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา [TU Subject Heading] |
Vocational rehabilitation | การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ [TU Subject Heading] |
MR/TFs Material/ Transfer Facilities | โรงขนถ่ายและนำกลับคืนวัสดุ, โรงฟื้นวัสดุและขนถ่าย, Example: สถานที่ขนถ่ายขยะและนำกลับคืนวัสดุมาใช้ใหม่ [สิ่งแวดล้อม] |
Recovery | การนำกลับคืน, การฟื้นตัว, Example: การแยกหรือการรวบวัตถุที่แยกได้จากของเสีย เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ [สิ่งแวดล้อม] |
Thai Gulf Recovery Policy | การฟื้นฟูทะเลไทย, Example: การกำหนดนโยบาย การดำเนินแนวทางและหลักปฎิบัติ ตลอดจนการปรับปรุงการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทะเลไทย รวมทั้งการจัดให้มีกิจกรรมต่างๆ ภายในพื้นที่ ตามที่คณะกรรมการนโยบายและฟื้นฟูทะเลไทยกำหนด เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทะเลอย่างเหมาะสมและ ยั่งยืนตลอดจนเพื่อให้เกิดการพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศไทยกับประเทศ เพื่อนบ้าน [สิ่งแวดล้อม] |
Accelerating Economic Recovery in Asia | โครงการเร่งรัดการฟื้นฟูเศรษฐกิจในเอเชีย (สำหรับประเทศไทย) เป็นโครงการที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศในระหว่างการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 6 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2541 ที่จะให้ความช่วยเหลือประเทศในเอเชีย 3 ประเทศที่ประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ คือ สาธารณรัฐเกาหลี อินโดนีเซีย และไทย [การทูต] |
ASEM Trust Fund | กองทุนอาเซม " เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นในธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการฟื้นฟูและ การพัฒนา (World Bank) โดยได้รับการสนับสนุนจากประเทศสมาชิกอาเซม เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศในเอเชียที่ประสบกับวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ " [การทูต] |
Australia-New Zealand-US | สนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์-สหรัฐอเมริกา " โดยตกลงให้มีการช่วยเหลือประเทศสมาชิกเมื่อถูกคุกคามจากประเทศนอกภาคี ปัจจุบัน ANZUS ยังคงสถานะอยู่แต่ไม่มีการดำเนินการใด ๆ (non-operational) เนื่องจากความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกากับนิวซีแลนด์ยุติลง โดยนิวซีแลนด์ยังไม่ละทิ้งสนธิสัญญา ดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่าอาจจะมีการรื้อฟื้นขึ้นอีก " [การทูต] |
bold measures | มาตรการเข้มข้น หมายถึง มาตรการพิเศษที่กำหนดโดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 6 เมื่อเดือนธันวาคม 2541 เพื่อส่งเสริมการค้าและการเร่งรัดลงทุนจากต่างประเทศในอาเซียน ในอันที่จะช่วยประเทศในภูมิภาคฟื้นฟูเศรษฐกิจจากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ [การทูต] |
Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
International Force in East Timor | กองกำลังนานาชาติในติมอร์ตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1264 (1999) เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2542 มีภารกิจหลัก 3 ประการ คือ ฟื้นฟูสันติภาพและเสถียรภาพในติมอร์ตะวันออก ป้องกันและสนับสนุนงานของเจ้าหน้าที่ของสหประชาชาติ และอำนวยความสะดวกในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม กองกำลังนานาชาติปฏิบัติหน้าที่ในติมอร์ตะวันออกจนถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2543 [การทูต] |
Normal Diplomacy | การติดต่อทางการทูตโดยวิถีทางทูตตามปกติ มักจะกระทำกันดังนี้ เมื่อรัฐบาลต้องการจะหยิบยกปัญหาขึ้นกับอีกรัฐบาลหนึ่ง ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจะส่งคำสั่งไปยังเอกอัครราชทูตของ ประเทศตนที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับส่งให้ยกเรื่องนั้นขึ้นเจรจากับรัฐบาล ของประเทศผู้รับ โดยปกติเอกอัครราชทูตจะมีหนังสือทางการทูต (Diplomatic Note) เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต่างประเทศ ของประเทศผู้รับนั้นก่อน หรือไม่ก็ไปพบกับรัฐมนตรีด้วยตนเอง ณ กระทรวงการต่างประเทศ การเจรจากันอาจทำให้จำเป็นต้องมีการบันทึกของทูตแลกเปลี่ยนกันขึ้น ในรูปบันทึกช่วยจำ (Aide-Memoire ) ในบางกรณี เอกอัครราชทูตจำเป็นต้องไปพูดจา ณ กระทรวงการต่างประเทศ อีกหลายครั้งกว่าจะเสร็จเรื่อง ในระหว่างนั้น เอกอัครราชทูตมีหน้าที่จะต้องรายงานผลการเจรจาแต่ะครั้งไปยังกระทรวงการต่าง ประเทศของตน และบางคราวอาจจะต้องขอคำสั่งเพิ่มเติมอีกเมื่อเกิดกรณีใหม่โดยมิได้คาดหมาย มาก่อนเป็นต้น ในขณะเดียวกันกระทรวงการต่างประเทศของประเทศผู้รับก็จะส่งคำสั่งไปยังเอก อัครราชทูตของตน แนะว่าควรดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาที่กำลังเจรจากันกับรัฐบาลของ ประเทศที่ตนประจำอยู่ผลการเจรจาอาจเป็นที่ตกลงกันได้ระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ฝ่าย หรืออาจจะจบลงด้วยภาวะชะงักงัน ( Stalemate ) หรือรัฐบาลทั้งสองอาจจะตกลงกันว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังไปก่อน จนกว่าจะมีการรื้อฟื้นเจรจากันใหม่ บางคราวปัญหาที่ยังตกลงกันไม่ได้นั้น อาจกลายเป็นปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงต่อไปก็ได้ [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
State Peace and Development Council | สภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ เป็นองค์กรปกครองสูงสุดของพม่าในปัจจุบัน เดิมมีชื่อว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (SLORC - State Law and Order Restoration Council) อันเป็น กลุ่มทหารพม่าที่เข้ายึดอำนาจการปกครองในวันที่ 18 กันยายน 2531 ภายหลังจากที่ประชาชนชาวพม่าได้ออกมาเดินขบวนประท้วงรัฐบาลภายใต้การนำของ พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การเข้ายึดอำนาจรัฐในครั้งนั้นเป็นไปอย่างนองเลือดและคณะทหารดังกล่าวได้ให้ สัญญาว่าจะจัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังการเลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม 2533 SLORC กลับปฏิเสธที่จะมอบอำนาจการปกครองให้แก่พรรค National League for Democracy (NLD) และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 SLORC ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น SPDC [การทูต] |
Base | กระดูกส่วนฐาน, ฐาน, ยาพื้น, ส่วนฐาน, ตัวยาฟื้น, เบส, ด่าง, พาหะ [การแพทย์] |
Convalescence | การพักฟื้น, มีเชื้อโรคอยู่แต่ไม่มีอาการ [การแพทย์] |
Convalescence Stage | ระยะพักฟื้น [การแพทย์] |
Convalescent | ระยะฟื้นจากโรค [การแพทย์] |
Convalescent Care Zone | บริเวณพักฟื้น [การแพทย์] |
Convalescent Period | ระยะพักฟื้น [การแพทย์] |
Convalescent Phase | ระยะฟื้นไข้, ระยะตาเหลืองเริ่มลดลงจนหายเป็นปกติ, หลังจากระยะแรกประมาณ2สัปดาห์, ระยะฟื้นตัว, ระยะพักฟื้น [การแพทย์] |
Convalescent Stage | ระยะสงบไข้, ระยะพักฟื้น [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ฟื้น | [feūn] (v) EN: regain consciousness ; recover ; revive ; recuperate FR: se remettre ; se rétablir ; récupérer ; reprendre conscience ; reprendre connaissance ; ressusciter ; revivre |
ฟื้นฝอย | [feūnføi] (v) EN: carp ; find fault with |
ฟื้นฝอยหาตะเข็บ | [feūnføi hā takep] (v, exp) EN: find fault with ; resuscitate past misdeeds ; pick a quarrel with ; rake up quarrelsome matters or past mistakes FR: chercher des poux à qqn |
ฟื้นฟู | [feūnfū] (v) EN: restore ; rehabilitate ; revive |
ฟื้นฟู- | [feūnfū-] (pref, (adj)) EN: neo- (pref.) FR: néo- (préf.) |
ฟื้นฟูสภาพ | [feūnfū saphāp] (v) EN: rehabilitate ; restore |
ฟื้นไข้ | [feūn khai] (v, exp) EN: recover |
ฟื้นคืนชีพ | [feūn kheūnchīp] (v, exp) EN: resurrect ; revive ; bring back |
ฟื้นความจำ | [feūn khwāmjam] (v, exp) EN: recall ; recollect ; bring to mind |
ฟื้นความหลัง | [feūn khwāmlang] (v, exp) EN: recall ; refresh one's memory |
ฟื้นตัว | [feūntūa] (v, exp) EN: recover ; improve FR: se remettre ; se rétablir |
การฟื้นฟู | [kān feūnfū] (n) EN: restoration ; reconstruction ; repair ; revival |
การฟื้นตัว | [kān feūntūa] (n) EN: recovery |
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ | [kān feūntūa khøng sētthakit] (n, exp) EN: economic recovery FR: reprise économique [ f ] |
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก | [kān feūntūa khøng sētthakit lōk] (n, exp) FR: reprise économique mondiale [ f ] |
พักฟื้น | [phakfeūn] (v) EN: recuperate ; recover ; convalesce FR: récupérer ; relever de maladie ; être en convalescence |
พลิกฟื้น | [phlikfeūn] (v) EN: recover |
รื้อฟื้น | [reūfeūn] (v) EN: resurrect ; bring back ; renew ; revive ; reintroduce FR: revivre ; renaître |
สถานที่พักฟื้น | [sathānthī phakfeūn] (n, exp) EN: sanatorium |
สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิค | [sathāpattayakam feūnfū Køthik] (n, exp) EN: Neo-Gothic architecture ; Gothic Revival architecture FR: architecture néogothique [ f ] |
สถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา | [sathāpattayakam feūnfū Sinlapawitthayā] (n, exp) EN: Renaissance architecture |
ที่พักฟื้น | [thī phakfeūn] (n, exp) EN: convalescent home |
เวชศาสตร์ฟื้นฟู | [wētchasāt feūnfū] (n, exp) EN: rehabilitation medicine |
Longdo Approved EN-TH
retell | (vt) รื้อฟื้น, บอกเล่าอีกครั้ง |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
aftercare | (n) การดูแลคนไข้ในช่วงพักฟื้น |
better | (adj) ดีขึ้น (สภาพร่างกาย), See also: ฟื้นตัว, ทุเลา, ค่อยยังชั่ว, คลี่คลาย, กระเตื้อง, Syn. well |
bounce back | (phrv) กลับสู่สภาพปกติ, See also: สุขภาพฟื้นคืน, คืนสู่ปกติ |
bring round | (phrv) ทำให้ฟื้น, See also: ทำให้ได้สติ, Syn. bring to |
bring someone to | (idm) ทำให้ฟื้น, See also: ทำให้คืนสติ, Syn. come to |
bring someone to his senses | (idm) ทำให้ฟื้น, See also: ทำให้ได้สติ, ทำให้สติกลับคืนมา |
bring to | (phrv) ทำให้ฟื้น, See also: ช่วยให้คืนสติ, Syn. bring round, come round, come to, fetch round, fetch to, pull round |
convalesce | (vi) พักฟื้น |
convalescence | (n) การพักฟื้น, See also: การฟื้นจากไข้, Syn. recovery, recuperation |
convalescence | (n) ระยะพักฟื้น |
convalescent | (adj) ที่ค่อยๆ ฟื้นตัว (จากการเจ็บป่วย), Syn. recovering, improving |
cure | (n) การฟื้นฟู, Syn. recovery |
cure | (vt) สิ่งที่ช่วยฟื้นฟูร่างกาย, See also: การรักษา |
call back | (phrv) ทำให้ (บางสิ่ง) กลับคืนมา, See also: ทำให้หาย, ทำให้ฟื้นคืน |
convalesce from | (phrv) พักฟื้นจาก, See also: ค่อยๆหายจาก |
fetch round | (phrv) ทำให้ฟื้นคืนสติ, Syn. bring to |
fetch to | (phrv) ทำให้ฟื้นคืนสติอย่างทันที |
get out from under | (idm) ฟื้นตัวจาก |
get over | (phrv) หายดี, See also: ฟื้นตัว, หายจาก, แข็งแรงขึ้น, Syn. recover from, recuperate from |
halfway house | (n) สถานที่พักฟื้นทางจิตใจ |
on one's feet | (idm) ฟื้นตัว (หลังหายป่วย) |
on the mend | (idm) กำลังหาย, See also: ฟื้นตัว, หายจากเจ็บป่วย |
land on one's feet | (idm) รอดพ้นจาก, See also: ฟื้นตัวจากความเสิ่ยง, อันตราย, หายนะ, หายจากความเสิ่ยง, อันตราย, หายนะ |
mend | (vi) หาย (จากเจ็บป่วย), See also: ฟื้นตัว, Syn. remedy, cure, recover, Ant. worsen |
phoenix | (n) นกฟินิกซ์, See also: นกอมตะ, นกเทพนิยายซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความตายและการฟื้นคืนชีพมาใหม่, Syn. phenix |
phoenix | (n) คนหรือสิ่งที่ฟื้นจากการทนทุกข์ทรมานจากภัยพิบัติหรือความเลวร้ายต่างๆ |
psychotherapy | (n) จิตบำบัด, See also: วิธีการรักษาจิต, การฟื้นฟูสภาพจิต, Syn. psychiatry, psychoanalysis |
polish up | (phrv) ฝึกฝน, See also: ขัดเกลา, ฟื้นฟู, Syn. brush up, rub up |
pull round | (phrv) ทำให้ฟื้น, See also: ทำให้มีชีวิตอยู่, Syn. bring to |
pull through | (phrv) มีชีวิตทั้งที่เจ็บป่วย, See also: หวนกลับมา, ฟื้นคืน, Syn. bring through, carry through |
pull through | (phrv) ฟื้นคืนสู่ปกติ, See also: กลับมา ดีอีกครั้ง, Syn. bring through |
quicken | (vt) ฟื้นฟู |
rake up | (phrv) รื้อฟื้น (เรื่องราวที่ไม่ดีหรือเสื่อมเสียในอดีต), See also: ขุดคุ้ย |
rally | (n) การฟื้นตัว, See also: การหายดีขึ้น, Syn. improvemennt, recovery |
rally | (vt) ฟื้นตัว, See also: หายเป็นปกติ, Syn. revive, recover |
reanimate | (vt) ช่วยให้ฟื้นคืนชีพ, Syn. restore, resuscitate |
reclaimation | (n) การเข้าบุกเบิก, See also: การฟื้นฟู, Syn. restoration, recycling |
recover | (vi) ฟื้นตัวจากการเจ็บป่วย, See also: ฟื้นไข้, ทุเลา, หายจาก, Syn. get better, revive |
recovery | (n) การฟื้นคืนสู่สภาพปกติ, Syn. restoration, resumption, rehabilitation |
recovery room | (n) ห้องพักฟื้น |
recreate | (vi) พักผ่อนหย่อนใจ, See also: ฟื้นฟูกายหรือจิตใจ, Syn. recuperate, refresh |
recruit | (vi) ฟื้นฟู, Syn. refresh, revive |
recuperate | (vi) ฟื้นไข้, See also: ฟื้นตัว, หายป่วย, Syn. convalesce, recover |
recuperate | (vt) ฟื้นคืนสู่สภาพปกติ, See also: ทำให้หาย, Syn. heal, recover |
recuperation | (n) การฟื้นคืนสู่สภาพปกติ |
recuperative | (adj) ซึ่งฟื้นคืนสู่สภาพปกติ, Syn. remedial |
recuperatory | (adj) ซึ่งฟื้นคืนสู่สภาพปกติ |
regeneration | (n) การปฏิรูป, See also: การฟื้นฟูใหม่ |
regenerator | (n) ผู้ปฏิรูป, See also: ผู้ฟื้นฟู |
rehabilitate | (vt) ฟื้นฟูสุขภาพ, See also: ฟื้นฟูสมรรถภาพ, Syn. restore, revive |
Hope Dictionary
aftercare | (อาฟ' เทอะแคร์, แอฟ-') n. การดูแลรักษาคนไข้พักฟื้น |
amends | (อะเมนซ') n. การชดเชยค่าเสียหาย, การชดเชย, การฟื้นฟูสภาพเดิม, การขอขมา |
anabiosis | (แอนนะไบโอ' ซิส) n. การฟื้นคืนชีพ -anabiotic adj. (a coming back to life) |
charter house | n. สถานพักฟื้นคนสูงอายุ |
cold pig | n. น้ำเย็นที่ใช้ราดใส่คนให้ฟื้นสติขึ้น |
convalesce | (คอนวะเลส') { convalesced, convalescing, convalesces } vi. พักฟื้น, ฟื้นจากไข้, ค่อย ๆ หายจากการเจ็บป่วย, Syn. recuperate |
convalescence | (คอน วะเลส'เซินซฺ) n. การพักฟื้น, การฟื้นจากไข้, ระยะพักฟื้น |
convalescent | (คอนวะเลส'เซินทฺ) adj. ซึ่งกำลังพักฟื้น n. ผู้พักฟื้น, ผู้กำลังหายจากการเจ็บป่วย |
exonerate | (อิคซอน'เนอเรท) vt. ทำให้ฟื้นจากความผิด, ปลดเปลื้องภาระ, See also: exoneration n. exonerative adj., Syn. acquit |
halfway house | สถานที่พักระหว่างทาง, กึ่งทาง, สถานที่พักฟื้นทางจิตใจสำหรับผู้ติดยาเสพติด |
mend | (เมนดฺ) vt. ซ่อมแซม, แก้ไข, ปะ, แก้, ทำให้ถูกต้อง, ปรับปรุง. vi. ดีขึ้น, เจริญขึ้น. n. การซ่อมแซม, การแก้ไข, การแก้, การปะ, การทำให้ถูกต้อง, ที่ที่ ซ่อมแซมหรือแก้ไขแล้ว. -Phr. (on the mend กำลังฟื้นแก้ไข) ., See also: mendable adj. คำที่มีความหมายเหมือนกั |
pernickety | (เพอนิค'คิที) adj. จู้จี้, ชอบฟื้นฝอยหาตะเข็บ, ต้องใช้ความระมัดระวังอย่างยิ่ง, See also: perniciousness n., Syn. deadly |
reanimate | (รีแอน'นิเมท) vt. ทำให้มีชีวิตชีวา, ทำให้คืนชีพ, ฟื้นฟู, See also: reanimation n. |
recall | (รีคอล') vt., n. (การ) ระลึก, รำลึก, หวนคิด, เรียกกลับ, นำกลับ, เพิกถอน, ยกเลิก, ฟื้นฟู, See also: recallable adj., Syn. remember |
reconstruct | (รีคันสทรัคทฺ') vt. สร้างใหม่, ก่อสร้างใหม่, ประกอบใหม่, ประกอบเรื่องจากข้อมูล, ฟื้นฟู, See also: reconstructible adj. reconstructor n., Syn. remodel |
recovery room | n. ห้องพักฟื้น, ห้องพักฟื้นหลังการผ่าตัด |
recreate | (เรค'ริเอท) vt. พักผ่อน, หย่อนใจ, หาความสำราญ, ฟื้นฟูกายหรือจิต, สร้างใหม่, See also: recreative adj. recreator n., Syn. refresh, restore |
recruit | (รีครูท') n. สมาชิกใหม่, ทหารใหม่ vi., vt. เกณฑ์ทหารใหม่, จ้างคนใหม่, รับคนใหม่, จัดให้มีเสบียงใหม่, ฟื้นฟูสภาพ, บำรุง, See also: recruitable adj. recruiter n. |
recuperable | (รีคิว'เพอระเบิล) adj. ฟื้นตัวได้, ฟื้นตัวจากการสูญเสียเงินได้ -ability n. |
recuperate | (รีคิว'เพอเรท) vi., vt. (ทำให้) ฟื้นคืน, พักฟื้น, กลับมีสภาพหรือกำลังเหมือนเดิม, กู้, เอาคืน, See also: recuperation n. recuperator n. recuperative adj. recuperatory adj., Syn. recover, recoup |
recuperator | (รีคิวเพอเร'เทอะ) n. คนที่พักฟื้นแล้ว, เครื่องกู้ |
refresh | (รีเฟรช') vt. ทำให้มีชีวิตชีวา, ทำให้สดชื่น, กระตุ้นความจำ, ก่อไฟ, เติมพลัง, อัดแบตเตอรี่, ทำให้ฟื้นคืน vi. ดื่มเครื่องดื่ม, กระปรี้กระเปร่า, สดใส, ฟื้นคืน, See also: refresher n. refreshful adj., Syn. revive, freshen, reanimate |
regain | (รีเกน') vt. เอากลับมา, ได้คืน, เอาคืน, กู้, มีสติอีก, กลับไปสู่, ฟื้นสติ, มาถึงอีก, See also: regainable adj. regainer n. |
rehabilitate | (ริฮะบิล'ลิเทท) vt. พักฟื้น, ทำให้สุขภาพกลับคืนสู่ปกติ, กู้ชื่อเสียง, กู้ฐานะ, See also: rehabilitation n. rehabilitative adj. |
rejuvenate | (รีจู'วะเนท) vt. ทำให้เป็นหนุ่มขึ้นอีก, ฟื้นคืน, ทำให้กลับสู่สภาพเดิม, See also: rejuvenation n. rejuvenative adj. rejuvenator n., Syn. revitalize, refresh |
remedy | (เรม'มิดี) n. การรักษา, วิธีการรักษา, วิธีการแก้ไข, สิ่งที่ใช้ในการรักษา, ยา, สิ่งที่ใช้ในการแก้ไข vt. รักษา, เยียวยา, บรรเทา, ฟื้นฟู, ทำให้ถูกต้อง, ขจัด, กำจัด, Syn. cure |
renaissance | (เรนนิซานซฺ', -ซานซฺ) n. ความเฟื่องฟู ความรู้ทางศิลปวรรณกรรมในยุโรปสมัยศตวรรษที่ 14-17, สมัยดังกล่าว, See also: renaissance การฟื้นฟูชีวิตพลังความสนใจหรืออื่น ๆ, ชีวิตใหม่ adj. เกี่ยวกับสมัยดังกล่าว, เกี่ยวกับลักษณะศิลปวรรณกรรมในสมัยดังกล่าว |
renew | (รีนิว') vt., vi. เริ่มใหม่, ทำใหม่, เปลี่ยนใหม่, ซ่อมแซม, เสริม, เติม, ฟื้นฟู, สร้างใหม่, ทำให้เป็นหนุ่มใหม่, ทำให้มีพลังใหม่, ต่อสัญญา, ทำให้กลับสู่สภาพเดิม, See also: renewability n. renewable adj. renewably adv. renewedly adv. renewer n. ค |
renewal | (รีนิว'เอิล) n. การเริ่มใหม่, การเปลี่ยนใหม่, การฟื้นฟู, การสร้างใหม่, การทำให้กลับสู่สภาพเดิม, การต่อสัญญาใหม่, การรับนิตยสารต่อ, การยืนยัน, การยืนยันคำมั่นสัญญา |
repair | (รีแพรฺ') vt. ซ่อมแซม, ซ่อมปะ, แก้ไข, ปฏิสังขรณ์, ฟื้นฟู, รักษา, เยียวยา, ชดเชย, ชดใช้ n. การซ่อมแซม, งานซ่อมแซม, ส่วนที่ซ่อมแซม, See also: repairs ค่าซ่อมแซม repairability n. repairable adj. repairableness n. repairer n. คำที่มีความหมายเหมื |
reparation | (เรพพะเร'เชิน) n. การซ่อมแซม, การแก้ไข, ปรับปรุง, การปฏิสังขรณ์, การฟื้นฟู, การชดเชย, การรักษาการเยียวยา, See also: reparative adj., Syn. atonement, amends |
resilience | (รีซิล'เยินซฺ) n. ความสามารถในการกลับสู่สภาพเดิม, ความหดได้, ความยืดหยุ่น, ความสามารถในการฟื้นคืนสู่ปกติ |
resilient | (รีซิล'เยินทฺ) adj. กระโดดกลับ, ดีดกลับ, เด้งกลับ, กลับสู่สภาพเดิม, ฟื้นคืนสภาพเดิม, Syn. flexible |
restitute | (เรส'ทิทิวทฺ) vt. ซ่อมแซม, ทำให้กลับสู่สภาพเดิม, พักฟื้น, ชดใช้, ใช้คืน, ล้างบาป, See also: restitutive adj. restitutory adj. |
restitution | (เรสทิทิว'เชิน) n. การซ่อมแซม, การทำให้กลับสู่สภาพเดิม, การพักฟื้น, การชดใช้, การใช้คืน, การล้างบาป, Syn. recompense, amends, restoration |
restorative | (ริสทอ'ระทิฟว) adj. เป็นการซ่อมแซม, การฟื้นฟู, เป็นการปฏิสังขรณ์, บำรุงเลี้ยง n. ยาบำรุงกำลัง, สิ่งที่ทำให้คืนสู่สภาพเดิม, สิ่งที่ทำให้ฟื้นสติ, See also: restorativeness n. |
restore | (รีสทอร์') vt. ฟื้นฟู, ซ่อมแซม, ปฏิสังขรณ์, ทำให้แข็งแรง, บำรุงกำลัง, บำรุงร่างกาย, ส่งคืน, สร้างใหม่, See also: restorable adj. restorer n., Syn. reinstitute, repair |
resurge | (รีเซิร์จ') vt. ลุกขึ้นมาอีก, คืนชีพ, ฟื้นคืน, Syn. revive |
resurgent | (รีเซอ'เจินทฺ) adj. ฟื้นคืนอีก, คืนชีพ, ลุกขึ้นมาอีก, See also: resurgence n. |
resurrect | (เรซ'ซะเรคทฺ) vi. คืนชีพ, ฟื้นคืนอีก, กลับมีชีวิตใหม่, vt. ทำให้คืนชีพ, ทำให้กลับมีชีวิตใหม่, ทำให้ฟื้นคืนอีก |
resurrection | (เรซ'ซะเรคเชิน) n. การคืนชีพ, การกลับมีชีวิตใหม่, See also: Resurrection การคืนชีพของพระเยซูคริสต์, การฟื้นคืนอีก, การกลับสู่สภาพเดิม resurectionary adj. resurrective adj., Syn. revival, renewal |
resuscitate | (รีซัส'ซิเทท) vt. ทำให้ฟื้นคืนใหม่, ฟื้นฟู, ทำให้คืนชีพ, See also: resuscitable adj. resuscitation n. resuscitative adj., Syn. revive, save |
resuscitator | (รีซัส'ซิเทเทอะ) n. ผู้ทำให้ฟื้นคืนอีก, ผู้ฟื้นฟู, ผู้ทำให้คืนชีพ, เครื่องช่วยให้หายใจ |
retreat | (รีทรีท') vi. ล่าถอย, ถอย, เพิกถอน, ยกเลิก, หลบตัว, หลบหนี, สละสิทธิ, (แก้มหน้าผาก) ตอบ, เอียงลาด n. การถอย, แตรเลิก, แตรเย็น, สัญญาณถอย, ธงสัญญาณการยอมแพ้, การปลดเกษียณ, ความสันโดษ, สถานที่ลี้ภัยหรือพักฟื้น, โรงพยาบาลคนบ้า, See also: retreatal adj. retreatingn |
revitalise | (รีไว'ทะไลซ) vt. ให้ชีวิตใหม่แก่, ให้พลังใหม่, ให้กำลังใหม่, ทำให้สดชื่นอีก, ฟื้นฟูกลับสู่สภาพเดิม, See also: revitalisation n. revitalization n., Syn. revive |
revitalize | (รีไว'ทะไลซ) vt. ให้ชีวิตใหม่แก่, ให้พลังใหม่, ให้กำลังใหม่, ทำให้สดชื่นอีก, ฟื้นฟูกลับสู่สภาพเดิม, See also: revitalisation n. revitalization n., Syn. revive |
revivable | (รีไว'อะเบิล) adj. ฟื้นฟูได้, ทำให้ฟื้นได้, ฟื้นคืนสู่สภาพเดิมได้ |
revival | (รีไว'เวิล) n. การฟื้นฟู, การคืนชีพ, การทำให้มีพลังอีก, การนำมาใช้อีก- S. renewal |
revive | (รีไวว') vt. ฟื้นฟู, ทำให้คืนชีพ, กระตุ้น, เร้าใจ, ทำให้เกิดขึ้นอีก, ฉายหนังเก่า, นำกลับ, เร้าใจ, See also: revivability n. revivable adj. revibably adv. reviver n. revivingly adv., Syn. restore, rescue |
revivor | (รีไว'เวอะ) n. การฟื้นฟูคดี, ผู้ฟื้นคดี |
Nontri Dictionary
convalesce | (vi) ฟื้นไข้, พักฟื้น, กลับคืนดี |
convalescence | (n) การพักฟื้น, การฟื้นไข้, การกลับคืนดี |
convalescent | (adj) ฟื้น, ซึ่งกำลังพักฟื้น |
reanimate | (vt) ทำให้กระปรี้กระเปร่า, ทำให้มีชีวิตจิตใจ, ทำให้คืนชีพ, ฟื้นฟู |
recall | (vt) ล้มเลิก, เรียกกลับ, รำลึกชาติ, หวนคิด, ถอน, ฟื้นฟู |
reconstruction | (n) การประกอบใหม่, การสร้างใหม่, การฟื้นฟู |
recover | (vi, vt) กู้, คืนสภาพ, ค้นพบใหม่, หาย, ฟื้น |
recovery | (n) การฟื้นคืน, การกู้, การเอากลับคืน |
recruit | (vi) บำรุง, ฟื้นสภาพ, ฟื้นฟูกำลัง |
recuperate | (vi, vt) ทำให้ฟื้นคืน, ทำให้แข็งแรง, กู้, พักฟื้น |
recuperation | (n) การฟื้นคืน, การพักฟื้น, การกู้ |
regeneration | (n) การงอก, การเกิดใหม่, การฟื้นฟู |
rehabilitate | (vt) กู้ฐานะ, ทำให้กลับคืนดี, กู้(ชื่อเสียง), พักฟื้น |
rehabilitation | (n) การกู้(ชื่อเสียง), การกู้ฐานะ, การพักฟื้น |
remedy | (vt) รักษา, แก้โรค, เยียวยา, ขจัด, บรรเทา, ฟื้นฟู |
Renaissance | (n) สมัยฟื้นฟูวิทยาการใหม่ |
renaissance | (n) ชีวิตใหม่, การฟื้นฟูใหม่ |
renew | (vt) ต่ออายุ, ทำใหม่, ซ่อมแซม, ฟื้นฟู, ทำให้เป็นหนุ่ม, สร้างใหม่ |
renewal | (n) การเปลี่ยนใหม่, การเริ่มใหม่, การสร้างใหม่, การฟื้นฟู, การต่อสัญญา |
reopen | (vi, vt) เริ่มใหม่, เปิดใหม่, รื้อฟื้น |
repair | (vt) แก้ไข, ซ่อมแซม, ชดใช้, ปฏิสังขรณ์, ฟื้นฟู, รักษา |
repairer | (n) ผู้ปฏิสังขรณ์, ผู้ซ่อมแซม, ผู้ฟื้นฟู |
reparation | (n) การชดใช้, การซ่อมแซม, การฟื้นฟู, การปฏิสังขรณ์, ค่าทำขวัญ |
resilient | (adj) คืนกลับ, ยืดหยุ่น, ฟื้นคืนสภาพ |
restitution | (n) การพักฟื้น, การชดใช้, การซ่อมแซม, การล้างบาป |
restore | (vt) ซ่อม, คืนให้, ฟื้นฟู, ปฏิสังขรณ์, ทำให้คืนสภาพ |
resurrect | (vt) กลับมีชีวิต, ฟื้นคืนชีพ |
resurrection | (n) การกลับมีชีวิตใหม่, การฟื้นคืนชีพ |
resuscitate | (vt) นำกลับมาใหม่, ทำให้กลับมีชีวิต, ทำให้ฟื้นคืน |
revival | (n) การฟื้นฟู, การคืนชีพ |
revive | (vi) นำกลับ, ฟื้นฟู, เร้าใจ |
revive | (vt) ฟื้นฟู, ทำให้คืนชีพ, กระตุ้น |
sanatorium | (n) สถานพักฟื้นผู้ป่วย |
sanitarium | (n) สถานีอนามัย, สถานพักฟื้นผู้ป่วย, สุขศาลา, โรงพยาบาล |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
reclaimation | การฟื้นฟูสภาพ |
reepithelialization | การฟื้นฟูเยื่อบุผิวบริเวณบริเวณที่ดูเป็นแผล (เป็นพื้นที่เผาไหม้) โดยการเจริญเติบโตตามธรรมชาติหรือศัลยกรรมพลาสติก |
rehabilitation court | ศาลฟื้นฟูกิจการ |
resilient | (adj) สามารถฟื้นตัวได้ |
Longdo Approved JP-TH
復興 | [ふっこう, fukkou] (vt) ฟื้นฟู |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
蘇る | [よみがえる, yomigaeru] TH: ฟื้นกลับคืน EN: to be resurrected |
Longdo Approved DE-TH
Kur | (n) |die, pl. Kuren| การพักฟื้น, การพักอยู่ที่สถานบำรุงสุขภาพ เช่น eine Kur machen |
sich erholen | (vt) |erholte sich, hat sich erholt| พักฟื้น, พักผ่อน(ช่วงเวลาพักยาวนานกว่า sich ausruhen และโดยมากหมายถึงพักหลังจากป่วยไข้หรือการทำงานหนัก) เช่น Sie sollen sich im Urlaub ganz von der Arbeit erholen. คุณควรพักฟื้นจากการทำงานในช่วงพักร้อนซะ, See also: Related: sich ausruhen |
Ostern | (n, uniq) |das, pl. Ostern, ส่วนใหญ่ใช้เป็น Pl.| เทศกาลอีสเตอร์ มีความสำคัญทางศาสนาคริสต์ กล่าวคือ เป็นเทศกาลที่ชาวคริสต์ระลึกถึงการฟื้นคืนชีพของพระเยซู นอกจากนี้ Ostern ยังจัดเป็นเทศกาลฉลองความเขียวชอุ่มและความอุดุมสมบูรณ์ที่ฤดูใบไม้ผลินำมาด้วย |
Entzugsklinik | (n) |die, pl. Entzugskliniken| สถานพักฟื้น, สถานบำบัด เช่น Kaum hat Katja die Entzugsklinik in Arizona verlassen., Syn. Rehabilitationsklinik |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0382 seconds, cache age: 8.09 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม