271 ผลลัพธ์ สำหรับ *พึ่ง*
ภาษา
หรือค้นหา: พึ่ง, -พึ่ง-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
Longdo Unapproved MNW - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ခ | [kha] (vt, adj) พึ่งพา ไม่เป็นอิสระ |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
พึ่ง | (v) depend on, Syn. อาศัย, พึ่งพาอาศัย, Example: ก่อนที่จะพึ่งใคร เราจะต้องช่วยตัวเองก่อน, Thai Definition: อาศัยพักพิง, ขอความช่วยเหลือ |
พึ่ง | (aux) just now, See also: just, Syn. เพิ่ง, เพิ่งจะ, พึ่งจะ, Example: เขาพึ่งโทรมาบอกว่า พรุ่งนี้เขาไม่ว่างไปกับพวกเราแล้ว, Thai Definition: คำช่วยกริยาหมายถึงเวลาที่ล่วงไปหยกๆ ในขณะที่พูดนั้น |
พึ่งพา | (v) depend on, See also: rely on, Syn. พึ่ง, พึ่งพิง, พึ่งพาอาศัย, Example: คนสำคัญในท้องถิ่นที่มีบริวารมาก ผู้คนมักเข้าไปพึ่งพาขอความช่วยเหลือ, Thai Definition: อาศัยพักพิง, ขอความช่วยเหลือ |
ที่พึ่ง | (n) supporter, See also: protection, sanctuary, shelter, Syn. ที่พึ่งพิง, ร่มโพธิ์ร่มไทร |
พึ่งพิง | (v) depend on, See also: rely on, Syn. พึ่ง, พึ่งพา, พึ่งพาอาศัย, Example: เขาเป็นคนเดียวเท่านั้นที่เห็นจะพึ่งพิงได้, Thai Definition: อาศัยพักพิง, ขอความช่วยเหลือ |
พึ่งตนเอง | (v) rely on oneself, See also: be self-reliance, support oneself, Example: สมัยก่อนชาวนาต้องพึ่งตนเอง โดยทำนา และผลิตสิ่งของที่ครอบครัวต้องกินต้องใช้เอง, Thai Definition: อาศัยตนเอง, ช่วยตนเอง |
พึ่งใบบุญ | (v) depend on, See also: rely on, count on, Example: ผมก็ได้พึ่งใบบุญของหลวงพ่อที่วัดนี้มาตั้งแต่เด็ก, Thai Definition: มาอาศัยขอความช่วยเหลืออยู่ใต้อำนาจหรือบารมี |
พึ่งตัวเอง | (v) rely on oneself, See also: be self-reliant, Ant. พึ่งคนอื่น, พึ่งผู้อื่น, Example: หากประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้แล้ว ก็จะมีส่วนช่วยเหลือเสริมสร้างประเทศชาติในส่วนรวมได้, Thai Definition: ทำอะไรด้วยตัวเอง ไม่ต้องขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น |
พึ่งพาอาศัย | (v) depend on, See also: rely on, lean on, count on, Syn. พึ่งพากัน, Example: ประเทศอุตสาหกรรมที่พัฒนาแล้วนั้นต้องพึ่งพาอาศัยทรัพยากรจากประเทศอื่นๆ ด้วย, Thai Definition: ช่วยซึ่งกันและกัน, เป็นที่พึ่งให้กัน |
ที่พึ่งสุดท้าย | (n) last resort, Ant. ที่พึ่งแรก, Example: เกษตรกรอยากจะมีธ.ก.ส. เป็นที่พึ่งสุดท้าย เพราะธ.ก.ส. เป็นสถาบันการเงินที่ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ |
ไวยากรณ์พึ่งพา | (n) generative grammar |
การพึ่งพาอาศัยกัน | (n) dependence, See also: reliance, being based on, complementing, Example: การพึ่งพาอาศัยกันเป็นนิสัยของคนไทย |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ที่พึ่ง | น. ผู้คุ้มครองช่วยเหลือ เช่น พ่อแม่เป็นที่พึ่งของลูก, สิ่งที่อาศัยยึดเป็นหลัก เช่น ได้ตำราเป็นที่พึ่ง, เครื่องยึดเหนี่ยวทางใจ เช่น ยึดพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง. |
น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า | น. การพึ่งพาอาศัยกัน. |
พึ่ง ๑ | ก. อาศัย เช่น พึ่งบารมีคนอื่น, พักพิง เช่น ไปพึ่งเขาอยู่, ขอความช่วยเหลือ เช่น หนีร้อนมาพึ่งเย็น. |
พึ่งจมูกคนอื่นหายใจ | ก. อาศัยผู้อื่นมักไม่สะดวก, ยืมจมูกคนอื่นหายใจ หรือ เอาจมูกผู้อื่นมาหายใจ ก็ว่า. |
พึ่งพา | ก. อาศัยกัน, ช่วยเหลือกัน. |
พึ่งพิง | ก. พักพิงอาศัย. |
พึ่งลำแข้งตัวเอง | ก. ช่วยตนเอง, อาศัยลำแข้งตัวเอง ก็ว่า. |
พึ่ง ๒ | ว. คำช่วยกริยาหมายถึงเวลาที่ล่วงไปหยก ๆ ในขณะที่พูดนั้น เช่น เขาพึ่งไป, เพิ่ง ก็ว่า |
พึ่ง ๒ | ใช้ประกอบหลังคำ อย่า เป็น อย่าพึ่ง หมายความว่า ห้ามไม่ให้กระทำในขณะนั้น เช่น อย่าพึ่งไป อย่าพึ่งกิน, เพิ่ง เพิก หรือ เพ่อ ก็ว่า. |
หนีร้อนมาพึ่งเย็น | ก. หนีจากที่ที่มีความเดือดร้อนมาอาศัยอยู่ในที่ที่มีความสงบสุข. |
กลิ้งเกลือก | ก. พยายามช่วยตัวเองเท่าที่จะทำได้ เช่น ยากจนก็กลิ้งเกลือกไปตามบุญตามกรรมไม่ขอพึ่งใคร, เกลือกกลิ้ง ก็ว่า. |
กลืนเลือด | ก. กล้ำกลืนความเจ็บแค้นอย่างแสนสาหัส เช่น แม้จะแค้นหัวหน้าพวกเขาก็ยอมกลืนเลือด เพราะยังต้องพึ่งพาหัวหน้าคนนี้อยู่. |
การ์ตูน ๒ | น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กทุกชนิดในสกุล Amphiprion วงศ์ Pomacentridae ลำตัวสั้นและแบนข้าง สีเหลือง แสด หรือแดง บางชนิดมีส่วนบนรวมทั้งครีบหลังดำคลํ้า มักมีแถบสีขาวเด่นพาดขวางบนหัวและลำตัว ๑-๒ แนว แล้วแต่ชนิดหรือขนาดบ้างมีสีส้ม พบอาศัยตามแนวปะการัง โดยเฉพาะอยู่กับดอกไม้ทะเลซึ่งเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังประเภทหนึ่งในลักษณะพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ขนาดยาวได้ถึง ๑๖ เซนติเมตร. |
เกาะชายผ้าเหลือง | ก. พึ่งพาผลบุญจากผู้ที่บวชเป็นพระภิกษุสามเณร เช่น ถ้ามีลูกชายก็จะได้บวชให้พ่อแม่ได้เกาะชายผ้าเหลือง. |
ขอเฝ้า | น. ข้าพึ่งบุญเจ้า เป็นผู้ชายสำหรับเจ้านายฝ่ายในใช้สอย |
โครงการหลวง | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานอาชีพทางเลือกใหม่แก่ชาวไทยภูเขาในภาคเหนือ ซึ่งเดิมปลูกฝิ่นและทำไร่เลื่อนลอย ให้หันมาปลูกไม้ดอก ไม้ผล พืชผักเมืองหนาว และเลี้ยงปศุสัตว์เพื่อบริโภคและจำหน่าย สร้างรายได้ทดแทนการปลูกฝิ่น ทำให้ลดปัญหายาเสพติด ช่วยพิทักษ์รักษาป่าต้นน้ำ และสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน. |
ใคร ๒, ใคร ๆ | (ไคฺร) ส. ผู้ใดผู้หนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, (ซึ่งมิได้กำหนดแน่นอนลงไป) เช่น ฉันไม่อยากพึ่งใคร ใคร ๆ ก็ช่วยอะไรเขาไม่ได้. |
ง้อ | ก. ขอคืนดีด้วย, ขอพึ่งพาอาศัย. |
ชีวาลัย | ก. ตาย เช่น เพียงศรีอนุชาชีวาลัย จะผินพักตรพึ่งใครก็ขัดสน (ประชุมเพลงยาว ภาคที่ ๗ เพลงยาวความเก่า). |
ซมซาน | ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง เช่น ในที่สุดเขาก็ซมซานกลับบ้านเกิด, ซาน หรือ ซานซม ก็ว่า. |
ซาน | ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง, ซมซาน หรือ ซานซม ก็ว่า. |
ซานซม | ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง เช่น ในที่สุดเขาก็ซานซมกลับบ้านเกิด, ซาน หรือ ซมซาน ก็ว่า. |
เซซัง | ก. เดินซวนเซไปไม่ตรงเหมือนคนเจ็บหรือคนไร้ที่พึ่ง เช่น เขาถูกไล่ออกจากบ้าน ต้องเซซังไปอาศัยวัดนอน |
เซซัง | เที่ยวไปเรื่อย ๆ อย่างไม่มีจุดหมายไร้ที่พึ่ง เช่น นางจันทร์เทวีอุ้มพระสังข์เที่ยวเซซังไปในป่า. |
ดำนาณ | น. เครื่องห้าม, เครื่องป้องกัน, เครื่องต้านทาน, ที่พึ่ง, ที่อาศัย. |
ตน | น. ตัว (ตัวคน) เช่น ตนเป็นที่พึ่งของตน |
ตรีภพนาถ | น. ที่พึ่งแห่งภพ ๓, พระพุทธเจ้า, พระอินทร์, ใช้ทั่วไปถึงผู้อื่นด้วย เช่น กษัตริย์ ก็มี. |
ตรีโลกนาถ | (-โลกกะนาด) น. ที่พึ่งของโลกทั้ง ๓ ทางพระพุทธศาสนาหมายถึง พระพุทธเจ้า. |
ตาดำ ๆ | ว. ที่น่าสงสาร, ที่ขาดที่พึ่ง, เช่น เด็กตาดำ ๆ ชาวบ้านตาดำ ๆ. |
ตาดำ ๆ | น. ผู้น่าสงสาร, ผู้ขาดที่พึ่ง, เช่น ขอให้เห็นแก่ตาดำ ๆ เถอะ. |
ติดยาเสพติดให้โทษ | น. เสพเป็นประจำติดต่อกันและตกอยู่ในสภาพที่จำเป็นต้องพึ่งยาเสพติดให้โทษนั้น โดยสามารถตรวจพบสภาพเช่นว่านั้นได้ตามหลักวิชาการ. |
ไต่ไม้ลำเดียว | ก. กระทำการใด ๆ ตามลำพังตัวคนเดียวโดยไม่พึ่งพาอาศัยผู้อื่น อาจพลั้งพลาดได้. |
ไตรสรณคมน์, ไตรสรณาคมน์ | (-สะระนะคม, -สะระนาคม) น. การยึดถือพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกโดยการน้อมนำเอาพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ มาเป็นแนวทางประพฤติปฏิบัติ. |
ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน | ว. ต่างฝ่ายต่างพึ่งพาอาศัยกัน. |
ถึง ๑ | รับนับถือ, ยึดถือ, เช่น ถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งที่ระลึก |
ทฤษฎีใหม่ | น. หลักวิชาการจัดการเกษตรที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคิดค้นขึ้นเพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้อย่างเข้มแข็ง มี ๓ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นต้น คือ ครอบครัวเกษตรกรรายย่อยบริหารจัดการพื้นที่ทำกินให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน คือ พื้นที่ขุดสระ พื้นที่ปลูกข้าว พื้นที่ปลูกพืชไร่พืชสวน และพื้นที่อยู่อาศัย เพื่อให้เกิดการผลิตที่พออยู่พอกิน ขั้นกลาง คือ รวมเป็นกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมเพิ่มผลผลิตและจำหน่ายอย่างมีพลังต่อรอง และขั้นก้าวหน้า คือ สร้างเครือข่ายนอกชุมชนเพื่อหาแหล่งทุนมาร่วมลงทุนและพัฒนา ทุกขั้นตอนเน้นความมัธยัสถ์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง. |
ที่ไหน | คำใช้ในข้อความคาดคะเนว่าคงจะไม่เป็นเช่นนั้น เช่นนี้ มีความหมายว่า ไฉน, ฉันใด, อย่างไร, เช่น แล้วว่าอนิจจาความรัก พึ่งประจักษ์ดั่งสายน้ำไหล ตั้งแต่จะเชี่ยวเป็นเกลียวไป ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา (อิเหนา). |
ทุรน | ก. เดือดร้อน, ดิ้นรน, เช่น ราชาธิราชอาณา ทั่วสีมามณฑล จะทุรนเดือดแด แปรบเห็นที่พึ่ง (นิทราชาคริต). |
เทววาจิกสรณคมน์ | (ทะเววาจิกะสะระนะคม) น. การเปล่งวาจาถึงรัตนะ ๒ คือ พระพุทธเจ้าและพระธรรมว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึก เพราะเวลานั้นยังไม่มีพระสงฆ์ เป็นสรณคมน์ที่ตปุสสะและภัลลิกะกล่าวหลังจากที่ได้ถวายข้าวสัตตุก้อนสัตตุผงแด่พระพุทธเจ้าในสัปดาห์ที่ ๔ หลังจากตรัสรู้. |
ธรรมนาถ | น. ผู้เป็นที่พึ่งทางธรรม, ผู้รักษากฎหมาย. |
นาถ | (นาด) น. ที่พึ่ง, ผู้เป็นที่พึ่ง, เช่น โลกนาถ. |
นิสัย | ที่พึ่ง, ที่พักพิง, ที่อาศัย, เช่น ขอนิสัยในการอุปสมบท. |
เนรนาถ | (เนระนาด) ก. ไม่มีที่พึ่ง, ซัดเซพเนจร, เช่น ก็เนรนาถประพาสพรตยังเขาสิงขรบวรวงกต (ม. ร่ายยาว ชูชก). |
ใบบุญ | น. อำนาจหรือบุญบารมีของผู้อื่นที่ช่วยปกป้องคุ้มครอง เช่น พึ่งใบบุญผู้ใหญ่. |
ปีกกล้าขาแข็ง | ก. พึ่งตัวเองได้, เป็นคำที่ผู้ใหญ่มักใช้กล่าวเชิงตำหนิติเตียนผู้น้อย. |
ฝากผีฝากไข้ | ก. ขอยึดเป็นที่พึ่งจนวันตาย. |
เพ่อ | ว. ใช้ประกอบหลังคำ อย่า เป็น อย่าเพ่อ หมายความว่า ห้ามไม่ให้กระทำในขณะนั้น เช่น อย่าเพ่อกิน, พึ่ง เพิก หรือ เพิ่ง ก็ว่า. |
เพิก ๑ | ว. ใช้ประกอบหลังคำ อย่า เป็น อย่าเพิก หมายความว่า ห้ามไม่ให้กระทำในขณะนั้น เช่น อย่าเพิกไป, เพ่อ เพิ่ง หรือ พึ่ง ก็ว่า. |
เพิ่ง | ว. พึ่ง. (ดู พึ่ง ๒). |
ไม้ร่มนกจับ | น. ผู้มีวาสนาย่อมมีคนมาพึ่งบารมี. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
population dependent on agriculture | ประชากรที่พึ่งเกษตรกรรม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
patron-client relationship | สัมพันธภาพแบบผู้อุปถัมภ์กับผู้พึ่งพา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
relationship, patron-client | สัมพันธภาพแบบผู้อุปถัมภ์กับผู้พึ่งพา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rugged individualism | ปัจเจกนิยมตกขอบ, ปัจเจกนิยมแบบไม่พึ่งใคร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
self-sufficiency | การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ [ ดู autarky ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
self-supporting person | ผู้พึ่งตนเอง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
symbiosis | ภาวะพึ่งพิงซึ่งกันและกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
oxybiontic | -ชีวิตพึ่งอากาศ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
autarky | การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ [ ดู self-sufficiency ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
age dependency ratio | อัตราส่วนการพึ่งพิงตามวัย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
mutualism | ภาวะพึ่งพากัน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
context-free grammar | ไวยากรณ์ไม่พึ่งบริบท [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
context-sensitive grammar | ไวยากรณ์พึ่งบริบท [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
dependency | ภาวะต้องพึ่งพิง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
dependency period income | เงินได้ระยะพึ่งพิง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dependency, emotional | ภาวะพึ่งพิงทางอารมณ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dependent | ๑. ที่ต้องพึ่งพิง๒. ผู้อยู่ในอุปการะ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dependent | ผู้พึ่งพิง, ผู้อยู่ในอุปการะ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
dependent state | รัฐในภาวะพึ่งพิง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dependable computing | การคำนวณที่พึ่งได้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
dependency | ๑. ภาวะพึ่งพิง๒. เขตสังกัด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
data independence | ความไม่พึ่งพิงข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
dependent territory | ดินแดนในภาวะพึ่งพิง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
economic dependency ratio | อัตราส่วนการพึ่งพิงทางเศรษฐกิจ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
emotional dependency | ภาวะพึ่งพิงทางอารมณ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
independence | ความไม่พึ่งพิง, ความไม่ขึ้นกับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
individualism, rugged | ปัจเจกนิยมตกขอบ, ปัจเจกนิยมแบบไม่พึ่งใคร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Dependence | การพึ่งพา [เศรษฐศาสตร์] |
Interdependence | การพึ่งพากัน [เศรษฐศาสตร์] |
Deinstitutionalization | การลดการพึ่งพิงบริการของรัฐ [TU Subject Heading] |
Dependency | ทฤษฎีพึ่งพา [TU Subject Heading] |
Dependency (Psychology) | การพึ่งตนเอง (จิตวิทยา) [TU Subject Heading] |
Dependency on foreign countries | การพึ่งพาต่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Diabetes mellitus, Insulin-dependent | เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน [TU Subject Heading] |
Diabetes mellitus, Non-insulin-dependent | เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน [TU Subject Heading] |
Dependency | ภาวะพึ่งพิง หรืออัตราส่วนการพึ่งพิง (dependency ratio), Example: ภาวะที่บุคคลต้องพึ่งพิงหรืออยู่ในอุปการะของ ผู้อื่น บุคคลเหล่านั้นเป็นประชากรที่ไม่ทำงานในเชิงเศรษฐกิจ และไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ เป็นผู้ที่ได้รับการอุปการะจากผู้ทำงานหาเงิน ได้แก่ แม่บ้าน เด็กในอุปการะ คนชรา รวมทั้งบุคคลผู้รับการสงเคราะห์ หรือรับสวัสดิการสังคมจากรัฐเพื่อการดำรงชีพ อัตราส่วนของผู้อยู่ในอุปการะ (dependent or dependant) ต่อผู้ทำงานหาเงินหรือผู้หาเลี้ยง (earner) คืออัตราส่วนการพึ่งพิง [สิ่งแวดล้อม] |
Self-Sufficiency Economy | ระบบเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้, Example: ความสามารถของเมือง รัฐ ประเทศหรือภูมิภาคหนึ่งๆ ในการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้นๆ ได้โดยไม่ต้องพึ่งพาสินค้านำเข้า ข้อได้เปรียบสำคัญของ ระบบเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้คือ ไม่ต้องพึ่งพาสินค้าจำเป็นขั้นพื้นฐานจากประเทศอื่นที่อาจมีราคาแพงเกินไป เมื่อเกิดวิกฤตน้ำมันขึ้นราคาครั้งใหญ่ใน พ.ศ. 2516 ได้กระตุ้นให้มีการค้นหาและผลิตน้ำมันปิโตรเลียมในสหรัฐอเมิรกาและประเทศ ต่างๆ เพื่อให้พึ่งพาตนเองในด้านพลังงานและเชื้อเพลิงได้ ข้อเสียสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบนี้ คือ กระตุ้นให้มีการปกป้องผู้ผลิตในประเทศที่ด้อยประสิทธิภาพ [สิ่งแวดล้อม] |
Economic Dependency Ratio | อัตราส่วนการพึ่งพิงทางเศรษฐกิจ, Example: อัตราส่วนของประชากรที่ไม่ทำงานในเชิงเศรษฐกิจ ต่อประชากรที่ทำงานในเชิงเศรษฐกิจ [สิ่งแวดล้อม] |
Age Dependency Ratio | อัตราส่วนของการพึ่งพิงทางอายุ, Example: อัตราส่วนของประชากรวัยเด็ก และวัยสูงอายุต่อประชากรวัยทำงานทั้งหมด [สิ่งแวดล้อม] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
marginalisation (marginalization) | การถูกเบียดตกขอบ สภาวการณ์ด้านเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่ออนาคตการพัฒนาและเศรษฐกิจของประเทศใด ประเทศหนึ่ง ทำให้ไม่สามารถเก็บเกี่ยวประโยชน์จากเศรษฐกิจโลกที่มีบูรณาการ (integration) เพิ่มขึ้น สภาพการณ์ดังกล่าวมักถูกมองว่าเกิดขึ้นควบคู่ไปกับโลกาภิวัตน์ และประเทศกำลังพัฒนาและประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุดมีโอกาสเสี่ยงที่จะตกอยู่ใน สภาวการณ์นี้ เนื่องจากประสบความยากลำบากในการปฏิบัติตามพันธกรณีการเปิดเสรีทางการค้า กอปรกับราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ประเทศเหล่านี้พึ่งพาตกต่ำลง [การทูต] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
Aerobic, Obligate | ต้องพึ่งออกซิเจน [การแพทย์] |
Anaerobes | แบคทีเรียที่ไม่ต้องการออกซิเจน, บัคเตรีที่เจริญโดยไม่พึ่งออกซิเจน, จุลชีพไม่พึ่งออกซิเจน [การแพทย์] |
Anaerobic | การพร่องออกซิเจน, ที่ไม่มีออกซิเจน, ที่ไม่มีอากาศ, แอนแอโรบิค, ไม่ต้องการออกซิเจน, ไม่ได้ใช้ออกซิเจน, ไม่พึ่งออกซิเจน, ไม่ใช้ออกซิเจน [การแพทย์] |
Antibodies, Cellular | แอนติบอดีย์พึ่งเซลล์ [การแพทย์] |
Antibodies, Mediated | แอนติบอดีย์พึ่งเซลล์ [การแพทย์] |
Dependence | การพึ่งยา, การพึ่งยามากยิ่งขึ้น, การเสพติด, การติดยา [การแพทย์] |
Dependence Indicator | ตัวชี้บ่งการพึ่งพาอาศัยผู้อื่น [การแพทย์] |
Dependence, Physical | การติดทางกาย, การเสพติดยาทางด้านร่างกาย, อาการทางกายเมื่อขาดยา, การพึ่งยาทางร่างกาย [การแพทย์] |
Dependency (Psychology) | วัยที่ต้องพึ่งพิง, อาการช่วยตัวเองไม่ได้, การพึ่งพาคนอื่น, การติด, การช่วยตัวเองไม่ได้ [การแพทย์] |
Dependent | พึ่งพาอาศัยผู้อื่น, ชอบพึ่งพาผู้อื่น, ต้องพึ่งพาผู้อื่น [การแพทย์] |
Dependent Relationship | ความสัมพันธ์แบบพึ่งพาผู้อื่น [การแพทย์] |
Dependent System | ระบบพึ่งพิง [การแพทย์] |
Dependent, Passive | บุคลิกไปทางแบบต้องพึ่งคนอื่น, คนที่ไม่มั่นใจในตนเองและชอบพึ่งคนอื่น [การแพทย์] |
Diabetes Mellitus, Insulin-Dependent | เบาหวานชนิดพึ่งอินสุลิน [การแพทย์] |
Diabetics, Insulin Dependent | เบาหวานที่ต้องพึ่งอินสุลิน [การแพทย์] |
Drug-Dependence | การพึ่งยา [การแพทย์] |
mutualism | ภาวะพึ่งพากัน, สภาพความสัมพันธ์แบบหนึ่งของการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์จากการดำรงชีวิตร่วมกัน ถ้าขาดฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งก็ไม่สามารถจะดำรงชีวิตอยู่ได้ เช่น ไลเคน ซึ่งเป็นการอยู่ร่วมกันของสาหร่ายและรา เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
lichen | ไลเคน, สิ่งมีชีวิตสองชนิด ประกอบด้วยสาหร่ายและราอยู่ร่วมกันและมีความสัมพันธ์แบบภาวะที่ต้องพึ่งพา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Gram-Negative Aerobic Bacteria | แบคทีเรียแกรมลบที่พึ่งออกซิเจน [การแพทย์] |
Gram-Negative Anaerobic Bacteria | แบคทีเรียแกรมลบที่ไม่พึ่งออกซิเจน [การแพทย์] |
Immune Response, Cell-Mediated | การตอบสนองแบบการพึ่งเซลล์ [การแพทย์] |
Immunity, Cell-Mediated | ภูมิคุ้มกันชนิดอาศัยเซลล์, ภูมิคุ้มกันที่อาศัยเซลล์, ระบบภูมิคุ้มกันชนิดพึ่งเซลล์, ภูมิคุ้มกันที่อาศัยเซลล์เป็นสื่อ, ภูมิคุ้มกันผ่านเซลล์, กระบวนการสร้างภูมิคุ้มกันชนิดพึ่งเซลล์, ภูมิต้านทานพึ่งเซลล์ [การแพทย์] |
Insulin Dependent | ต้องพึ่งอินสุลินต่อไป, แบบต้องพึ่งอินสุลิน [การแพทย์] |
Microaerophillic | ไม่พึ่งอากาศมาก [การแพทย์] |
Motive, Dependency | แรงจูงใจใฝ่พึ่งพา [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ภาวะพึ่งพา | [phāwa pheung phā] (n) EN: mutualism FR: mutualisme [ m ] |
ภาวะที่ต้องพึ่งพา | [phāwa thī tǿng pheungphā] (n, exp) EN: mutualism FR: mutualisme [ m ] |
พึ่ง | [pheung] (x) EN: just FR: juste ; à peine |
พึ่ง | [pheung] (v) EN: rely on ; depend on FR: compter sur ; dépendre de |
พึ่งงาน | [pheung ngān] (n, exp) FR: ouvrière [ f ] |
พึ่งพา | [pheungphā] (v) EN: depend on ; lean on ; rely on ; count on FR: dépendre de ; compter sur |
พึ่งพาอาศัย | [pheungphā āsai] (v, exp) EN: depend on ; rely on ; lean on ; count on FR: avoir recours à |
พึ่งพาอาศัยกัน | [pheungphā āsai kan] (v, exp) EN: mutually depend on each other |
พึ่งพากัน | [pheungphā kan] (v, exp) EN: depend on |
ทฤษฎีพึ่งพา | [thritsadī pheungphā] (n, exp) EN: dependency theory |
ไวยากรณ์พึ่งพา | [waiyākøn pheungphā] (n, exp) EN: generative grammar |
Longdo Approved EN-TH
helpless | (adj) ไร้ที่พึ่ง, ขาดที่พึ่งพา |
hatchling | (n) ตัวอ่อนที่พึ่งฟักออกจากไข่ เช่น นก, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ, ปลา และสัตว์เลื้อยคลาน, ลูกเจี๊ยบ |
stonefly | (n, name) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: plecoptera |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
autarky | (ออ'ทาร์คี) n. ความสามารถพึ่งพาตัวเองได้ของชาติในทางเศรษฐกิจ, นโยบายในการพึ่งตนเองในทางเศรษฐกิจของชาติ., Syn. autarchy -autarkic al adj. -autarkist n. |
client | (ไคล'เอินทฺ) n. ลูกความ, คนไข้, ลูกค้า, คนซื้อของ, ผู้พึ่งคนอื่น, บุคคลหรือบริษัทที่จ่ายเงินสำหรับสินค้าหรือการบริการ adj. เป็นลูกค้าประจำ, See also: cliental adj. ดูclient ผู้รับบริการ1. ใช้ในเรื่องของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ LAN หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่สามารถเรียกข้อมูลข่าวสารหรือโปรแกรมจากเครื่องบริการแฟ้ม file server มาใช้ได้ หรืออาจหมายถึงเครื่องที่ทำงานอย่างอิสระ โดยใช้โปรแกรมที่มีอยู่ในเครื่องนั้นเองก็ได้ ดู file server ประกอบ2. หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ข้อมูลร่วมกับเครื่องอื่นได้ โดยใช้ระบบ DDE หรือ dynamic data exchange ดู dynamic data exchange ประกอบ |
depend | (ดีเพนดฺ') { depended, depending, depends } vi. ขึ้นอยู่กับ, อาศัย, อยู่ที่, สุดแล้วแต่, พึ่งพา, แขวนหรือห้อยอยู่, เชื่อถือ |
dependable | (ดีเพน'ดะเบิล) adj. เชื่อถือได้, พึ่งพาได้, ไว้วางใจได้., See also: dependabilityn., Syn. reliable, Ant. changeable |
dependence | (ดีเพน'เดินซฺ) n. การพึ่งพา, เมืองขึ้น, สิ่งที่วางใจ., Syn. dependance |
dependency n. | การพึ่งพา, ผู้อยู่ในความอุปถัมภ์, ส่วนต่อ, ส่วนเสริม, เมืองขึ้น -S.dependancy, dependence |
encumbrance | (เอนคัม'บรันซฺ) n. สิ่งกีดขวาง, เครื่องถ่วงความเจริญ, ผู้ที่ต้องพึ่งพาคนอื่น , การเรียกร้องสิทธิในทรัพย์ สิน, การติดพัน, Syn. incumbrance |
hinge | (ฮินจฺ) n., vt. (ใส่) บานพับ, สายยู, หลักการ, จุดสำคัญ, ส่วนที่ปิดพับได้, ทำให้พึ่งพา, ทำให้ขึ้นอยู่กับ, Syn. depend, rest |
lean | (ลีน) { leaned/leant, leaned/leant, leaning, leans } vi. เอียง, เอน, ลาด, โน้มเอียง, พาดพิง, พึ่งพา. vt. เอียง, เอน, ทำให้เอียง, ทำให้เอน n. การเอียง, การเอน, ส่วนของเนื้อที่มีเนื้อมากกว่ามัน, ส่วนที่ผอม, ส่วนที่ไม่ค่อยมีเนื้อ adj. ผอม, ไม่ค่อยมีเนื้อ, ไม่ค่อยเต็ม, ไม่อุดมสมบูรณ์, ขาดแคลน, ซึ่งมีสารมีสีมากกว่าน้ำมัน |
momism | (มอม'มิสซึม) n. การพึ่งพาความรักหรือการดูแลของแม่มากเกิน |
nascent | (แนส'เซินทฺ, เน'เซินทฺ) adj. พึ่งเริ่ม, กำลังเริ่ม, ยังใหม่, See also: nascence, nascency n., Syn. commencing |
recourse | (รีคอร์ส', รี'คอร์ส) n. การขอความช่วยเหลือ, การหันไปพึ่งพาอาศัยหรือขอความช่วยเหลือ, สิทธิไล่เบี้ย, สิ่งที่หันไปขอความช่วยเหลือ, Syn. resource, resort |
refuge | (เรฟ'ฟิวจฺ) n. ที่หลบภัย, ที่ปลอดภัย, ที่พึ่ง, ร่มโพธิ์ร่มไทร vt. ให้ที่หลบภัยแก่. vi. หลบภัย, ลี้ภัย |
rely | (รีไล') vi. ไว้วางใจ, เชื่อใจ, วางใจ, เชื่อมั่น, อาศัย, พึ่งพาอาศัย, Syn. depend confidently |
resort | (รีซอร์ท') vt. อาศัย, พึ่ง, ใช้, ใช้วิธี, ใช้มาตรการ, ไป, มักไป n. สถานที่ที่ผู้คนไปกันบ่อย, ที่มั่วสุม, ที่มีชื่อเสียง, การไปอยู่เสมอ, การอาศัย, การใช้มาตรการอันใดอันหนึ่ง, สิ่งที่ขอความช่วยเหลือ, ผู้ที่ถูกขอความช่วยเหลือ, Syn. go, use, employ |
Nontri Dictionary
defenceless | (adj) ไม่มีเครื่องป้องกัน, ไม่มีที่พึ่ง, ไม่สามารถป้องกันตัวเอง |
defenseless | (adj) ไม่มีเครื่องป้องกัน, ไม่มีที่พึ่ง, ไม่สามารถป้องกันตัวเอง |
depend | (vi) เชื่อถือ, ไว้ใจ, พึ่งพิง, อาศัย, ขึ้นอยู่กับ |
dependable | (adj) เชื่อถือได้, ไว้ใจได้, วางใจได้, พึ่งพาได้ |
dependence | (n) ความเชื่อใจ, ความไว้ใจ, การพึ่งพาอาศัย, เมืองขึ้น |
dependency | (n) ประเทศราช, เมืองขึ้น, การอาศัย, การพึ่งพา |
dependent | (adj) เป็นผลมาแต่, ขึ้นอยู่กับ, ต้องอาศัย, ต้องพึ่งพา |
dependent | (n) คนที่คอยพึ่งผู้อื่น, ผู้อาศัย, คนรับใช้ |
interdependence | (n) การพึ่งพาอาศัยกัน |
interdependent | (adj) พึ่งพาอาศัยกัน |
recourse | (n) การพึ่งพา, การขอความช่วยเหลือ |
refuge | (n) ที่พักอาศัย, ที่พำนัก, ที่พึ่ง, ร่มโพธิ์ร่มไทร |
resort | (vt) ใช้วิธี, พึ่ง, อาศัย, พึ่ง |
SELF-self-sufficient | (adj) พึ่งตัวเอง, อิสระ, เลี้ยงตัวเอง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
aquaponic | เกษตรผสมผสานพึ่งพากัน ปลูกพืช เลี้ยงปลา แบบพึ่งพาซึ่งกันและกัน |
aquaponic | (n) เกษตรผสมผสานแบบพึ่งพาซึ่งกันและกัน เช่น ปลูกพืช ให้เป็นอาหารปลา ปลาขี้ใส่ลงในน้ำกลายเป็นปุ๋ยให้กับพืช |
community enterprise | กิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ หรือการอื่น ๆ ที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความผูกพัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและรวมตัวกันประกอบกิจการดังกล่าว เพื่อสร้างรายได้และเพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชน และระหว่างชุมชน |
eusociality | (n) ระบบสังคมแบบพึ่งพาอาศัย |
Stoneflies | (n) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: Stonefly, Plecoptera, Stonefly, Syn. Plecoptera |
terrarium | (n) ธรรมชาติจำลองขนาดเล็กที่สร้างขึ้น ในพื้นที่สิ่งแวดล้อมจำลอง ที่สามารถพึ่งพากันในระบบนั้นๆได้ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
柱 | [はしら, hashira] เสา , คนที่เป็นที่พึ่งพิง |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
頼る | [たよる, tayoru] TH: พึ่งพิง EN: to rely |
仰ぐ | [あおぐ, aogu] TH: หวังพึ่ง |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.044 seconds, cache age: 2.497 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม