506 ผลลัพธ์ สำหรับ *กรม*
ภาษา
หรือค้นหา: กรม, -กรม-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bloatware | (n) โปรแกรมที่มีความสามารถหลากหลายแต่ก็สิ้นเปลืองทรัพยากรของเครื่องมากเกินความจำเป็น |
[อิน-สตะ-แกรม] (n) อินสตาแกรม (transliterated word) | |
let's see | (phrase, (spoken)) Let’s + V1 แปลประมาณว่า …..กันเถอะ มาดูกันว่า, เดี๋ยวนะ, คอยดูสิว่า, I am thinking about this, you are not sure what to say next OK. Let's see where we are.มาดูกันว่าถึงไหนแล้้ว Do you know a shop that sells dictionaries?” (ขอโทษครับ) พี่รู้จักร้านหนังสือที่ขายพวกพจนานุกรมไหมครับ? “Let me see” เดี๋ยวนะ ให้ผมคิดก่อน Let’s see what you will get for the New Year. คอยดูสิว่าเธอจะได้อะไรเป็นของขวัญวันปีใหม่ let's see (spoken) I am thinking about this “Do you have any idea how many people will be there?” “Well, let's see – I don't think I could put a number on it.” Let's see how much you want to win this event. Now that we know what your interests are, let's see if we can match you to a job that you'd like. |
Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
กรมสารบัญทหารบก | (n) Adjutant Generals Department |
ปฏิบัติราชการแทน | (exp) (ตำแหน่งต่ำกว่า)...for...(ตำแหน่งสูงกว่า) เช่น "รองอธิบดีกรมสรรพากร ปฏิบัติราชการแทนอธิบดี" เขียนว่า "Deputy Director-General of the Revenue Department for the Director-General" |
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ | (n, phrase) Computer Package at Work |
หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (รด.), หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง, กรมการรักษาดินแดน | (n, org, uniq) Territorial Defense Command, Army Reserve Command, Territorial Defence Department |
Longdo Unapproved CN - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
税局 | [税 局] (n) กรมสรรพากร, หน่วยงานด้านภาษี |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
กรม | (n) department, See also: bureau, regiment of soldier, Example: จากผลสำรวจพบว่าเจ้าหน้าที่ของกรมการบินพลเรือนทหารบางนายไม่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายการบินฉบับแก้ไขใหม่, Count Unit: กรม, Thai Definition: แผนกใหญ่ในราชการ ตามลักษณะปกครองในสมัยโบราณ ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่ากระทรวง |
จงกรม | (v) walk back and forth, Syn. เดินจงกรม, Example: เวลาพระท่านจะบริหารร่างกายท่านใช้วิธีเดินจงกรมและสวดมนต์ไปด้วย, Thai Definition: อาการที่เดินไปมาในที่ที่กำหนดอย่างพระเจริญกรรมฐานเดิน เรียกว่า เดินจงกรม |
วิกรม | (n) courage, See also: bravery, Syn. ความเก่งกล้า, ความกล้าหาญ |
วิกรม | (v) go on with bravery, See also: be brave, stride forward bravely, march on courageously, Syn. เก่งกล้า, กล้าหาญ, Thai Definition: ก้าวล่วงไปด้วยความกล้าหาญ |
กรมการ | (n) governmental administrative staff, See also: administrative staff, officials, Example: กรมการจังหวัดได้ร่างระเบียบการจัดเก็บขยะขึ้นมาใหม่, Count Unit: คณะ, ชุด, Thai Definition: เจ้าพนักงานคณะหนึ่ง มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน ถ้าเป็นกรมการจังหวัดก็ประกอบด้วยข้าหลวงประจำจังหวัด ปลัดจังหวัด และหัวหน้าส่วนราชการบริหารฝ่ายพลเรือนต่างๆ ซึ่งเป็นหน้าที่ประจำจังหวัด |
กรมท่า | (n) harbour department, See also: foreign-affairs department, Thai Definition: ส่วนราชการในสมัยก่อนซึ่งอยู่ในสังกัดกรมพระคลัง มีหน้าที่เกี่ยวกับการต่างประเทศและปกครองเมืองท่า, Notes: (โบราณ) |
กรมท่า | (adj) blue, See also: dark blue, azure, Syn. สีกรมท่า, สีขาบ, สีน้ำเงินแก่, Example: ในสมัยก่อนหนุ่มสาวผู้มีสตางค์ทั้งหลายนิยมใส่เสื้อนอกแบบสากลสีกรมท่า, Notes: (โบราณ) |
อนุกรม | (n) sequence, See also: order, series, Syn. อันดับ, Example: เลขต่างๆ ข้างต้นเรียงกันเป็นอนุกรม, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
อุปกรม | (n) beginning, Syn. การตั้งต้น |
อุปกรม | (n) approach, Syn. การเข้าใกล้ |
อุปกรม | (n) attempt, Syn. การพยายาม |
กรมหลวง | (n) Krom Luang, See also: Prince of the third class, Example: ทางกองทัพเรือได้จัดสร้างเหรียญเสด็จเตี่ยหรือพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์, Thai Definition: ยศของเชื้อพระวงศ์ที่พระเจ้าแผ่นดินทรงแต่งตั้ง |
ตั้งกรม | (v) set up a new department, See also: establish a new department, install members of the royal family in a higher rank, Syn. ทรงกรม, Thai Definition: สถาปนาเจ้านายขึ้นทรงกรม |
เจ้ากรม | (n) director of a (military) department, Example: สมัยที่ผมเป็นเจ้ากรมยุทธการทหารบก งานสำคัญคืองานข่าวและยุทธการ, Thai Definition: หัวหน้ากรมในราชการฝ่ายทหาร, หัวหน้ากรมของเจ้าต่างกรม |
โปรแกรม | (n) program, See also: instruction, Syn. รายการ, Example: ไม่รู้ว่าโปรแกรมหนังเดือนนี้มีอะไรน่าสนใจบ้าง |
โปรแกรม | (n) program, See also: instruction, Syn. ชุดคำสั่ง, Example: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ในปัจจุบันมีประสิทธิภาพดีขึ้นกว่าเก่ามาก, Count Unit: โปรแกรม, ชุด, Thai Definition: ชุดคำสั่งที่กำหนดระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ |
ไผทโกรม | (n) underlying ground, See also: earth surface, low ground, earth, Syn. พื้นดิน, ผิวดิน, Thai Definition: แผ่นดินต่ำ หมายความว่า ใต้หล้า คือ พื้นโลก |
กรมตำรวจ | (n) Royal Thai Police Department, See also: Police Department, Example: กรมตำรวจพยายามสร้างภาพลักษณ์ให้ดีขึ้นโดยการประชาสัมพันธ์การทำงานของตำรวจให้ประชาชนได้รับทราบ, Count Unit: กรม |
กรมธรรม์ | (n) insurance policy, See also: contract, document binding, Example: การประกันภัยใช้คอมพิวเตอร์ในการบันทึกรายละเอียดของกรมธรรม์, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: เอกสารซึ่งทาสลูกหนี้ยินยอมให้กรมการอำเภอทำให้ไว้แก่เจ้าหนี้นายเงิน |
กรมประมง | (n) Department of Fisheries, Example: กรมประมงได้จัดหาพันธุ์ปลาพันธุ์ใหม่ให้กับประชาชนทดลองเลี้ยงเพื่อเป็นอาชีพ |
กรมพระยา | (n) Krom Phraya, See also: Prince of the second class, Example: สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงมีความเห็นว่าถิ่นฐานเดิมของไทยอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศจีน, Thai Definition: ยศของเชื้อพระวงศ์ที่พระเจ้าแผ่นดินทรงแต่งตั้ง |
กรมยุโรป | (n) Department of European Affairs |
กรมหมื่น | (n) Krom Muen, See also: Prince of the first class, Thai Definition: ยศของเชื้อพระวงศ์ที่พระเจ้าแผ่นดินทรงแต่งตั้ง |
ปทานุกรม | (n) dictionary, See also: lexicon, glossary, Syn. พจนานุกรม, อภิธานคำศัพท์, Example: ปทานุกรมแบบใหม่มีทั้งฉบับอังกฤษเป็นไทยและไทยเป็นอังกฤษ, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือสำหรับค้นคว้าความหมายของคำที่เรียงตามลำดับบท |
กรมที่ดิน | (n) Department of Lands, Example: กรมที่ดินจะหามาตรการประเมินราคาให้เท่าเทียมเพื่อความยุติธรรมของทุกฝ่าย, Count Unit: กรม |
กรมป่าไม้ | (n) Royal Forest Department, See also: Department of Forestry, Example: กรมป่าไม้ได้เร่งรัดให้มีการปลูกป่าทดแทนมากขึ้น |
กรมสมเด็จ | (n) Krom Somdej, See also: Prince of the blood, Syn. กรมพระยา, Thai Definition: ยศของเชื้อพระวงศ์ที่พระเจ้าแผ่นดินทรงแต่งตั้ง |
กรมอนามัย | (n) Department of Health, See also: Public Health Department, Example: กรมอนามัยจัดให้มีการประกวดความสะอาดบ้านและสิ่งแวดล้อมในชุมชน |
ฐานานุกรม | (n) ecclesiastical orders, Example: การได้รับแต่งตั้งเป็นพระฐานานุกรม ทำให้มีฐานะเป็นพระสมณศักดิ์ ที่มีฐานะทางสังคมสูงกว่าพระสามัญ, Thai Definition: ลำดับตำแหน่งยศพระสงฆ์ที่พระราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามทำเนียบ |
นามานุกรม | (n) nomenclature dictionary, Example: การทำวิจัยเรื่องนี้จำเป็นต้องใช้นามานุกรมหลายเล่ม, Count Unit: เล่ม, ฉบับ, Thai Definition: พจนานุกรมคำวิสามานยนาม |
พจนานุกรม | (n) dictionary, Example: การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศไม่ได้เริ่มต้นด้วยการท่องพจนานุกรมของภาษานั้นทุกๆ คำ แต่เริ่มจากการศึกษาคำสั่งเฉพาะที่จำเป็น, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือสำหรับค้นความหมายของคำที่เรียงลำดับตามตัวอักษร |
สารานุกรม | (n) encyclopaedia, Count Unit: เล่ม |
สารานุกรม | (n) encyclopedia, Example: สารานุกรมเล่มนี้นับเป็นสารานุกรมเล่มแรกที่คนไทยทั้งประเทศช่วยกันเขียนขึ้น, Thai Definition: หนังสือที่รวบรวมความรู้ทุกแขนงหรือเฉพาะแขนงใดแขนงหนึ่ง มักเรียงตามลำดับอักษร |
เลขอนุกรม | (n) alphabetical order, Example: ในการสอบเข้าทำงาน ผู้สมัครจำเป็นต้องสอบเลขอนุกรมด้วย |
เลขอนุกรม | (n) alphabetical order, Example: ในการสอบเข้าทำงาน ผู้สมัครจำเป็นต้องสอบเลขอนุกรมด้วย |
กรมทหารราบ | (n) department of infantry, See also: military unit, armed force unit, Example: ทหารเหล่านี้สังกัดอยู่ในกรมทหารราบที่หนึ่ง, Thai Definition: หน่วยงานหนึ่งในกองทัพบก |
กรมทางหลวง | (n) Department of Highways, See also: Departments of State Highways, Example: ิกรมทางหลวงรับผิดชอบในการสร้างถนนเพื่อใช้เป็นเส้นทางคมนาคมทั่วประเทศ, Count Unit: กรม |
กรมพลศึกษา | (n) Department of Physical Education, Example: กรมพลศึกษาได้รับนักเรียนพลศึกษาเพิ่ม |
กรมวิชาการ | (n) Department of Curriculum and Instruction Development, Example: ตำราทางการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาส่วนใหญ่จัดทำขึ้นโดยกรมวิชาการ |
กรมศิลปากร | (n) Fine Arts Department, Example: เจ้าหน้าที่จากกรมศิลปากรได้สำรวจและขุดค้นกำแพงเมืองชั้นในของเมืองสุโขทัย |
กรมศุลกากร | (n) Customs Department, Syn. ศก., Example: เจ้าหน้าที่กรมศุลกากรได้ตรวจพบเฮโรอีนในกระเป๋าเดินทางของผู้โดยสารคนหนึ่ง |
กรมสรรพากร | (n) Revenue Department, See also: Bureau of Internal Revenue, Example: กรมสรรพากรมีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี, Count Unit: กรม |
กรมอาเซียน | (n) Department of ASEAN Affairs |
กรมเจ้าท่า | (n) Harbour Department, Count Unit: กรม |
นักโปรแกรม | (n) programmer, Example: ปัจจุบันตลาดแรงงานต้องการนักโปรแกรมที่มีฝีมือกันมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการทำโปรแกรม |
เสด็จในกรม | (n) prince, Example: กระผมจะกราบทูลเสด็จในกรมให้ท่านทราบเรื่องนี้, Count Unit: พระองค์, Thai Definition: คำเรียกเจ้านายที่ทรงกรม |
กรมการศาสนา | (n) Religious Affairs Department, See also: Department of Religious Affairs, Example: กรมการศาสนากำลังพัฒนาภาพลักษณ์ของพระสงฆ์ไทย, Count Unit: กรม |
กรมการแพทย์ | (n) Department of Medical Services, See also: Medical Department, Example: ในปีนี้โรงพยาบาลโรคจิตได้ย้ายเข้ามาอยู่ในสังกัดกรมการแพทย์, Count Unit: กรม |
กรมชลประทาน | (n) Royal Irrigation Department, See also: Department of Irrigation, Count Unit: กรม |
กรมธนารักษ์ | (n) Treasury Department, See also: Treasure Department, Count Unit: กรม |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กรม ๑ | (กฺรม) ก. ระทม, เจ็บอยู่ภายในเรื่อยไป, เช่น กรมใจ |
กรม ๑ | กลัด เช่น กรมหนอง. [ ข. กฺรุ&npsp;ํ (กฺรม) ว่า ลำบาก เช่น กฺรุ&npsp;ํจิต = ลำบากใจ ], ตรม ก็ว่า. |
กรมกรอม | (-กฺรอม) ก. ระทมใจจนเหี่ยวแห้ง, ตรมตรอม ก็ว่า. |
กรมเกรียม | (-เกฺรียม) ก. ระทมใจจนหม่นไหม้, ใช้ว่า เกรียมกรม ตรมเตรียม หรือ เตรียมตรม ก็มี เช่น จักขานความที่เกรียมกรม (กฤษณา). |
กรม ๒ | (กฺรม) น. ลำดับ เช่น จะเล่นโดยกรม (สมุทรโฆษ). [ ส.; ข. กฺรุม (กฺรม) ว่า หมวด, หมู่, กอง; ครอบครัว เช่น มวยกฺรุม = ครอบครัวหนึ่ง ]. |
กรมศักดิ์ | (กฺรมมะสัก) น. ชื่อกฎหมายลักษณะหนึ่ง ซึ่งกำหนดระวางโทษปรับตามศักดินา อายุของฝ่ายที่ชนะคดีหรือฝ่ายที่แพ้คดี และความร้ายแรงหนักเบาของความผิดที่กระทำ. (สามดวง), พรมศักดิ หรือ พรหมศักดิ ก็ว่า. |
กรม ๓ | (กฺรม) น. หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกำลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในราชการและเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็นเจ้ากรม ปลัดกรม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายปกครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่าตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างหากออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีอำนาจตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามบรรดาศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมหลวงกรมพระ และกรมพระยา หรือ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น. |
กรม ๓ | แผนกใหญ่ในราชการ ตามลักษณะปกครองในสมัยโบราณ ซึ่งในปัจจุบัน เรียกว่า กระทรวง เช่น กรมพระกลาโหม คือ กรมฝ่ายทหาร เป็นกระทรวงกลาโหม, กรมมหาดไทย คือ กรมฝ่ายพลเรือน เป็นกระทรวงมหาดไทย, กรมเมือง หรือ กรมนครบาล รวมอยู่ในกระทรวงมหาดไทย, กรมวัง แยกเป็นกระทรวงวัง และกระทรวงยุติธรรม (ปัจจุบันกระทรวงวังไม่มีแล้ว), กรมพระคลัง แยกเป็นกระทรวงการคลัง และกระทรวงการต่างประเทศ, กรมนา เป็นกระทรวงเกษตราธิการ (ปัจจุบัน คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์). |
กรม ๓ | ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลาง ในระดับรองจากกระทรวงและทบวง ที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล |
กรม ๓ | หน่วยงานของฝ่ายทหาร. |
กรม ๔ | (กฺรม) ดู กรมธรรม์. |
กรม ๕ | (กฺรม) ย่อมาจากคำว่า กรรม เช่น อวยสรรพเพียญชนพิธีกรมเสร็จกำนนถวาย (ดุษฎีสังเวย). |
กรม ๖ | (กฺรม) ดู เหมือดโลด (๑). |
กรมการ | (กฺรมมะ-) น. ตำแหน่งพนักงานปกครองที่มีมาแต่สมัยโบราณ และได้กำหนดไว้ในข้อบังคับลักษณะการปกครองหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๖ เรียกว่า กรมการเมือง ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ พวก คือ กรมการในทำเนียบ และกรมการนอกทำเนียบ. |
กรมการจังหวัด | น. คณะกรมการจังหวัด |
กรมการจังหวัด | กรมการจังหวัดแต่ละคนที่เป็นองค์ประกอบของคณะกรมการจังหวัด. (ดู คณะกรมการจังหวัด). |
กรมการนอกทำเนียบ | น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์ ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการเมืองในการบริหารราชการในเมืองนั้น ๆ แต่งตั้งจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิหรือคหบดีในเมืองนั้น ๆ โดยไม่จำกัดจำนวน และถือว่าเป็นกรมการชั้นผู้ใหญ่, กรมการพิเศษ ก็ว่า. |
กรมการในทำเนียบ | น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งข้าราชการที่มีเงินเดือน ซึ่งจัดเป็น ๒ พวก กรมการชั้นผู้ใหญ่ ประกอบด้วย ปลัด ยกกระบัตร และผู้ช่วยราชการ กับกรมการชั้นผู้น้อย ประกอบด้วย จ่าเมือง สัสดี แพ่ง ศุภมาตรา และสารเลข. |
กรมการพิเศษ | น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์ ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการเมืองในการบริหารราชการในเมืองนั้น ๆ แต่งตั้งจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิหรือคหบดีในเมืองนั้น ๆ โดยไม่จำกัดจำนวน และถือว่าเป็นกรมการชั้นผู้ใหญ่, กรมการนอกทำเนียบ ก็ว่า. |
กรมการอำเภอ | น. คณะพนักงานปกครองซึ่งประกอบด้วยนายอำเภอ ปลัดอำเภอ และสมุห์บัญชีอำเภอ มีหน้าที่ร่วมกันในการดำเนินการให้การปกครองอำเภอเรียบร้อย ในปัจจุบันอำนาจหน้าที่ของกรมการอำเภอถูกโอนไปเป็นของนายอำเภอ. |
กรมท่า ๑ | (กฺรม-) น. กรมพระคลังส่วนที่ทำหน้าที่ติดต่อกับต่างชาติเรื่องการค้าขายและการต่างประเทศ ต่อมาเพิ่มหน้าที่ปกครองหัวเมืองชายทะเล, พระคลัง หรือ พระคลังกรมท่า ก็เรียก. (ดู กรมพระคลัง ประกอบ). |
กรมท่ากลาง | น. ส่วนราชการในสังกัดกรมพระคลัง ที่ตั้งขึ้นภายหลังกรมท่าซ้าย กรมท่าขวา ทำหน้าที่รวมงานการติดต่อกับชาติตะวันตกเรื่องการค้าขายและการต่างประเทศ เช่น โปรตุเกส ฮอลันดา อังกฤษ สเปน ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา. |
กรมท่าขวา | น. ส่วนราชการในสังกัดกรมพระคลัง ทำหน้าที่ติดต่อกับต่างชาติเรื่องการค้าขายและการต่างประเทศ กับชาติที่อยู่ทางด้านขวาหรือทางตะวันตกของอ่าวไทย เช่น อินเดีย อิหร่าน รวมทั้งชาติที่เข้ามาติดต่อทางด้านนั้น. |
กรมท่าซ้าย | น. ส่วนราชการในสังกัดกรมพระคลัง ทำหน้าที่ติดต่อกับต่างชาติเรื่องการค้าขายและการต่างประเทศกับชาติที่อยู่ทางด้านซ้ายหรือทางตะวันออกของอ่าวไทย เช่น จีน ญี่ปุ่น เกาหลี รวมทั้งชาติที่เข้ามาติดต่อทางด้านนั้น. |
กรมท่า ๒ | (กฺรมมะ-) ว. สีขาบ, สีน้ำเงินแก่, เรียกว่า สีกรมท่า. |
กรมธรรม์ | (กฺรมมะทัน) น. เอกสารสัญญาซึ่งทำขึ้นตามที่กฎหมายกำหนด เช่น เอกสารที่ทาสลูกหนี้ยินยอมให้กรมการอำเภอทำให้ไว้แก่เจ้าหนี้นายเงิน สัญญาขายฝากที่ไร่ที่สวน, คำนี้เรียกเต็มว่า สารกรมธรรม์ หรือย่อว่า สารกรม, บางทีเรียกเพียงคำเดียวว่า กรม ก็มี เช่น กู้หนี้ถือสีนกันเข้าชื่อในกรมหลายคน (สามดวง). |
กรมธรรม์ประกันภัย | น. ตราสารที่ผู้รับประกันภัยออกให้แก่ผู้เอาประกันภัยเป็นหลักฐานการรับประกันภัย. |
กรมนา | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง เก็บหางข้าวขึ้นฉางหลวง ทำนุบำรุงอาชีพเกษตรกรรมและเก็บค่าภาษีอากรเกี่ยวกับการนั้น รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับที่นาและโคกระบือเป็นต้น |
กรมนา | เสนาบดีตำแหน่งตามทำเนียบเดิม คือ เจ้าพระยาเกษตราธิบดีฯ หรือเจ้าพระยาพลเทพฯ, ตราประจำตำแหน่ง คือตราพระพิรุณทรงนาคและตราอื่น ๆ รวม ๙ ดวง. |
กรมพระคลัง | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการคลัง การต่างประเทศ และการค้ากับต่างประเทศ รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความเกี่ยวข้องด้วยพระราชทรัพย์หลวง และคดีความต่างประเทศ, พระคลัง หรือ พระคลังกรมท่า ก็เรียก |
กรมพระคลัง | เสนาบดีตำแหน่งตามทำเนียบเดิม คือ เจ้าพระยาพระคลัง เจ้าพระยาโกษาธิบดีฯ หรือเจ้าพระยาศรีธรรมาธิราชฯ, ตราประจำตำแหน่ง คือ ตราบัวแก้ว. |
กรมพระนครบาล | (กฺรมมะ-) ดู กรมเมือง. |
กรมเมือง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ในการรักษาความสงบเรียบร้อยในราชธานีและปริมณฑล ปราบปรามโจรผู้ร้าย รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความอุกฉกรรจ์และดูแลคุก (เรือนจำ) มหันตโทษ, เวียง หรือ กรมพระนครบาล ก็เรียก |
กรมเมือง | เสนาบดีตำแหน่งตามทำเนียบเดิม คือ เจ้าพระยายมราชฯ, ตราประจำตำแหน่ง คือ ตราพระยมขี่สิงห์. |
กรมวัง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่รักษาพระราชมนเทียร พระราชวังชั้นนอก พระราชวังชั้นใน บริหารกิจการในพระราชสำนัก และบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับสมใน ได้แก่ ศาลแพ่งวัง ศาลอาชญาวัง และศาลนครบาลวัง รวมทั้งบังคับบัญชาศาลมรดก |
กรมวัง | เสนาบดีตำแหน่งตามทำเนียบเดิม คือ เจ้าพระยาธรรมาธิกรณ์หรือเจ้าพระยาธรรมาธิบดีฯ, ตราประจำตำแหน่ง คือ ตราเทพยดาขี่โคนนทิกร. |
เกรียมกรม | ก. ระทมใจจนหม่นไหม้ เช่น จักขานความที่เกรียมกรม (กฤษณา), ใช้เป็น กรมเกรียม ตรมเตรียม หรือ เตรียมตรม ก็ได้. |
โกรม | (โกฺรม) ว. ใต้, ตํ่า, ล่าง, ใต้ฟ้า เช่น อนนสองดไนยหน่อเหน้าเหง้ากรุงโกรมกษัตริย (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์). |
โกรมธาตุ | น. ธาตุใต้ฟ้า คือแผ่นดิน เช่น ปางน้นนไกรโกรมธาตุ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
คณะกรมการจังหวัด | น. คณะบุคคลซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด กับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด. |
คณานุกรม | น. ฐานานุกรมของเจ้าคณะใหญ่และรองเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายพระสงฆ์จีนและพระสงฆ์ญวน. |
คณานุกรม | ดู คณ-, คณะ. |
จงกรม | (-กฺรม) ก. เดินไปมาโดยมีสติกำกับอย่างพระเดินเจริญกรรมฐาน เรียกว่า เดินจงกรม. |
จงกรมแก้ว | น. พระพุทธรูปปางหนึ่งยืนย่างพระบาทซ้าย พระหัตถ์ทั้ง ๒ ประสานพระเพลา มีเรือนแก้ว. |
เจ้ากรม | น. หัวหน้ากรมในราชการฝ่ายทหาร, (โบ) หัวหน้ากรมราชการทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน เช่น กรมพระแสงสรรพวุธ กรมพระคชบาล กรมราชบัณฑิต, หัวหน้ากรมของเจ้าต่างกรม. |
เจ้าต่างกรม | ดู กรม ๓. |
ฐานานุกรม | น. ลำดับตำแหน่งยศพระสงฆ์ที่พระราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามทำเนียบ เช่น พระปลัด พระสมุห์ พระใบฎีกา เป็นฐานานุกรมของพระราชาคณะชั้นสามัญ พระครูปลัด พระครูสมุห์ พระครูใบฎีกา เป็นฐานานุกรมของพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป. |
ฐานานุกรม | ดู ฐาน ๒, ฐาน-, ฐานะ. |
ตะโกรม | (-โกฺรม) น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด ในวงศ์ Ostreidae ลักษณะเหมือนหอยนางรม แต่มีขนาดใหญ่กว่า เปลือกขรุขระ สีขาวคล้ำ เช่น ชนิด Crassostrea iredalei (Faustino), C. belcheri (Sowerby), นางรมใหญ่ ก็เรียก. |
ตั้งกรม | ก. สถาปนาเจ้านายพระองค์ใดพระองค์หนึ่งให้ควบคุมคนหมู่หนึ่ง. (ดู กรม ๓ ประกอบ). |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
private library | คลัง(โปรแกรม)ส่วนตัว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
processing programme | โปรแกรมประมวลผล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
period policy | กรมธรรม์แบบกำหนดเวลา มีความหมายเหมือนกับ time policy [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pyelogram | ไพอีโลแกรม, ภาพรังสีกรวยไต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyelography | การทำไพอีโลแกรม, การถ่ายภาพรังสีกรวยไต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyelography, excretion | การทำไพอีโลแกรมขับถ่าย [ มีความหมายเหมือนกับ pyelography, intravenous ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyelography, intravenous | การทำไพอีโลแกรมวิธีฉีดเข้าหลอดเลือด [ มีความหมายเหมือนกับ pyelography, excretion ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyelography, retrograde | การทำไพอีโลแกรมสวนทางขึ้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
policy signing office | สำนักงานออกกรมธรรม์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policy year | ปีกรมธรรม์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policy, life | กรมธรรม์ประกันชีวิต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policy-holder; policyholder | ผู้ถือกรมธรรม์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policyholder; policy-holder | ผู้ถือกรมธรรม์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policyholder; policy-holder | ผู้ถือกรมธรรม์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
paid-up policy | กรมธรรม์ใช้เงินสำเร็จ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
paid-up policy | กรมธรรม์ใช้เงินสำเร็จ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
programmer | นักเขียนโปรแกรม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
programming | ๑. การเขียนโปรแกรม๒. การสร้างโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programming | ๑. การเขียนโปรแกรม๒. การสร้างโปรแกรม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
programming language | ภาษาโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
program flowchart | ผังงานโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
program generator | ตัวสร้างโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
program generator | ตัวสร้างโปรแกรม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
program library; library | คลัง(โปรแกรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
program library; library | คลัง(โปรแกรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
programmable interrupt controller (PIC) | ตัวควบคุมการขัดจังหวะแบบโปรแกรมได้ (พีไอซี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
preamble | บทนำกรมธรรม์ มีความหมายเหมือนกับ recital clause [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
PIC (programmable interrupt controller) | พีไอซี (ตัวควบคุมการขัดจังหวะแบบโปรแกรมได้) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
performance bond | กรมธรรม์ค้ำประกันการรับเหมา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
power series | อนุกรมกำลัง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
policies incepting basis | หลักถือกรมธรรม์มีผล [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policy | กรมธรรม์ประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policy | ๑. นโยบาย (ก. ทั่วไป)๒. กรมธรรม์ (ก. ประกันภัย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policy conditions | เงื่อนไขกรมธรรม์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policy fee | ค่าธรรมเนียมกรมธรรม์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policy of assurance | กรมธรรม์ประกันภัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policy proof of interest | กรมธรรม์ยอมรับส่วนได้เสีย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
policy reserves | เงินสำรองกรมธรรม์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
push-pull series spot welding | การเชื่อมจุดอนุกรมแบบพุชพุล [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
programmable read-only memory (PROM) | หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมได้ (พร็อม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programme | ๑. แผนงาน, กำหนดการ๒. โปรแกรม, ชุดคำสั่ง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
programme control | การควบคุมด้วยโปรแกรม [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
programmed check | การตรวจสอบด้วยโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programmer | นักเขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
programmer | นักเขียนโปรแกรม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
plug-in program | โปรแกรมเสริม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
participating policy | กรมธรรม์ชนิดมีเงินปันผล [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
package | โปรแกรมสำเร็จ [ มีความหมายเหมือนกับ software package ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
package policy | กรมธรรม์ภัยรวม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
package policy | กรมธรรม์ภัยรวม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Pronouncing dictionary | พจนานุกรมคำอ่าน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Language dictionary | พจนานุกรมภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Slang dictionary | พจนานุกรมคำสะแลง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Compiler | ตัวแปลโปรแกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Encyclopedia | สารานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Dictionary | พจนานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bibliography | บรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Author bibliography | บรรณานุกรมของผู้แต่ง [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bilingual dictionary | พจนานุกรมสองภาษา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Online bibliographic searching | การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Biographical dictionary | อักขรานุกรมชีวประวัติ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bibliographic citation | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Author bibliographies | บรรณานุกรมของผู้แต่ง, บรรณานุกรมของผู้แต่ง, Example: เป็นรายชื่อผลงานของผู้แต่งที่รวบรวมขึ้น <p> <p>ตัวอย่าง บรรณานุกรมของผู้แต่ง <p> <p> 1. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) <p> 2. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน <p> 3. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน และพระสารประเสริฐ <p> 4. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ของ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล <p> 5. บรรณานุกรมงานส่วนบุคคลของศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร <p> 6. บรรณานุกรมประกอบบรรณนิทัศน์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว <p> 7. บรรณานุกรมพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> 8. เรียงร้อยบรรณรัตน์ : บรรณานุกรมและดรรชนีพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี <p> 9. รายชื่อหนังสือพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cataloging | การทำบัตรรายการ, การลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Encyclopedia | สารานุกรม, Example: คำว่า “สารานุกรม” เป็นคำสมาสจากคำ “สาร” และ “อนุกรม” ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้นิยามของคำ “สาร” [ สาน, สาระ ] (น) หมายถึง แก่น, เนื้อแท้ มักใช้เข้าคู่กับคำ แก่น เป็นแก่นสาระ; ข้อความ, ถ้อยคำ, เรื่องราว “อนุกรม” (น) หมายถึง ลำดับ, ระเบียบ, ชั้น, เช่น โดย อนุกรม, นิยมใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น พจนานุกรม ปทานุกรม นามานุกรม สารานุกรม อักขรานุกรม เมื่อนำคำมาสมาสเป็นคำเดียวคือ “สารานุกรม” (น) หนังสือที่รวบรวมความรู้ทุกแขนงหรือเฉพาะแขนงใดแขนงหนึ่ง มักเรียงตามลำดับอักษร [ 1 ] <p>ดังนั้นอาจกล่าวโดยรวมได้ว่า สารานุกรมเป็นหนังสือที่อธิบายเรื่องราว ให้ความรู้พื้นฐานในเรื่องต่างๆ อย่างกว้างขวาง และให้ความรู้ทั่วๆ ไป เขียนโดยผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชานั้นๆ ข้อมูลที่นำเสนอจะอยู่ในรูปบทความ เรียบเรียงตามลำดับอักษรของชื่อเรื่องหรือหัวเรื่องหรือกลุ่มเนื้อหา และมีดัชนีช่วยในการค้นเนื้อหา หนังสือสารานุกรมมีทั้งชนิดเล่มเดียวจบ และเป็นชุดหมายเล่มจบ <p>ความสำคัญของหนังสือสารานุกรม [ 2 ] <p>1. หนังสือสารานุกรมเป็นหนังสือซึ่งรวมวิชาความรู้ และเรื่องราวต่างๆ ที่มนุษย์เรียนรู้และได้คิดสร้างสรรค์ไว้ทั้งหมดจึงนับเป็นคลังทรัพย์สินทางปัญญาที่บริบูรณ์ในตัวเอง เปิดโอกาสให้ผู้ใฝ่รู้สามารถอ่านเพื่อแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ทุกเวลาตามความสามารถของตน เหมือนห้องสมุดขนาดเล็กที่เคลื่อนย้ายได้ตามผู้เป็นเจ้าของความรู้ในหนังสือสารานุกรมที่สร้างขึ้นในแต่ละยุคแต่ละสมัยจะทันสมัยที่สุดสำหรับยุคนั้นๆ <p>2. มีส่วนในการสร้างและพัฒนาวิธีการจัดระบบความรู้ต่างๆ มีการจัดหมวดหมู่ความรู้ เรียงลำดับความสำคัญของความรู้ ชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ การสร้างคำแทนเนื้อเรื่อง และการเลือกคำสำคัญที่มีอยู่ในเรื่องแต่ละเรื่องมาจัดทำเป็นดัชนีค้นเรื่อง ท้ายเล่มหรือในเล่มสุดท้ายของชุดทั้งเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นหาเรื่องที่ต้องการ วิธีการเหล่านี้เป็นต้นเค้าส่วนหนึ่งของวิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ในปัจจุบัน <p>ประเภทของสารานุกรม สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ <p>1. สารานุกรมทั่วไป (General encyclopedia) คือ สารานุกรมที่มีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมทุกสาขาวิชา ใช้ค้นหาเรื่องทั่วไป โดยมีการจัดทำโดยแบ่งกลุ่มกลุ่มผู้อ่านได้แก่สารานุกรมสำหรับผู้ใหญ่ และสำหรับเด็ก เช่น <p>สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2498-ปัจจุบัน <p>สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, 2526-ปัจจุบัน. <p>สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, 2548-ปัจจุบัน <p>The Encyclopedia American. New York : American, [ c1971 ]. <p>2. สารานุกรมเฉพาะวิชา (Subject encyclopedia) คือ สารานุกรมที่ให้ความรู้ข้อเท็จจริงเฉพาะสาขาวิชาหนึ่งๆ อย่างลึกซึ่งกว้างขวางกว่าคำอธิบายในเรื่องเดียวกันในสารานุกรมทั่วไป เช่น <p>สารานุกรมศึกษาศาสตร์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหาคม 2535. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2535. <p>เกียรติศักดิ์ ศรีพิมานวัฒน์, บรรณาธิการ. สารานุกรมโทรคมนาคมไทย ฉบับพุทธศักราช 2552. กรุงเทพฯ : สมาคมวิชาการไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม และสารสนเทศ (อีซีทีไอ), 2552. <p>Hunt, William Dudley. Encyclopedia of American architecture. New York : McGraw-Hill, 1980. <p>สารานุกรมที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ สารานุกรมบริเตนนิกา Encyclopedia Britannica สารานุกรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่มีการตีพิมพ์ฉบับแรกในภาษาอังกฤษในช่วงปี พ.ศ. 2311-2314 (ค.ศ. 1768–1771) ในเมืองเอดินบะระ สกอตแลนด์ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการตีพิมพ์และจำหน่ายในฉบับซีดี [ 3 ] <p>ภาพตัวอย่างสารานุกรม <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110301-encyclopedia-1.jpeg" alt="สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้"><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110301-encyclopedia-3.jpeg" alt="สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว"><p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110301-encyclopedia-4.jpeg" alt="สารบัญ"><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110301-encyclopedia-5.jpeg" alt="ดัชนีเพื่อช่วยในการค้นหา"> <p>แหล่งข้อมูล <p>[ 1 ] ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2546. <p>[ 2 ] แม้นมาส ชวลิต, คุณหญิง. “สารานุกรม.” สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 12 Z2531) : 67-68. <p>[ 3 ] http://th.wikipedia.org/wiki/สารานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Online bibliographic searching | การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliographic) หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นการให้เครดิตแก่เจ้าของผลงาน และป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ <p>การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ตัวอย่างเช่น การสืบค้นข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดจัดหาเข้ามา หรือ รายการเข้าถึงแบบออนไลน์ (Online Public Access Catalog : OPAC) ข้อมูลบรรณานุกรมที่แสดง คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ นอกจากนี้การสืบค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ยังรวมถึงการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ประเภทฐานข้อมูลบรรณานุกรม ที่แสดงผลเฉพาะข้อมูลบรรณานุกรม เช่น ฐานข้อมูล ISI : Web of Science หรือ ฐานข้อมูล Scopus เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Unabridge dictionary | พจนานุกรมฉบับสมบูรณ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Abridged dictionary | พจนานุกรมฉบับรวบรัด, พจนานุกรมฉบับย่อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliography | บรรณานุกรม, Example: หรือ เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ (หนังสือ บทความจากวารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลออนไลน์ ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ) ที่ผู้เขียนใช้ประกอบการเขียนหนังสือเล่มนั้น หรืออาจเป็นรายชื่อที่ผู้เขียนแนะนำให้อ่านเพิ่มเติม อาจอยู่ท้ายเล่มหรือท้ายบทแต่ละบทก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographic control | การควบคุมทางบรรณานุกรม, Example: <p>การควบคุมทางบรรณานุกรม หมายถึง การเข้าถึงบันทึกความรู้ต่างๆ โดยการใช้บรรณานุกรม การควบคุมทางบรรณานุกรมช่วยให้ทราบว่ามีสิ่งพิมพ์หรือบันทึกความรู้ใดบ้างที่มีผู้บันทึกหรือจัดทำไว้ในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งสามารถเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า นำออกมาใช้ได้ การควบคุมทางบรรณานุกรมสามารถทำได้โดย การจัดทำบรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป นามานุกรม เป็นต้น <p>องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้มีรายงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการควบคุมทางบรรณานุกรมที่ปารีส ค.ศ. 1950 ถึงความจำเป็นในการควบคุมทางบรรณานุกรม ว่าจำเป็นต้องมีการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติเพื่อบันทึกหลักฐานของสิ่งพิมพ์และวัสดุความรู้อื่นๆ ที่ผลิตภายในประเทศ หน้าที่หนึ่งในจำนวนหน้าที่หลายประการขององค์การศึกษาฯ ก็คือ การปรับปรุงงานด้านการศึกษา ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อปรับปรุงงานห้องสมุด งานด้านบรรณานุกรมและการผลิตสิ่งพิมพ์ <p>บทบาทขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติในการควบคุมบรรณานุกรมแห่งชาติ คือ <p>1. ร่วมกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในการสำรวจงานด้านบรรณานุกรมและจัดพิมพ์ผลการสำรวจชื่อ Bibliographical Services : Their Present State and Posibilities of Improvement (ปี ค.ศ. 1953) <p>2. ชักชวนให้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การศึกษาฯ จัดทำบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ใหม่ๆ และร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมแก่กัน จึงได้เริ่มรณรงค์เพื่อความร่วมกันดังกล่าว ตั้งแต่ ค.ศ. 1946 <p>3. จัดพิมพ์คู่มือการทำงานด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม เขียนโดย Knud Larsen ชื่อ National Bibliographical Services : Their Creation and Operation และตีพิมพ์บทความ เขียนโดย Knud Larsen ในวารสาร Unesco Bulletin for Libraries ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค.ศ. 1961 กล่าวถึง หน้าที่ของศูนย์บรรณานุกรมแห่งชาติ ซึ่งมีความสำคัญในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางบรรณานุกรม <p>4. สำรวจและจัดพิมพ์ Guide to National Bibliographical Centeres (ปี ค.ศ. 1970) <p>5. การส่งเสริมการก่อตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ (National Information System หรือ NATIS) วัตถุประสงค์ของระบบสารนิเทศแห่งชาติ คือ การสร้างโครงงานสำหรับกิจกรรมเพื่อที่จะประสานงานกันในงานสารนิเทศของประเทศต่างๆ ช่วยให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ มองเห็นแนวทางที่จะดำเนินงานนี้ร่วมกัน และมุ่งจะช่วยให้ประเทศที่มีพัฒนาการต่างกันได้ประโยชน์จากระบบสารนิเทศของโลกทั่วกัน และมีส่วนร่วมในการกระจายสารนิเทศสองทาง คือ เป็นผู้ให้สารนิเทศและเป็นผู้ที่รับสารนิเทศด้วย องค์การศึกษาฯ ได้กำหนดให้ประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้ความสนับสนุนเพื่อให้ความพยายามที่จะควบคุมบรรณานุกรมสากล (Universal Bibliographical Control หรือ UBC) โดยให้เข้าถึงข้อมูลทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นโดยที่มีการบันทึกหลักฐานทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ไว้ในแบบแผนที่เป็นสากล <p>บรรณานุกรม <p>สุนทรี หังสะสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographical information | รายละเอียดทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliography of bibliographies | บรรณานุกรมของบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bilingual dictionary | พจนานุกรมสองภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Biographical dictionary | อักขรานุกรมชีวประวัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographic citation | การอ้างถึงบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographic service | บริการจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Children's dictionary | พจนานุกรมสำหรับเด็ก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Children's encyclopedia | สารานุกรมสำหรับเด็ก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Concise dictionary | พจนานุกรมฉบับย่อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Critical bibliography | บรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cyclopedia | วิทยานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Descriptive bibliography | บรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dialect dictionary | พจนานุกรมภาษาถิ่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dictionary | พจนานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dictionary stand | ที่วางพจนานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Directory | นามานุกรม, ทำเนียบนาม, Example: Directory หมายถึง นามานุกรม หรือ ทำเนียบนาม คือ หนังสือที่รวบรวมรายชื่อของบุคคล หน่วยงาน สมาคม มูลนิธิ องค์การ และบริษัทต่าง ๆ จัดเรียงรายชื่อตามลำดับอักษรหรือตามลำดับหมวดหมู่ โดยให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานที่อยู่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ถ้าเป็นนามานุกรมที่รวบรวมรายชื่อบุคคลจะจะให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับชื่อ นามสกุล สถานที่อยู่ ตำแหน่งหน้าที่การงาน หมายเลขโทรศัพท์ ถ้าเป็นนามานุกรมหน่วยงาน สมาคม มูลนิธิ องค์การจะจะระบุชื่อของผู้ที่เป็นหัวหน้าหน่วยงาน และให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานที่ตั้ง ปีที่จัดตั้ง วัตถุประสงค์และหน้าที่ของหน่วยงานนั้น ๆ พร้อมด้วยหมายเลขโทรศัพท์ ถ้าเป็นชื่อบริษัท ห้างร้าน จะบอกรายชื่อของสินค้าที่จัดจำหน่ายประเภทของผลิตผล รหัสที่ใช้ในการติดต่อทางโทรเลข รวมทั้งหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Gazetteer | อักขรานุกรมภูมิศาสตร์, Example: <p>ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายว่า หมายถึง หนังสือที่รวบรวมรายชื่อทางภูมิศาสตร์ในท้องถิ่นต่างๆ โดยเรียงลำดับตามตัวอักษร ทั้งนี้มีลักษณะคล้ายพจนานุกรม แต่เป็นการรวบรวมชื่อและสถานที่ทางภูมิศาสตร์ต่างๆ เช่น ชื่อเมือง ชื่อภูเขา ชื่อแม่น้ำ ชื่อป่าไม้ หรือชื่อสถานที่สำคัญ ตลอดจนข้อมูลทั้งทางกายภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ การคมนาคม การปกครอง และประวัติความเป็นมา และความรู้อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมภาพแผนที่ และภาพประกอบอื่นๆ <p>อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ จัดเป็น หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Geographical Sources) ประเภทหนึ่ง นอกเหนือจาก หนังสือนำเที่ยว (Guide Books) และ หนังสือแผนที่ (Atlases) <p>ตัวอย่างหนังสืออักขรานุกรมภูมิศาสตร์ <p>Copley, Gordon John. English place-names and their origins. Nweton Abbot : David & Charles, [ c1968 ]. <p>Gazetteer of Burma. Delhi : Cultural Publishing House, 1983. <p>Munro, David, editor. Chambers world gazetteer : an A-Z of geographical information. 5th ed. Cambridge : Chambers/Cambridge, 1988. <p>The U.S. Geological Survey in cooperation with the U.S. Board on Geographic Names. The National gazetteer of the United States of America : United States concise 1990. Washington : U.S. G.P.O., 1990. http://www.census.gov/geo/www/gazetteer/gazette.html <p>ราชบัณฑิตยสถาน. อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พระนคร : ราชบัณฑิตยสถาน, 2507-2509. <p>สงวน อั้นคง. สารานุกรมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย. พระนคร : เกษมบรรณกิจ, 2514. <p>อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ 3 จังหวัด คือ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครปฐม. พระนคร : กรมศิลปากร, 2482. <p>อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ 4 จังหวัด คือ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ตราด นครนายก ระยอง. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, 2482. <p>แหล่งข้อมูล: <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed March 27, 2011). <p>ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2546. หน้า 1346 <p>เพชรรัตน์ บริสุทธิ์. การรู้สารสนเทศ. http://human.tru.ac.th/elearning/tec_ban/tinfo04/inf040661.html (สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2554). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
International Standard Bibliographic Descriptions | มาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Multilingual dictionary | พจนานุกรมหลายภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Online library catalog | รายการบรรณานุกรมออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Pocket dictionary | พจนานุกรมฉบับกระเป๋า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Polyglot dictionary | พจนานุกรมหลายภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Retrospective bibliography | บรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ที่มีพิมพ์เผยแพร่นานแล้ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
School dictionary | พจนานุกรมฉบับนักเรียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Selective bibliography | บรรณานุกรมเลือกสรร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Trade bibliography | บรรณานุกรมที่สำนักพิมพ์หรือร้านหนังสือจัดทำขึ้นเพื่อการ ค้า, บรรณานุกรมเพื่อการค้า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Union catalog | สหบัตร, สหบรรณานุกรม, Example: สหบัตร/สหบรรณานุกรม เป็นรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดของห้องสมุดหลายแห่งมารวมไว้ในรายการเดียวกัน มีชื่อหรืออักษรย่อของห้องสมุดกำกับไว้ เพื่อให้ทราบว่ารายการนั้นๆ มีอยู่ที่ห้องสมุดแห่งใด <p> <p> <p>เดิมที่ยังใช้บัตรรายการในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศนั้น จะเป็นการรวมรายการบัตรของห้องสมุดไว้เป็นรายการบัตรเดียวกันในแต่ละบัตรรายการจะมีชื่อหรืออักษรย่อของชื่อของห้องสมุดกำกับไว้เช่นเดียวกัน โดยทั่วไปจัดเรียงบัตรรายการตามลำดับอักษรชื่อผู้แต่ง หรืออาจจะเรียงลำดับตามหัวข้อวิชา อาจจะจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มได้ <p>การจัดทำสหบัตรหรือสหบรรณานุกรมมีประโยชน์หลายประการ คือ <p>1. ทำให้ทราบแหล่งทรัพยากรสารสนเทศว่ามีอยู่ในห้องสมุดใดบ้าง <p>2. ทำให้ประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ โดยอาจมีข้อตกลงในการจัดหาร่วมกัน ห้องสมุดแห่งใดมีรายการทรัพยากรสารสนเทศนั้นแล้ว ห้องสมุดแห่งอื่นไม่จำเป็นต้องซื้อมาซ้ำอีก สามารถใช้บริการยืม-คืนระหว่างห้องสมุด <p>3. ทำให้สามารถรวบรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศตามผู้แต่ง หรือกลุ่มสาขาวิชาได้สะดวกและรวดเร็ว <p>ตัวอย่าง <p>สหบัตรของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำโดย หอสมุดกลาง สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวบรวมบัตรรายการของทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2521-2529 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120825-Union-Catalog.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog"> <p>จากภาพจะเป็นการรวมสหบรรณานุกรมของรายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งจากรายการตัวอย่าง จะเห็นว่ารายการนี้มีอยู่ในห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ ศูนย์เอกสารประเทศ และหอสมุดกลาง <p>ปัจจุบันมีการจัดทำฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมมหาวิทยาลัย โดยสำนักบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ได้ริเริ่มดำเนินงานโครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ในการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุมหาวิทยาลัย/สถาบัน มหาิวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เข้าด้วยกัน <p>ตัวอย่าง รายการสหบรรณานุกรมจากฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมของโครงการ ThaiLIS <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-Union-Catalog-ThaiLIS.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog-ThaiLIS"> <p>จากตัวอย่างข้างต้นจะปรากฏว่า หนังสือ เรื่อง คิดถึงทุกปี ของ บินหลา สันกาลาคีรี มีอยู่ในห้องสมุด 14 แห่ง <p>รายการอ้างอิง <p>สุนทรี หังสสูต. สหบัตรและรวมรายชื่อวารสาร. หน้า 61-66 ใน การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523. <p>Reitz, Joan M. Dictionary for library and information science. Westport, Conn. : Libraries Unlimited, 2004. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Union catalog database | ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม, Example: <p>หมายถึง ฐานข้อมูลที่รวบรวม และชี้แหล่งรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีให้บริการในห้องสมุดแต่ละแห่ง โดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการจากห้องสมุดต่างๆ พร้อมกัน ด้วยการค้นหาเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุดทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด ตลอดจนการช่วยลดความซ้ำซ้อนในการวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการทรัพยาสารสนเทศสำหรับบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เนื่องจากสามารถค้นหาและถ่ายโอนรายการทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเองได้ด้วย <p>ทั้งนี้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ฐานแรกของไทย เกิดขึ้นจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย หรือ ThaiLIS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Thailand Library Integrated System ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค <p>ในส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ คือ NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการที่เป็นโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ คือ Koha ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายใต้ห้องสมุดเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ เข้าถึงที่ http://thailibrary.org <p><img src=" http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110606-union-catalog.jpg " Title="Union catalog database" alt="Union catalog database"> <br>ภาพ ฐานข้อมูล NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Universal Bibliographical Control | การควบคุมทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อักขรานุกรม | [akkharānukrom] (n) EN: alphabetical order ; alphabetic index FR: ordre alphabétique [ m ] ; index alphabétique [ m ] |
อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ | [akkharānukrom phūmisāt] (n, exp) EN: gazetteer ; geographical dictionary |
อนุกรม | [anukrom] (n) EN: alphabetical list ; alphabetical order ; sequence ; series ; order FR: liste alphabétique [ f ] ; ordre alphabétique [ m ] ; série [ f ] |
อนุกรมอนันต์ | [anukrom anan] (n, exp) EN: infinite series |
อนุกรมไดเวอร์เจนต์ | [anukrom daiwoējēn] (n, exp) EN: divergent series |
อนุกรมเอกสาร | [anukrom ekkasān] (n, exp) EN: reference number of a document ; serial number of a document FR: référence de document [ f ] |
อนุกรมจำกัด | [anukrom jamkat] (n, exp) EN: finite series |
อนุกรมคอนเวอร์เจนต์ | [anukrom khønwoējēn] (n, exp) EN: convergent series |
อนุกรมเลขคณิต | [anukrom lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic series ; arithmetical series FR: série arithmétique [ f ] |
อนุกรมเรขาคณิต | [anukrom rēkhākhanit] (n, exp) EN: geometric series |
อนุกรมวิธานสัตว์ | [anukrom withān sat] (n, exp) EN: taxonomy FR: taxinomie animale [ m ] ; taxonomie animale [ f ] |
บรรณานุกรม | [bannānukrom] (n) EN: bibliography FR: bibliographie [ f ] |
ชุดโปรแกรมสำนักงาน | [chut prōkraēm samnakngān] (n, exp) EN: office suite (software) FR: suite bureautique [ f ] |
ดาวน์โหลดโปรแกรม | [dāolōt prōkraēm] (v, exp) FR: télécharger un logiciel |
ฟรีโปรแกรม | [frī prōkraēm] (n, exp) EN: freeware FR: logiciel gratuit [ m ] ; programme gratuit [ m ] ; gratuiciel [ m ] ; freeware [ m ] |
ฮิสโทแกรม | [hitthōkraēm] (n) EN: histogram FR: histogramme [ m ] |
จ้างบุคลากรมากเกินไป | [jāng bukkhalākøn māk koēnpai] (v, exp) EN: be overstaffed ; be overmanned |
เจ้ากรม | [jaokrom] (n, exp) EN: director-general ; director of a department FR: directeur général [ m ] |
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ | [kān børihān sapphayākøn manut] (n, exp) EN: human ressources management FR: gestion des ressources humaines [ f ] |
การจ้างบุคลากรมากเกินไป | [kān jāng bukkhalākøn māk koēnpai] (n, exp) EN: overstaffing |
การเขียนโปรแกรม | [kān khīen prōkraēm] (n, exp) EN: computing programming FR: programmation (informatique) [ f ] |
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ | [kān phatthanā sapphayākøn manut] (n, exp) EN: human resource development |
การเพิ่มประชากรมนุษย์ | [kān phoēm prachākøn manut] (n, prop) FR: augmentation de la population (humaine) [ f ] |
การติดตั้งโปรแกรม | [kān tittang prōkraēm] (n, exp) FR: installation d'un logiciel [ f ] ; installation d'un programme [ f ] |
แกรมมาร์ = แกรมม่า | [kraēmmā] (n) EN: grammar FR: grammaire [ f ] |
กรม | [krom] (n) EN: department ; bureau FR: département [ m ] ; division [ f ] ; direction [ f ] |
กรม | [krom] (n) EN: regiment FR: régiment [ m ] |
กรม | [krom] (n) EN: ministry FR: ministère |
กรมอาชีวศึกษา | [Krom Āchīwaseuksā] (org) EN: Vocational Education Department |
กรมอัยการ | [Krom Aiyakān] (org) EN: Public Prosecution Department |
กรมขุน | [Kromakhun] (n, exp) EN: Kromakhun (title of the 4th rank) |
กรมอนามัย | [Krom Anāmai] (org) EN: Department of Health FR: ministère de la Santé publique [ m ] |
กรมชลประทาน | [Krom Chonprathān = Krom Chonlaprathān] (org) EN: Irrigation Department |
กรมเจ้าท่า | [Krom Jaothā] (org) EN: Harbour Department |
กรมจเร | [Kromjarē] (org) EN: Inspector General Department |
กรมการ | [kromkān] (n) EN: government officer |
กรมการค้าภายใน | [Krom Kān Khā Phāinai] (org) EN: Department of Internal Trade |
กรมการค้าต่างประเทศ | [Krom Kān Khā Tāngprathēt] (org) EN: Foreign Trade Department ; Department of Foreign Trade |
กรมการขนส่ง | [Krom Kān Khonsong] (org) EN: Department of Transport |
กรมการเมือง | [krom kānmeūang] (n, exp) EN: provincial directorate ; politbureau FR: bureau politique [ m ] |
กรมการเงินกลาโหม | [Krom Kān Ngoen Kalāhōm] (org) EN: Finance Department ; Ministry of Defence |
กรมการแพทย์ | [Krom Kān Phaēt] (org) EN: Medical Department |
กรมการศาสนา | [Krom Kān Sātsanā] (org) EN: Department of Religious Affairs |
กรมควบคุมมลพิษ | [krom khūapkhum monlaphit] (n, exp) EN: Pollution Control Department |
กรมท่า | [krommathā] (x) EN: navy blue |
กรมท่า | [Krommathā] (org) EN: former Department of Financial and Foreign Affairs |
กรมธรรม์ | [krommathan] (n) EN: policy ; insurance policy ; contract ; document binding FR: police d'assurance [ f ] |
กรมธรรม์เดี่ยว | [krommathan dīo] (n, exp) EN: single policy |
กรมธรรม์กำหนดมูลค่า | [krommathan kamnot mūnlakhā] (n, exp) EN: valued policy ; valued insurance |
กรมธรรม์กำหนดเวลา | [krommathan kamnot wēlā] (n, exp) EN: time policy ; time insurance |
Longdo Approved EN-TH
MFC | (name) ย่อมาจากคำว่า Microsoft Foundation Classes เป็นชื่อของชุดโปรแกรมพื้นฐานชุดหนึ่ง ประกอบด้วย class ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ สำหรับใช้เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการ Windows, See also: ATL WTL |
DDPM | (org) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย (Department of Disaster Prevention and Mitigation) มีเว็บไซต์อยู่ที่ http://www.disaster.go.th/, See also: Department of Disaster Prevention and Mitigation, Syn. ปภ. |
paste | (vt) วาง, แปะ (ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สามารถ เลือก text หรือ object อื่นๆ, ตัด (cut) ลบออก หรือ ทำสำเนา (copy) (ซึ่งจะนำเก็บเข้าในกระดานทด หรือ clipboard ไว้ด้วย) แล้ว วาง, แปะ (paste) ไปยังที่อื่นๆ เป็นการย้าย หรือทำสำเนา text, object นั้นๆ) |
skype | (vt) สนทนาด้วยเสียงโดยใช้คอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นกริยาที่ผันมาจากชื่อโปรแกรม Skype ที่ใช้ในการสนทนา ดังปรากฏใน USA Today (17 ธันวาคม 2004) ว่า "To 'Skype' is to call someone over your computer." |
public relations department | (n) กรมประชาสัมพันธ์ |
withholding tax | (n) ภาษีหัก ณ ที่จ่าย; เป็นภาษีที่ผู้จ่ายต้องหักไว้จากยอดเงินที่เรียกเก็บ แล้วนำส่งให้กับกรมสรรพากร โดยต้องหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้กับผู้รับเงิน; ข้อมูลเพิ่มเติม www.rd.go.th |
browser | (n) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้เปิดดูเว็บ (web browser) ตัวอย่าง เช่น Microsoft Internet Explorer, Mozilla Firefox, Opera, Safari, Konqueror, Google Chrome, Netscape เป็นต้น |
[อิน'สตาแกรม] (n) โปรแกรมฟิลเต้อร์และลูกเล่นในตัวกล้องถ่ายรูปเพื่อการตบแต่งภาพถ่ายอิเล็กทรอนิกส์ให้โทนสีแปลกไปตามต้องการ พร้อมช่วยให้เกิดความสะดวกแก่การเชื่อมต่อไปยัง Social Media ต่างๆ เช่น Facebook และ Twitter เป็นต้น | |
Cash Surrender Value | (n) เงินค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย |
colophon | (n) ข้อมูลทางบรรณานุกรม, ชื่อและที่อยู่ของสำนักพิมพ์บนปกหน้าของหนังสือ |
application | (n) โปรแกรมประยุกต์ในระบบคอมพิวเตอร์ สามารถใช้คำทับศัพท์ แอปพลิเคชัน ได้ |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
application | (n) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
application program | (n) โปรแกรมใช้งาน |
automation | (n) การนำเครื่องจักรมาใช้แทนคนในการทำงาน, Syn. mechanization, industrialization |
Basic | (n) ภาษาเบสิก, See also: โปรแกรมภาษาของคอมพิวเตอร์ |
batch processing | (n) การประมวลผลอย่างต่อเนื่องของโปรแกรมคอมพิวเตอร์, Syn. data processing |
bibliography | (n) บรรณานุกรม, See also: รายชื่อหนังสือโดยสังเขป, Syn. bibliog. |
bill | (n) รายการ, See also: โปรแกรม, Syn. outline, program |
browser | (n) โปรแกรมที่ช่วยค้นหาหรืออ่านเอกสารบนอินเตอร์เนต |
code | (vt) เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
department | (n) แผนก, See also: ภาค, คณะ, กรม, Syn. agency, branch, division, group |
departmental | (adj) เกี่ยวกับแผนก, See also: เกี่ยวกับกรม, เกี่ยวกับหน่วยงานของรัฐบาลหรือองค์กร |
diagram | (n) แผนภาพ, See also: ไดอะแกรม, แผนผัง, Syn. chart, sketch, layout |
dictionary | (n) พจนานุกรม, See also: ปทานุกรม, นามานุกรม, ประมวลคำศัพท์, อภิธานคำศัพท์, Syn. glossary, wordbook, vocabulary |
driver | (n) ตัวขับ (อุปกรณ์คอมพิวเตอร์), See also: โปรแกรมขับ |
editor | (n) โปรแกรมการจัดการข้อมูล (ของคอมพิวเตอร์) |
encyclopedia | (n) สารานุกรม, See also: หนังสือที่รวมความรู้หลายสาขาวิชา |
encyclopedist | (n) ผู้รวบรวมความรู้มาไว้ในสารานุกรม |
exit | (vt) จบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์, Syn. terminate |
exit | (vi) จบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์, Syn. terminate |
gazetteer | (n) พจนานุกรมภูมิศาสตร์ |
geometric progression | (n) อนุกรมเรขาคณิต |
glossary | (n) อภิธานศัพท์, See also: ปทานุกรม, พจนานุกรม, Syn. dictionary, lexicon |
gremlin | (n) สัตว์ในจินตนาการที่คนมักต่อว่ามันเมื่อเครื่องจักรหยุดทำงาน, See also: ตัวเกรมลิน |
hack | (vi) เจาะเข้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างผิดกฎหมาย |
hacker | (n) ผู้ทำงานอย่างหามรุ่งหามค่ำ (ทางคอมพิวเตอร์), See also: ผู้เจาะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นคำที่ใช้ในหมู่นักเขียนโปรแกรมหมายถึงผู้แสดงหาควา |
Highways Department | (n) กรมทางหลวง |
LAN | (abbr) โครงข่ายคอมพิวเตอร์เฉพาะบริเวณ เช่น ในอาคารเดียวกัน คอมพิวเตอร์เหล่านาจะทำงานร่วมกันได้ ดึงโปรแกรมหรือข้อมูลจากกันและกันได้ แต่การทำเช่นนี้จะต้องใช้ซอฟแวร์ช่วยด้วย (คำย่อของ local area network) |
land reform | (n) การปฏิรูปที่ดินของรัฐบาลเพื่อให้เกษตรกรมีที่ดินของตนเอง, See also: การปฏิรูปที่ดิน |
lexicographer | (n) ผู้เขียนพจนานุกรม, See also: ผู้ทำพจนานุกรม, Syn. dictionary writer, dictionary maker |
lexicography | (n) การเขียนหรือทำพจนานุกรม, Syn. dictionary making |
lexicon | (n) พจนานุกรม (โดยเฉพาะภาษาโบราณ), Syn. dicitionary |
library | (n) การเก็บรวมโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ |
load | (vt) ถ่ายข้อมูลหรือโปรแกรมในคอมพิวเตอร์ |
morph | (vi) เปลี่ยนภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
morph | (vt) เปลี่ยนภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
morphing | (n) การเปลี่ยนภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
multitasking | (n) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลากหลายในเวลาเดียวกัน, Syn. multi-tasking |
overpopulated | (adj) ซึ่งมีประชากรมากไป, Syn. overcrowded |
policy | (n) กรมธรรม์ประกันภัย, Syn. insurance policy |
Pollution Control Department | (n) กรมควบคุมมลพิษ |
power series | (n) อนุกรมค่าที่ยกกำลัง |
program | (n) แผนงาน, See also: โปรแกรม, แผนการ, Syn. schedule, agenda |
program | (vt) เขียนโปรแกรม, See also: เขียนชุดคำสั่ง |
programer | (n) นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
programer | (n) ผู้จัดโปรแกรม |
programme | (vt) เขียนโปรแกรม |
programmer | (n) ผู้เขียนโปรแกรม, See also: ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์, โปรแกรมเมอร์, Syn. programer |
programming | (n) กระบวนการเขียนและทดสอบโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ |
Quartermaster Department | (n) กรมพลาธิการ |
Quartermaster General | (n) เจ้ากรมพลาธิการ |
Hope Dictionary
+ | เครื่องหมาย cross hairs เป็นรูปลักษณ์ของตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) แบบหนึ่ง ที่แตกต่างกันออกไปในบางโปรแกรม เช่น ในโปรแกรมการวาดภาพในระบบวินโดว์ส มักมีลักษณะเป็นเส้นตัดกัน (+) แทนที่จะเห็นเป็นลูกศรตามปกติ |
^ | <คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น |
abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด |
access method | วิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ |
accessories | โปรแกรมประกอบหมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ ที่โปรแกรมระบบเตรียมให้มาไว้ใช้เป็นโปรแกรมประกอบ หรือโปรแกรมที่จะช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน เช่น โปรแกรมประกอบของโปรแกรม ระบบวินโดว์ 95 หรือ 98 จะมีโปรแกรม NotePad, Paint, WordPad , Multimedia, Calculator เป็นต้น |
actinide series | (แอค' ทิไนดฺ) chem. อนุกรมของธาตุกัมมันตภาพรังสีที่เริ่มจากธาตุ Actinium จนถึงธาตุ Lawrencium |
active window | วินโดว์ที่กำลังใช้งานหมายถึง วินโดว์ที่กำลังใช้อยู่ หรืออาจพูดให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ว่า เป็นวินโดว์ที่มีโปรแกรมที่กำลังเปิดใช้อยู่ หรืออยู่หน้าวินโดว์อื่น ๆ วินโดว์นี้ จะเป็นวินโดว์ที่ตอบสนองการสั่งงานทุกอย่าง ถ้าบนจอภาพมีวินโดว์แสดงอยู่มากกว่าหนึ่งวินโดว์ จะมีวินโดว์ใช้งานอยู่เพียงวินโดว์เดียว นอกนั้นเป็นวินโดว์ที่ไม่ได้ใช้งาน (non-active window) โดยปกติแล้ว ถ้าเป็นระบบไมโครซอฟต์ วินโดว์ของพีซี (PC) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะทราบว่า วินโดว์ ไหนเป็นวินโดว์ใช้งาน โดยดูที่แถบชื่อ (title bar) ถ้าวินโดว์ ใดมีแถบชื่อที่สีต่างกว่าวินโดว์อื่น วินโดว์นั้นจะเป็นวินโดว์ที่ใช้งานอยู่ ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช วินโดว์ใช้งานจะมีเส้นหลาย ๆ เส้น ในช่องแถบชื่อนั้น ส่วนวินโดว์ที่ยังไม่ใช้งานแถบชื่อจะว่างเปล่า |
ada | (เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800 |
add-on program | โปรแกรมเสริมหมายถึง โปรแกรมที่เขียนเพิ่มขึ้น เพื่อให้โปรแกรมเดิมเพิ่มประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น โปรแกรมสำเร็จทุกโปรแกรมที่ออกสู่ตลาดแล้ว จะต้องมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา และจะมีโปรแกรมเสริมออกมาเสนอให้ลูกค้าอยู่เสมอ ๆ (add-on อาจหมายถึงอุปกรณ์ที่เสริมเข้าไปภายหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง เช่น แผ่นวงจรโมเด็ม เป็นต้น) |
adobe pagemaker | โปรแกรมอโดบี เพจเมกเกอร์ <คำแปล>PageMakerเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ใช้ในการจัดหน้าสิ่งพิมพ์ เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากโปรแกรมหนึ่ง เดิมใช้ชื่อ Aldus PageMaker |
adobe photoshop | โปรแกรมอโดบี โฟโทช็อป <คำแปล>Photoshopเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จโปรแกรมหนึ่งที่ช่วยในการแก้ไขปรับแต่งภาพ โดยเฉพาะภาพถ่าย ปัจจุบันนิยมใช้กันมาก มักใช้ในการจัดทำสิ่งพิมพ์คู่กับโปรแกรม อโดบี เพจเมกเกอร์ (Adobe PageMaker) บริษัทอโดบีเป็นบริษัทที่ผลิตซอฟต์แวร์ใหญ่ที่สุดบริษัทหนึ่ง โปรแกรมดัง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนอกจาก Photoshop, PageMaker แล้ว ยังมี Adobe Acrobat, Adobe Illustrator, Adobe Type Manager เป็นต้น) |
aerogram | (me) (แอ' โรแกรม) n. จดหมายทางอากาศ, โทรเลขทางอากาศ |
algol | (แอล' กอล) n. Algo (rithmic) L (anguge) เป็นภาษาหนึ่งในการทำ programming ของระบบคอมพิวเตอร์ ย่อมาจากคำว่า ALGOrithmic Language เป็นภาษาที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม ปัจจุบันนี้ ภาษานี้เกือบจะไม่มีใช้แล้ว เพราะเป็นภาษาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน แต่ก็ถือกันว่าเป็นต้นตระกูลของ ภาษาปาสกาล (Pascal) |
algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ |
alkane | (แอล' เคน) n. สมาชิกในอนุกรม alkane series |
alkene series chem. | อนุกรมของ saturated aliphatic hydrocarbons, Syn. methane series. paraffin series |
all-purpose computer | คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ |
alpha test | การทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะมีข้อความบ่งบอกไว้ว่า เป็น alpha version หมายความว่า รุ่นทดสอบรอบแรก ดู beta version ประกอบ |
alpha version | รุ่นทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีข้อความบ่งบอกไว้ว่าเป็นรุ่นทดสอบรอบแรก มีความหมายเหมือน alpha testดู beta version ประกอบ |
alphabetical | (แอลฟาเบท' ทิเคิล) adj. เรียงตามอักขรานุกรม, เรียงตามอักษร, เกี่ยวกับอักษรหรืออักขระ., Syn. alphatic |
ami pro | โปรแกรมอามิโพร <คำแปล>เป็นชื่อโปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมหนึ่ง ไม่สู้เป็นที่นิยมนัก |
anagram | (แอน' นะแกรม) n. การสับเปลี่ยนพยัญชนะของคำหรือวลีเพื่อให้ได้คำหรือวลีใหม่ -anagrammatic (al) adj. (transposition) |
anagrammatise | (แอนนะแกรม' มะไทซ) vt. เปลี่ยนเป็น anagram. -anagrammatism, anagrammatist n. -anaemic adj. |
ansi c | (แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ |
antivirus | ป้องกันไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ จะหมายถึงโปรแกรมประเภทหนึ่งที่ช่วยป้องกัน ตรวจหา และกำจัดไวรัสก่อนที่ไวรัสนั้นจะเข้ามาทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนมากจะสามารถระบุชื่อไวรัสได้ด้วยดู virus ประกอบ |
api | (เอพีไอ) ย่อมาจาก application program interface หมายถึงวิธีการอย่างหนึ่งที่ทำให้ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์รู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ง่ายขึ้นกว่าเดิม เช่น เอพีไอจะกำหนดขั้นตอนมาตรฐานให้โปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ทำงาน โดยวิธีให้ผู้ใช้เลือกจากรายการคำสั่ง (menu) หรือตอบคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) แทนที่จะต้องจำคำสั่งอย่างแต่ก่อน การใช้ระบบวินโดว์บนเครื่องพีซีก็ดี OS/2 ก็ดี หรือระบบของแมคอินทอช ก็ดี ล้วนเป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของการนำเอพีไอมาใช้ |
aplanatic | (แอพพละแนท'ทิค) adj. ไม่มีการบ่ายบนทางทรงกรมหรือสี (..spherical aberration) |
apochromatic | (แอพพะโครแมท'ทิค) adj. ไร้การบ่ายแบนของทรงกรมหรือสี -apochromatism n. (for spherical chromatic aberration) |
apple menu | เมนูลูกแอปเปิลหมายถึง โปรแกรมต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ที่สามารถสั่งให้ทำงานในระหว่างที่เครื่องกำลังทำโปรแกรมอื่นอยู่ได้ โปรแกรมเหล่านี้จะรวมอยู่ในเมนูที่มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกแอปเปิลแหว่ง (แทนที่จะมีชื่อเมนูตามปรกติ) และจะอยู่เป็นรายการแรกซ้ายมือสุดบนแถบเมนู เมนูนี้จะประกอบด้วยรายการย่อยอีกหลายรายการด้วยกัน เช่น นาฬิกา, เครื่องคำนวณ, แผงควบคุม ฯ รวมทั้งที่สำคัญที่สุด คือ แฟ้มภาพ ที่เรียกว่า scrapbook เป็นต้น |
appleshare | (แอปเปิลแชร์) หมายถึง โปรแกรมระบบปฏิบัติการที่จะใช้ในข่ายงาน (network) ที่บริษัทแอปเปิลสร้างขึ้นสำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช (ดู networks ประกอบ) |
application | (แอพพลิเค'เชิน) n. การสมัคร, ความเกี่ยวข้อง, ความมีประโยชน์, การใช้, การร้องขอ, คำร้องขอ, ใบสมัคร, ความสนใจอย่างใกล้ชิด, การประยุกต์, โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับรูปแบบหนึ่งรูปแบบใด, Syn. administration, utility, request |
application program | โปรแกรมประยุกต์ <คำแปล>หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือ โปรแกรมทำคะแนน |
application software | ซอฟต์แวร์ประยุกต์ <คำแปล>หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือโปรแกรมทำคะแนนมีความหมายเหมือน application program |
application window | วินโดว์โปรแกรม <คำแปล>หมายถึงวินโดว์ของโปรแกรมแต่ละโปรแกรม ถ้าจะสร้างแฟ้มข้อมูล ก็จะมองเห็นมีวินโดว์ใหม่ซ้อนขึ้นมาอีกวินโดว์หนึ่ง เรียกว่า วินโดว์เอกสาร (document window) |
arc | (อาร์ค) 1. n. ส่วนโค้ง, ความโค้ง, สะพานเรืองแสงที่อยู่ระหว่างปลายหรือ conductors ทั้งสอง, สิ่งที่มีรูปคล้ายคันศร -S...curve, arch, bend 2. เป็นชื่อโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ในการหลอมรวมข้อมูลจากหลาย ๆ แฟ้มเข้าเป็นแฟ้มเดียวกัน เพื่อให้ใช้เนื้อที่ในการเก็บน้อยลง โปรแกรมนี้เคยได้รับความนิยมอย่างสูงมาก่อน ต่อมาความนิยมได้ลดลงเพราะมีโปรแกรมใหม่กว่า มีผู้นิยมใช้มากกว่า มีชื่อเรียกว่า ZIP โปรแกรมประเภทนี้จะสามารถอัด (compress) ข้อมูลจำนวนมาก ๆ ให้เก็บได้ในเนื้อที่น้อย ๆ เช่นในจานบันทึก (floppy disk) แต่เมื่อจะใช้ จะต้องนำมาขยายเป็นขนาดปกติก่อน เรียกว่า decompress (ดู compress) |
arcade | (อาร์เคด') n. อนุกรมของส่วนโค้งที่มีเสาค้ำ, ระเบียงโค้งครึ่งวงกลม ทางเดินที่มีหลังคาหรือที่บังแดดและสองข้างทางมีร้านขายของ, ทางเดินที่มีเสาทั้งสองข้าง, Syn. archway |
ascii file | แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล |
assemble | (อะเซม'เบิล) vt. รวบรวม, ประชุม, รวมเข้า. -assembler n., Syn. combine, collect, Ant. disperse, separate แปล ภาษาแอสเซมบลี หมายถึงแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง machine language เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ได้ |
assembler | แอสเซมเบลอร์ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีหมายถึง โปรแกรมที่ใช้เพื่อทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจ และปฏิบัติตามคำสั่งได้ ดู assembly language |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) |
attorney general | อธิบดีกรมอัยการ |
attribute | (อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n., Syn. assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น |
authoring system | ระบบการเขียนโปรแกรมหมายถึง ระบบการเขียนโปรแกรมโดยที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านโปรแกรมเลย ผู้เขียนเพียงแต่ใช้ภาษาง่าย ๆ ในรูปแบบเชิงโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์เท่านั้น |
autocad | (ออโตแคด) เป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ใช้ในการออกแบบที่โด่งดังมากที่สุดในยุคนี้ ได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องมากว่าสิบปีแล้ว สามารถสร้างแบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติได้ สร้างแบบจำลอง (model) ได้โดยทำให้เหมือนจริง หมุนดูทิศทางต่าง ๆ ได้ นิยมใช้ในการออกแบบโครงสร้างอาคาร รถยนต์ เรือ เครื่องบิน ฯ เมื่อจะแสดงผลในกระดาษ ต้องใช้กับเครื่องวาด (plotter) ดู CAD ประกอบ |
autoexec.bat | ชื่อแฟ้มคำสั่งรวม <คำแปล>เป็นชื่อของแฟ้มเก็บคำสั่งรวม (batch file) แฟ้มหนึ่ง ถือเป็นแฟ้มพิเศษ เพราะคอมพิวเตอร์จะทำตามคำสั่งในแฟ้มที่ชื่อนี้ทันทีที่เปิดเครื่อง โดยมาก จะเขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เรียกโปรแกรมต่าง ๆ มาใช้ได้เลย โดยไม่ต้องเสียเวลาหาว่า โปรแกรมที่ต้องการอยู่ในสารบบ (directory) ใด ใช้คำสั่งเข้าไปในสารบบนั้น แล้วจึงตามด้วยชื่อแฟ้มที่เป็นโปรแกรม แต่ผู้ใช้สามารถพิมพ์ชื่อโปรแกรมได้เลย ตัวอย่างแฟ้ม autoexec.bat ที่นำเข้าสู่ โปรแกรม FoxPro โดยผ่านโปรแกรม VTHAI อาจมีข้อความดังนี้ echo off cls cd FOXPRO25 VTHAI/U CD\ AUX : axis : |
babbage, charles | (ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ |
backspace key | ปุ่มย้อนถอยหลัง <คำแปล>เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ บางทีมีขนาดยาวกว่าแป้นพิมพ์อื่น บางทีมีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรหันหัวลูกศรไปทางซ้าย (บางทีมีคำ BS) โปรแกรมสำเร็จหลายโปรแกรมกำหนดไว้ว่า การกดแป้นนี้ทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ถอยไปทางซ้าย 1 ตัวอักษร และลบตัวอักษรทางซ้ายนั้นออกให้ด้วย |
bak | (แบ็ก) คำ ๆ นี้ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลเพื่อบ่งบอกว่า เป็นแฟ้มข้อมูลสำรอง (backup file) เช่น autoexec.bak (แฟ้มข้อมูลเดิมชื่อ autoexec.bat) นี้ ในบางกรณี โปรแกรมจะสร้างนามสกุลให้แฟ้มข้อมูลเหล่านี้เองโดยไม่ต้องสั่ง โดยเฉพาะถ้ามีการเก็บแฟ้มข้อมูลที่นำมาแก้ไขแล้วซ้ำอีกครั้งหนึ่ง แฟ้มที่แก้ใหม่จะใช้ชื่อเดิม แต่แฟ้มเดิมจะกลายเป็นแฟ้มสำรอง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำบางโปรแกรม |
basic | (เบ'ซิค) 1. adj. เกี่ยวกับฐาน, เกี่ยวกับด่าง 2. เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่งใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษาเบสิกนี้เขียนง่าย ๆ เหมาะกับผู้เริ่มต้นเรียน คำว่า BASIC นั้นย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code แปลได้ว่า รหัสคำสั่งที่เป็นสัญลักษณ์เอนกประสงค์สำหรับผู้เริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ เมื่อเริ่มนำออกใช้ใหม่ ๆ ภาษานี้มีข้อจำกัดมาก ในปัจจุบันแม้จะมีการพัฒนาภาษานี้ไปไกลแล้ว แต่นักทำโปรแกรมทั่วไปมักจะดูถูกว่า เป็นภาษาสำหรับผู้เริ่มต้น และไม่นิยมนำมาใช้ในการเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ข้อดีของภาษานี้ก็คือ จะทราบที่ผิดและแก้ไขได้ทันที |
bbs | (บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) |
Nontri Dictionary
bibliography | (n) บรรณานุกรม, รายชื่อเอกสารอ้างอิง |
BLUE-blue-black | (n) สีน้ำเงินเข้ม, สีกรมท่า |
chamberlain | (n) มหาดเล็ก, จางวาง, กรมวัง |
commissar | (n) หัวหน้ากรมกอง, ตำแหน่งผู้ตรวจการในรัสเซีย |
cyclopaedia | (n) สารานุกรม |
cyclopedia | (n) สารานุกรม |
department | (n) ภาค, แผนก, กระทรวง, กรม, กอง, ทบวง, จังหวัด, เขต |
dictionary | (n) พจนานุกรม, ปทานุกรม, หนังสือรวมคำศัพท์, อภิธานศัพท์ |
encyclopaedia | (n) สารานุกรม |
encyclopaedic | (adj) เกี่ยวกับสารานุกรม |
encyclopedia | (n) สารานุกรม |
encyclopedic | (adj) เกี่ยวกับสารานุกรม |
gazetteer | (n) นักหนังสือพิมพ์, อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ |
insurance | (n) การประกัน, การค้ำประกัน, เบี้ยประกัน, กรมธรรม์ |
lexicographer | (n) ผู้เขียนพจนานุกรม, ผู้รวบรวมพจนานุกรม |
lexicon | (n) พจนานุกรม, ปทานุกรม |
POST post office | (n) ที่ทำการไปรษณีย์, กรมไปรษณีย์ |
railroad | (n) ทางรถไฟ, กรมรถไฟ, บริษัทรถไฟ |
railway | (n) ทางรถไฟ, กรมรถไฟ, บริษัทรถไฟ |
regiment | (n) กรมทหาร, กองร้อย, กองทหาร, รัฐบาล |
regimental | (adj) ประจำกรมทหาร, เกี่ยวกับกองร้อย, ของกรมทหาร |
series | (n) ชุด, ตอน, ลำดับ, อนุกรม, สิ่งที่ต่อเนื่องกัน |
yard | (n) หลา, เพลาเรือ, สนาม, ลานบ้าน, คอกปศุสัตว์, ที่จอดรถ, กรมตำรวจ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*optometrist* | (n, name) นักทัศนมาตร (ผู้ประกอบวิชาชีพโดยอาศัยความรู้ทางทัศนมาตรศาสตร์ โดยต้องจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาทัศนมาตรศาสตร์ และมีใบประกอบโรคศิลปะ จากทางกรมสนับสนุนสุขภาพ แห่งประเทศไทย) |
animal control | (n) กรมควบคุมสัตว์ |
antispyware | (n) การป้องกันสปายแวร์, การป้องกันโปรแกรมไม่พึงประสงค์ |
Backdoor account | (n) บัญชีลับหรือประตูหลัง ในภาษาทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง รูรั่วของระบบหรือซอฟแวร์ นักพัฒนาระบบจงใจสร้างทิ้งไว้ เพื่อให้ซอฟแวร์คอยส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ที่มันติดตั้งอยู่ กลับไปหาโปรแกรมเมอร์ผู้พัฒนา หรือเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลภายในได้ |
bibliographic | (n) รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ |
Browse-wrap Contract | หรือ Browse-wrap Agreement หมายถึงข้อสัญญาหรือข้อกำหนดการใช้ งานเว็บไซต์ที่โพสต์ใส่ไว้ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะทำเป็น hyperlink ไว้ด้านล่างของหน้าจอ ข้อสัญญาชนิดนี้ไม่ต้องมีการคลิก I agree หรือฉันตกลง สัญญาชนิด Browse wrap จึงไม่มีการแสดงความยินยอมของผู้ใช้อย่างชัดแจ้ง เพียงแต่มีการใช้งานเว็บไซต์หรือดาวน์โหลดโปรแกรมก็ถือว่าตกลงทำสัญญาแล้วได้ |
capacity | [เคอะแพ้เซอะทิ] (n) วิสัย (อ้างอิง: พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน 2542 หน้า 1082) |
cyber security | ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์, ภาวะที่เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม และข้อมูล พ้นจากภัยคุกคาม มีลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ คงความลับ คงความถูกต้องครบถ้วน และคงความพร้อมใช้งาน ภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยบุคลากร กระบวนการทำงาน และเครื่องมือ ที่เหมาะสม [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
Debsirin school | (n) โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๖๖ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทราวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนชายล้วน โดยรัชกาลที่ 5 สร้างโรงเรียนขึ้นเพื่อลำรึกถึงสมเด็จพระเทพศิรินทร์ทราบรมราชินี (พระมารดา) |
Department of Business Development | (n) กรมพัฒนาธุรกิจการค้า |
department of consular affairs | (n) กรมการกงสุล |
department of consular affairs | (n) กรมการกงสุล |
Department of Land Transportation | (n, name, org) กรมการขนส่งทางบก |
Department of Provincial Administration | กรมการปกครอง |
dictionary order | (n) การเรียงลำดับแบบพจนานุกรม |
dynamic loading | [ไดนามิก โหลดดิ้ง] (n) การมีใช้ตลอดเวลาในขณะที่ทำการรันโปรแกรม, See also: dynamic |
garena | (n) โปรแกรมจำลองระบบ Lan ใช้สำหรับเล่นเกมส์ Online |
grid | (n) ตารางในโปรแกรม Microsoft Excel, Syn. table Image: |
gridline | (n) เส้นตารางในโปรแกรม Microsoft Excel |
hackathon | กิจกรรมสร้างสรรค์และพัฒนา มากจากกลุ่มนักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาร่วมชุมนุมกันในการเจาะทดสอบระบบคอมพิวเตอร์ว่ามีจุดอ่อนหรือควรแก้ไขอย่างไรบ้าง |
hard code | (vi, slang) เป็นข้อปฏิบัติในการพัฒนาซอฟท์แวร์ โดยการแนบอินพุทและการตั้งค่าต่างๆเอาไว้ใน source code ของโปรแกรมโดยตรงเลย, See also: hardcode, hardcoding, hard-code, hard-coding |
kerning | [เคิน-นิ่ง] (n) การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัว "อักษรสองตัว" ให้มากขึ้นจากระยะปกติที่กำหนดไว้ในมาตรฐานของรูปแบบตัวอักษรนั้นๆ ส่วนใหญ่พบได้ในโปรแกรมพิมพ์งานต่างๆ เช่น Microsoft Word เป็นต้น เช่น การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัวอักษร "ก" กับ "า" ในคำว่า "การ" จะได้ผลเป็น "ก าร" (มีช่องว่างหนึ่งช่องระหว่าง ก ไก่ กับสระอา //อ้างอิงจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Kerning, See also: tracking, Syn. kern Image: |
lexicographic order | (n) การเรียงลำดับแบบพจนานุกรม |
malware | (n) Malicious software (mal-ware) is a form of computer program designed with malicious intent. This intent may be to cause annoying pop-up ads with the hope you click on one and generate revenue, or forms of spyware and viruses that can be used to steal your identity or track your activities. รูปแบบหนึ่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ถูกออกแบบมาด้วยจุดประสงค์แอบแฝงบางอย่าง จุดประสงค์ดังกล่าวอาจจะเพื่อสร้างหน้าต่างโฆษณาที่เปิดขึ้นมาเองโดยอัติโนมัติ ด้วยความหวังที่ว่าจะให้คุณกดเข้าไปและสร้างรายได้ให้กับบุคคลเหล่านั้น หรือ รูปแบบของ spyware และ ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่สามารถใช้เพื่อการขโมยตัวตนของคุณบนอินเตอร์เน็ต หรือ ติดตามกิจกรรมต่างของคุณ, Syn. Malicious software |
motor policy | (n) กรมธรรม์รถยนต์ |
msn | [เอ็มเอสเอ็น] โปรแกรม Messenger สำหรับสนทนาระหว่าง อีเมลล์ ของ Hotmail และอื่นๆ สามารถโต้ตอบโดยผ่านสื่อได้หลายสื่อ เช่น กล้องเว็บแคม , ไมโครโฟน , Text , Short sound ฯลฯ |
pantheism | (n) เทพนิยม (เทียบ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หน้า 539) |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
Shrink Wrap License | สัญญาอนุญาตให้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีลักษณะเป็นสัญญาตัวอย่าง (Model Contract) เพื่อให้ผู้ที่ประสงค์จะขออนุญาตใช้ลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวใช้เป็นแบบในการทำสัญญา |
suite | (n) ชุดโปรแกรม |
syster software | โปรแกรมที่ใช้ควบคุมการทำงานทั่วไปของระบบคอมพิวเตอร์ |
WM ware | เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ |
XCode | [เอ็ก-โค้ด] (คำย่อ) กลุ่มของเครื่องมือที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมในระบบปฎิบัติการ Mac OS X หรือ iOS |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจ | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ |
ปรัตถะ | (n) ประโยชน์เพื่อคนอื่น, ประโยชน์ผู้อื่น มาจากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตโต) หน้า 152 |
Longdo Approved JP-TH
国語辞典 | [こくごじてん, kokugojiten] (n) พจนานุกรมภาษาญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น-ญี่ปุ่น) |
検索 | [けんさく, kensaku] (vt) ค้นหาความหมาย(ในพจนานุกรม) |
英和辞典 | [えいわじてん, eiwajiten] (n) พจนานุกรมภาษาอังกฤษ-ญี่ปุ่น |
辞典 | [じてん, jiten] (n) พจนานุกรม |
電子辞書 | [でんしじしょ, denshijisho] (n) พจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
辞書 | [じしょ, jisho] (n) พจนานุกรม |
土地局 | [とちきょく, tochikyoku] กรมที่ดิน |
シーケンス番号 | [シーケンスばんごう, shi^kensu bangou] (n) ลำดับอนุกรม |
百科 | [ひゃっか, hyakka] (n) สารานุกรม |
広報 | [こうほう, kouhou] (n) (n) กรมประชาสัมพันธ์ |
辞書 | [こうほう, jisho] (n) พจนานุกรม |
国税局 | [こくぜいきょく, kokuzeikyoku] กรมสรรพากร |
税務局 | [ぜいむきょく, zeimukyoku] (n) กรมสรรพากร |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
計画 | [けいかく, keikaku] TH: โปรแกรม EN: program |
プログラム | [ぷろぐらむ, puroguramu] TH: โปรแกรม(คอมพิวเตอร์) |
Longdo Approved DE-TH
Programm | (n) |das, pl. Programme| โปรแกรม |
Wörterbuch | (n) |das, pl. Wörterbücher| พจนานุกรม |
Reihenschaltung | (n) |die, pl. Reihenschaltungen| การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม, See also: A. Parallelschaltung |
Gruppenschaltung | (n) |die, pl. Gruppenschaltungen| การต่อวงจรไฟฟ้าแบบรวม โดยประกอบด้วยการต่อทั้งแบบอนุกรม และแบบขนาน |
knacken | (vt) |knackte, hat geknackt, etw.(A)| ถอดรหัส, เจาะเข้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างผิดกฎหมาย เช่น Die Passwörter wie 'Kitty' und 'Tokyo' kann man sich zwar leicht merken, sie sind aber eben auch genauso einfach zu knacken. |
Sozialamt | (n) |das, pl. Sozialämter| กรมสังคมสงเคราะห์ |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Quellprogramm { n } | (n) แหล่งที่มาของโปรแกรม |
Quellprogramm { n } | (n) แหล่งที่มาของคำสั่งในโปรแกรม |
Longdo Approved FR-TH
dictionnaire | (n) |m| พจนานุกรม |
fisc | (n) |m| กรมสรรพากร เช่น Il a fait une fausse déclaration d'impôts, mais ça lui coûtera cher d'avoir voulu frauder le fisc. = เขาได้ประเมินอากรผิดจากความจริง แต่เรื่องนี้จะแพงสำหรับเขาในการโกงสรรพากร (มาจากพจนานุกรมดวงกมล); agent du fisc เจ้าหน้าที่กรมสรรพากร |
Longdo Unapproved FR-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
SylvainKz | (n) อ่านว่า Sylvain เป็น ถูกเรียกชื่อใหม่โดยชาวฝรั่งเศษผู้หนึ่งซึ่งได้อ่าน เจอในตำนานกรีก ซึ่งเป็นนักรบร่างกำยำ ฉลาดเป็นเลิศ (ชื่อของแม่ทัพนั้นออกเสียงคล้ายกัน) และได้ถูกยกย่องเป็นกษัตริย์ หลังจากได้นำกองกำลังไปช่วยเครทอส เพื่อปราบเทพเจ้า Olympus จึงได้ตั้งชื่อไปในพจนานุกรมใหม่ว่า SylvainKz K หมายถึงกษัตริย์ z หมายถึง ผู้ที่อยู่เบื้องหลังสุด ของชัยชนะในสงครามเทพเจ้านั้น |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 1.0152 seconds, cache age: 10.335 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม