54 ผลลัพธ์ สำหรับ *คณะทำงาน*
ภาษา
หรือค้นหา: คณะทำงาน, -คณะทำงาน-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
คณะทำงาน | (n) working group, Example: คณะทำงานที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายป้องกันการผูกขาดควรจะทำตัวเป็นกรรมการที่ให้ความยุติธรรมแก่ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค, Count Unit: คณะ, Thai Definition: คณะบุคคลที่ร่วมกันทำงานตามเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
Forum of Incident Response and Security Teams (FIRST) | คณะทำงานตอบสนองอุบัติการณ์และรักษาความมั่นคง (เฟิสต์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
force, task | ๑. คณะทำงานเฉพาะกิจ๒. กำลังรบเฉพาะกิจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
FIRST (Forum of Incident Response and Security Teams) | เฟิสต์ (คณะทำงานตอบสนองอุบัติการณ์และรักษาความมั่นคง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
task force | ๑. คณะทำงานเฉพาะกิจ๒. กำลังรบเฉพาะกิจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
School management teams | คณะทำงานบริหารโรงเรียน [TU Subject Heading] |
ASEAN Task Force on Social Safety Nets | คณะทำงานเฉพาะกิจของอาเซียนด้านโครงข่ายรองรับทางสังคม [การทูต] |
ASEAN Task Force on AIDS | คณะทำงานเฉพาะกิจของอาเซียนด้านโรคเอดส์ [การทูต] |
ASEAN-Russia Joint Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-รัสเซีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน มีคณะทำงาน 2 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ (2) ด้านเศรษฐกิจ [การทูต] |
ASEAN Senior Officials on the Environment | เจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม " ประกอบด้วยผู้แทนระดับปลัดกระทรวง มีหน้าที่ดูแลความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน และกับประเทศและองค์กรอื่น ๆ มีการประชุมปีละครั้ง แยกเป็น 1 คณะผู้เชี่ยวชาญและ 3 คณะทำงาน ซึ่งได้แก่ (1) คณะทำงานเฉพาะกิจทางเทคนิคด้านปัญหาหมอกควัน (2) คณะทำงานอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมชายฝั่งและทางทะเล (3) คณะทำงานอาเซียนเกี่ยวกับความตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม และ (4) คณะทำงานอาเซียนด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ " [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
e-ASEAN High Level Task Force | คณะทำงานเฉพาะกิจระดับสูงด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน [การทูต] |
e-ASEAN Working Group | คณะทำงานด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน [การทูต] |
Forum for Comprehensive Development of Indochina | เวทีเพื่อการพัฒนาอย่างสมบูรณ์แบบในอินโดจีน เป็นความริเริ่มโดยกระทรวงการต่างประเทศญี่ปุ่นที่จะให้มีเวทีปรึกษาหารือ เพื่อช่วยพัฒนาประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม กลไกประกอบด้วยคณะทำงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะที่ปรึกษาภาคเอกชนโดยเน้นบทบาทในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการพัฒนาภาค เอกชนตลอดจนการสร้างความเชื่อมโยงกับกรอบความร่วมมือ (GMS) [การทูต] |
Forum for East Asia - Latin America Cooperation | เวทีความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออกและลาตินอเม ริกา สมาชิก 32 ประเทศ จากภูมิภาคเอเชียและลาตินอเมริกา โดยมีสมาชิก จากฝ่ายเอเชีย 15 ประเทศ คือ กลุ่ม ASEAN (10 ประเทศ) จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ และจากฝ่ายลาตินอเมริกา 17 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก กัวเตมาลา เอลซัลวาดอร์ คอสตาริกา นิการากัว คิวบา ปานามา เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา บราซิล โบลิเวีย เอกวาดอร์ ปารากวัย อุรุกวัย อาร์เจนตินา และชิลี วัตถุประสงค์ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2542 มีการประชุมระดับรัฐมนตรีต่าง -ประเทศทุก 2 ปี ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ปีละ 2 ครั้ง และคณะทำงาน 3 คณะ ปีละ 2 ครั้ง (คณะทำงานด้านการเมือง วัฒนธรรม และการศึกษา / ด้านเศรษฐกิจและสังคม / และด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเวทีปรึกษาหารือและร่วมมือกันอย่างไม่เป็นทางการระหว่างประเทศเอเชียและ ลาตินอเมริกา โดยมีเป้าหมายไปที่การดำเนินโครงการความร่วมมือในทุกสาขาที่ประเทศสมาชิกมี ความสนใจร่วมกัน [การทูต] |
Human Resources Development Working Group | คณะทำงานว่าด้วยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (ในความร่วมมือเอเปค) [การทูต] |
Japan - Thailand Joint Taks Forc on Counter Trafficking in pesons | คณะทำงานเฉพาะกิจร่วมไทย - ญี่ปุ่นว่าด้วยการต่อต้านการค้ามนุษย์ จัดตั้งเมื่อ พ.ศ.2549 เพื่อเป็นกลไกในการประสานความร่วมมือต่อต้านการค้ามนุษย์ระหว่างกัน ระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาล ครอบคลุมความร่วมมือใน 3 เรื่อง ได้แก่ (1) การป้องกันการค้ามนุษย์ ( prevention) (2) การบังคับใช้กฎหมาย (law enforcement) และ (3) การคุ้มครองเหยื่อการค้ามนุษย์ (protection) [การทูต] |
Tourism Working Group | คณะทำงานว่าด้วยการท่องเที่ยว (ในกรอบความร่วมมือของ APEC) [การทูต] |
Working Group on Industrial Cooperation | คณะทำงานด้านความร่วมมือทางอุตสาหกรรมของอาเซียน [การทูต] |
Working Group on Intellectual Property Cooperation | คณะทำงานด้านความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญาของอาเซียน [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
คณะทำงาน | [khana thamngān] (n, exp) EN: working group ; working party ; staff |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
staff | (vt) จัดหาคณะทำงาน, Syn. employ, hire |
team | (n) กลุ่มคนทำงานหรือเล่นกีฬาในกลุ่มเดียวกัน, See also: คณะทำงาน, Syn. partners, troupe, company |
think tank | (n) คณะทำงานระดับมันสมอง |
Nontri Dictionary
staff | (vt) จัดคณะทำงาน, บรรจุคนทำงาน |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
task force | [ท๊าสค์ ฟอร์ส] (n) คณะทำงานเฉพาะกิจ กองกำลังเฉพาะกิจ |
Longdo Approved DE-TH
Redaktion | (n) |die, pl. Redaktionen| กองบรรณาธิการหนังสือ, คณะทำงานในกองถ่ายภาพยนตร์เกี่ยวกับสารคดี |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0519 seconds, cache age: 1.548 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม